รหัสโครงการ 2-01-1
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
กลุ่มสาระ/งาน งานนโยบายและแผน
ชื่อโครงการ การติดตามและประเมินผล
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ -
จุดเน้น กระทรวงฯ -
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 6. ส่งเสริมกระบวนการการบริหารจัดการสถานศึกษาด้วยระบบคุณภาพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 4. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายก่อกิจ ธีราโมกข์

1. หลักการและเหตุผล

           การติดตาม (Monitoring) และการประเมินผล (Evaluation) เป็นพันธกิจหลักในการควบคุมงาน ในระบบการบริหารนั้นการ ควบคุม คือ การตรวจสอบการทำงานและกำกับการปฏิบัติ (Checking and directing actions) โดยการติดตามตรวจสอบและ เก็บรวบรวมข้อมูลผล การปฏิบัติงานที่ปฏิบัติได้จริงแล้วนำมาเปรียบเทียบกับเป้าหมาย หรือกับมาตรฐานที่ได้กำหนดไว้ แล้วกำหนดวิธี ดำเนินการที่เหมาะสม หรือวิธีการในการแก้ไขปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป

การติดตามและประเมินผล เป็นส่วนสำคัญของการบริหารโครงการอย่างยิ่ง ข้อมูลที่จะใช้ใน การ รายงานของโครงการ แสดงถึงการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ เพื่อนำไปใช้เป็นประโยชน์ในการตัดสินใจแก้ไข ปรับปรุงวิธีการ ตาม แผนปฏิบัติงานที่วางไว้ ดังนั้น ระบบการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน โดยใช้เครื่องมือ วิธีการที่มีคุณภาพ จะสามารถเก็บ รวบรวมข้อมูลการปฏิบัติงานตามแผนงาน/โครงการ นำมาซึ่งการตรวจสอบและประเมินการปฏิบัติงานตามแผนที่วางไว้ ส่งผลให้มี ข้อมูล (Record) หรือการรายงาน (Report) เพื่อช่วยให้ผู้บริหารใช้ในการตัดสินใจ ว่างานที่กำลังปฏิบัติอยู่สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ที่วางไว้ หรือไม่ สมควรดำเนินการต่อ หรือแก้ไขปรับปรุงอย่างไรต่อไป ตลอดจนผลการประเมินสามารถมีนวัตกรรมการ บริหารจัดการที่ดีเป็นต้น แบบ และมีบุคลากรที่มีผลงานเชิงประจักษ์

โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องจัดทำโครงการติดตามและ ประเมินผล การดำเนินการปฏิบัติงาน เพื่อช่วยให้ฝ่ายบริหารได้มีข้อมูลใช้ในการพิจารณาวางแผนการดำเนินงานในปีต่อไปได้อย่างมี ประสิทธิภาพ


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. ข้อความ....
2. ข้อความ....

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. เพื่อกำกับ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ 2568
2. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของบุคลากรในโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ในการกำกับ ติดตาม และประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานอย่างถูกต้องด้วยเครื่องมือและวิธีการที่มีคุณภาพ
3. เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  วิธีการประเมิน
    ประเมินรูปเล่มฉบับสมบูรณ์
  เครื่องมือ
    แบบรายงาน
  เชิงคุณภาพ
    1. โรงเรียนมีข้อมูลผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2567 ใช้ในการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมสามารถรายงานผลการดำเนินงานโครงการและกิจกรรม ครบทุกตัวชี้วัดในกลยุทธ์ ตามกำหนดระยะเวลา และมีผลการประเมินในภาพรวมอยู่ในระดับดีเยี่ยม
  วิธีการประเมิน
    การประเมิน
  เครื่องมือ
    แบบประเมิน

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2567          ถึงวันที่ : 30/9/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การติดตาม ประเมินผลปีงบประมาณ 2568
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- จัดทำโครงการ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- การสร้างเครื่องมือการติดตามและประเมินผล
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- ประชุมวางแผนการติดตามและประเมินผลฯ
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- การติดตามและประเมินผลฯ แต่ละโครงการ/กิจกรรม
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- ผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ
- รายงานผลการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของสถานศึกษา
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 2000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นายก่อกิจ ธีราโมกข์

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 2,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 2,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
บุคลากรโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
- มีการติดตามและประเมินผลการการปฏิบัติงาน ตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2568
- มีรายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2568
- มีรายงานผลการติดตามและประเมินผลการดำเนินโครงการของสถานศึกษา
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
ปัจจัยความเสี่ยง
- การติดตามงานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ไม่มีกำหนดการที่แน่นอน
แนวทางการบริหารความเสี่ยง
1. จัดทำรายงานผลการดำเนินงานทุกระยะ รอบ 6 เดือน เพื่อเตรียมพร้อมรับการประเมินจากทุกหน่วยงาน
2. มีการปรับเปลี่ยนข้อมูลให้ทันสมัยอยู่เสมอ

 

 

รหัสโครงการ 2-10-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
กลุ่มสาระ/งาน งานประเมินผลการปฏิบัติงานด้านบริหารงบประมาณ
ชื่องาน งานประเมินผลการปฏิบัติงานด้านการบริหารงานงบประมาณ
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 10. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 1. มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน
ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
ข้อที่ 4. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 6. ส่งเสริมกระบวนการการบริหารจัดการสถานศึกษาด้วยระบบคุณภาพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 4. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 2. ส่งเสริมคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 1. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
ข้อที่ 4. เป็นพลเมืองที่ดี
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายไพรัชน์ จารุจิระวงศ์

1. หลักการและเหตุผล

           ตามขอบข่ายการปฏิบัติงานของกลุ่มบริหารงานงบประมาณ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมได้แบ่งงานออกเป็น 10 งาน ด้วยกัน โดยงาน ทุกงานมีความสัมพันธ์สอดคล้องกัน ดังนั้นเมื่อมีการดำเนินการการปฏิบัติงานของทุกงานแล้ว จำเป็นต้องมีการประเมินผลการปฏิบัติงานใน ภาพรวมของกลุ่มบริหารงานด้านงบประมาณ เพื่อที่จะได้นำผลการประเมินไปใช้ในการวางแผนการปฏิบัติงานในปีต่อๆ ไป เพื่อให้เกิด การพัฒนางานได้อย่างมีประสิทธิภาพในปีงบประมาณ2568 งานประเมินผลการปฏิบัติงานด้านการบริหารงบประมาณ ได้มีการวางแผนงานร่วม กันของทุกงานในการที่จะติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน เมื่อสิ้นสุดโครงการหรือกิจกรรม เพื่อนำผลมาสรุปรวบรวมและรายงานเพื่อให้ สอดคล้องกับมาตรฐานการปฏิบัติงานของกลุ่มบริหารงานด้านงบประมาณ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อประเมินผลการปฏิบัติงานด้านการบริหารงบประมาณให้เป็นไปตามที่โรงเรียนกำหนด

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1.กลุ่มบริหารงานงบประมาณ สามารถประเมินผลการปฏิบัติงานของงานต่างๆ ตามขอบข่ายการปฏิบัติงานของกลุ่มบริหารงานงบประมาณได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95
  วิธีการประเมิน
    ตรวจสอบการใช้เงินงบประมาณตามโครงการ แล้วสรุปการใช้จ่ายเงินที่ได้รับอนุมัติในโครงการต่างๆ ของกลุ่มบริหารงานงบประมาณ
  เครื่องมือ
    แบบรายงานการใช้จ่ายเงินงบประมาณ
  เชิงคุณภาพ
    1. กลุ่มบริหารงานงบประมาณ มีการบริหารงานด้านงบประมาณได้เป็นที่พึงพอใจในระดับดีเยี่ยม
  วิธีการประเมิน
    การสำรวจความคิดเห็นของหัวหน้างานในกลุ่มบริหารงานงบประมาณ
  เครื่องมือ
    แบบสอบถามความคิดเห็น/แบบสำรวจความพึงพอใจ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/8/2568          ถึงวันที่ : 20/9/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การประเมินผลการปฏิบัติงานด้านการบริหารงานงบประมาณ
  ขั้นเตรียมการ 1.ประชุมหัวหน้างานแต่ละงานของกลุ่มบริหารงานงบประมาณ 2.วางแผนการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานร่วมกับหัวหน้างานในกลุ่มบริหารงานงบประมาณ 3.จัดทำปฏิทินการปฏิบัติงานของกลุ่มบริหารงานงบประมาณ
  ขั้นดำเนินการ 1.แต่งตั้งคณะกรรมการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานของกลุ่มบริหารงานงบประมาณ 2. จัดทำแบบติดตามและแบบประเมินผลการปฏิบัติงาน 3. ประเมินผลการปฏิบัติงานด้านการบริหารงบประมาณ
  ขั้นสรุป 1.นำผลการประเมินมาสรุปรวบรวม 2. รายงานผลการปฏิบัติงานของกลุ่มบริหารงานงบประมาณ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ห้องสำนักงานการเงิน
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/8/2568     ถึงวันที่ 20/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นายไพรัชน์ จารุจิระวงศ์ ผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายงบประมาณ

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
งานประเมินผลการปฏิบัติงานด้านการบริหารงบประมาณ กลุ่มบริหารงานงบประมาณ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.กลุ่มบริหารงานงบประมาณสามารถบริหารงานตามขอบข่ายการปฏิบัติงานได้ตามมาตรฐานการปฏิบัติงานที่กำหนด 2. โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมมีมาตรฐานการปฏิบัติงานที่ดีมีคุณภาพ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
มีความเสี่ยงน้อย เพราะไม่ได้ใช้เงินงบประมาณในการดำเนินการ

 

 

รหัสโครงการ 2-04-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
กลุ่มสาระ/งาน งานบริหารการเงินและบัญชี
ชื่อโครงการ พัฒนาระบบการบริหารงานการเงินและงานบัญชี
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 10. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ข้อที่ 1. ปลูกฝังความรักในสถาบันหลักของชาติ และน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
ข้อที่ 4. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
ข้อที่ 6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและจัดการเรียนรู้
ข้อที่ 1. มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 6. ส่งเสริมกระบวนการการบริหารจัดการสถานศึกษาด้วยระบบคุณภาพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 4. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 2. ส่งเสริมคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
ข้อที่ 4. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
ข้อที่ 4. เป็นพลเมืองที่ดี
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายไพรัชน์ จารุจิระวงศ์

1. หลักการและเหตุผล

           การบริหารงานการเงินและงานบัญชีของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมในปีงบประมาณ 2568 จะดำเนินการให้แก่ครู บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครอง ผู้ขาย ผู้รับจ้าง และผู้เกี่ยวข้องที่มีส่วนได้ส่วนเสีย ภายใต้กรอบของความโปร่งใสในการป้องกันการจุจริต (ITA) โดย น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและพระราโชบายในการบริหารงานให้เกิดผลดีต่อองค์กร โดยการบริหารการเงินและบัญี มีบุคลากร ที่มีความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติงานให้เกิดผลสำเร็จ แต่ยังขาดแคลนในด้านเครื่องมืออุแปกรณ์และระบบที่ทันสมัย ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ ประมวลผล เครื่องพิมพ์มัลติฟังก์ชั่น มาทดแทนเครื่องเก่าที่ชำรุดตามกาลเวลา และสภาพการใช้งานต่อเนื่องอย่างหนัก ดังนั้นจึงได้เสนอ โครงการพัฒนางานการเงินและบัญชี เพื่อขอสนับสนุนเงินงบประมาณในการพัฒนาระบบงานการเงินและบัญชีให้เกิดประสิทธิภาพใน ปีงบประมาณ 2568 รวมทั้งงานการเงินและงานบัญชีมีเป้าหมายในการยกระดับคุณภาพการบริการให้ดียิ่งขึ้น
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1.เพื่อให้การบริหารงานการเงินรและการบัญชีของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเป็นที่พึงพอใจแก่ผู้รับบริการ ให้เป็นไปตามคำขวัญการปฏิบัติงาน ทันสมัย ทันใจ ทันเวลา โปร่งใส ยึดระเบียบ และเป็นระบบ 2.เพื่อจัดหาเครื่องมือ อุปกรณ์ที่ทันสมัยมาใช้ในการปฏิบัติงานให้เกิดคุณภาพ

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1.การปฏิบัติงานด้านการเงินและบัญชีมีความถูกต้องคิดเป็นร้อยละ 100 2.การให้บริการแก่ครูและบุคลากรของโรงเรียนเป็นที่พึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 97
  วิธีการประเมิน
    1.การตรวจสอบเอกสารหลักฐาน ด้านการเงิน และบัญชีแยกประเภทเงินให้ถูกต้องตามระเบียบที่เกี่ยวข้อง 2.การส่งเบิกเงินค่ารักษาพยาบาล ค่าการศึกษาบุตร สัญญายืมเงิน การเบิกเงินค่าใช้สอยในการไปราชการของบุคลากรให้ทันเวลา และเป็นไปตามสิทธิ์ที่พึงจะได้รับ 3.การเบิกจ่ายเงินถูกต้องตามระเบียบที่เกี่ยวข้อง ถูกต้อง โปร่งใส ตรวจสอบได้
  เครื่องมือ
    แบบฟอร์มด้านการเงินและบัญชี ทะเบียนคุมต่างๆ ระบบการจ่ายเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ KTB Corporate
  เชิงคุณภาพ
    1.งานการเงินดำเนินการในการรับ-จ่ายเงินทุกประเภทได้ถูกต้อง ตามระเบียบ มีหลักฐานชัดเจน ถูกต้องโปร่งใส ตรวจสอบได้ เป็นที่พึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องอย่างมีคุณภาพในระดับดีมาก 2.งานบัญชี ดำเนินการจัดทำระบบบัญชี รายงานข้อมูลบัญชีการเงินทุกประเภทได้ถูกต้องตามระเบียบ มีความเป็นปัจุบัน มีหลักฐานชัดเจนถูกต้อง โปร่งใส ตรวจสอบได้ เป็นที่พึงพอใจแก่ผู้เกี่ยวข้องอย่างมีคุณภาพในระดับดีมาก
  วิธีการประเมิน
    1.การตรวจสอบความเรียบร้อย ถูกต้องตามลำดับสายงาน 2. การตรวจสอบจากหน่วยตรวจสอบภายใน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาญจนบุรี
  เครื่องมือ
    1.แบบฟอร์มด้านการเงินและบัญชี 2.แบบฟอร์มการตรวจสอบภายในจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาญจนบุรี

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 15/11/2567          ถึงวันที่ : 31/7/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การพัฒนาระบบการปฏิบัติงานการเงินและบัญชี
  ขั้นเตรียมการ 1.ประชุมบุคลากรงานการเงินและงานบัญชี 2.สำรวจรายการเครื่องคอมพิวเตอร์ และเครื่องพิมพ์ ทดแทนเครื่องที่ชำรุด และไม่เพียงพอต่อการใช้งาน จำนวน 3 ชุด (ในปีงบประมาณ 2567 เคยเสนอขอไปแล้วแต่ยังไม่ได้รับการพิจารณา) 3.สำรวจรายการวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการปฏิบัติงานสำนักงาน
  ขั้นดำเนินการ 1.เขียนโครงการเสนอขออนุมัติงบประมาณในการดำเนินการตามโครงการ 2.ดำเนินการพัฒนาระบบบริหารงานการเงินและการบัญชี ด้านเครื่องมือ อุปกรณ์ และด้านการปฏิบัติงานให้เกิดความรวดเร็วเป็นปัจจุบัน เสนอรางานการปฏิบัติงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบตามลำดับขั้น
  ขั้นสรุป 1.ประเมินผลการปฏิบัติงานการเงินและงานบัญชี 2. จัดทำรายงานผลการประเมินกิจกรรมที่ 1 การพัฒนาระบบการปฏิบัติงานการเงินและบัญชี
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 82387 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 90000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ห้องสำนักงาน งานการเงินและงานบัญชี
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 15/11/2567     ถึงวันที่ 31/7/2568
  ผู้รับผิดชอบ นายไพรัชน์ จารุจิระวงศ์ ตำแหน่ง หัวหน้างานการเงิน

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 82,387.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 90,000.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 172,387.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
งานการเงิน งานบัญชี กลุ่มบริหารงานงบประมาณ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม เป็นองค์กรแห่งความโปร่งใส เป็นธรรม และตรวจสอบได้ 2.ฝ่ายบริหารงานงบประมาณสามารถบริหารงานการเงินและงานบัญชีได้ตามปฏิทินการปฏิบัติงาน 3.โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเป็นองค์กรแห่งความสุข ครูและบุคลากรของโรงเรียนได้รับการบริการด้านการเงินและบัญชีแบบกัลยาณมิตร โดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางในการพัฒนาระบบการเงินและบัญชี
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
1.มีความเสี่ยงน้อย เพราะมีระเบียบ วิธีการ แนวปฏิบัติด้านการเงินและบัญชีที่ชัดเจน 2.มีการตรวจสอบจากหน่วยตรวจสอบภายใน สำรักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาญจนบุรีอย่างสม่ำเสมอทำให้มีความถูกต้องมากขึ้น

 

 

รหัสโครงการ 2-08-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
กลุ่มสาระ/งาน งานสหกรณ์
ชื่อโครงการ สหกรณ์โรงเรียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
ข้อที่ 1. การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 1. ปลูกฝังความรักในสถาบันหลักของชาติ และน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 1. มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 4. ส่งเสริมหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 3. ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 4. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
ข้อที่ 4. เป็นพลเมืองที่ดี
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวรุจิเรข ฉอยทิม

1. หลักการและเหตุผล

           สหกรณ์เป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของประเทศอย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้านการสหกรณ์คือการสร้างและพัฒนาการเรียนรู้และทักษะการสหกรณ์สู่วิถีชีวิตประชาชนในชาติเพื่อให้เกิดความรู้และทักษะเรื่องการสหกรณ์แก่ประชาชนทั้งที่อยู่ในระบบและนอกระบบการศึกษา การพัฒนาการสหกรณ์ในโรงเรียนเป็นการส่งเสริมให้เด็กนำไปปฏิบัติใช้ในชีวิตจริงและเป็นการปลูกฝังให้นักเรียนดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ตลอดจนเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอย่างยั่งยืนในอนาคต

ทั้งนี้จึงได้มีการจัดโครงการสหกรณ์โรงเรียนขึ้นเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและวิธีการสหกรณ์ โดยมีนักเรียนเป็นสมาชิกสหกรณ์และมีนักเรียนแกนนำในการดำเนินกิจการร้านค้าตามระบบงานสหกรณ์ สามารถบูรณาการกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้หลากหลายวิชา เพื่อฝึกฝนให้นักเรียนมีทักษะความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตและปลูกฝังให้นักเรียนมีคุณลักษณะนิสัยอันพึงประสงค์และดำเนินชีวิตตามหลักปรชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างเหมาะสม


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับหลักการและวิธีการของสหกรณ์
2. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีลักษณะนิสัยประหยัด รู้จักวางแผนการใช้จ่ายบนพื้นฐานของความพอเพียง
3. เพื่อจัดหาสินค้าอุปกรณ์การเรียนที่มีคุณภาพและมีราคาที่เหมาะสมมาให้บริการแก่นักเรียน

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนร้อยละ 100 เป็นสมาชิกสหกรณ์โรงเรียน
2. นักเรียนร้อยละ 80 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและวิธีการสหกรณ์
3. นักเรียนร้อยละ 80 มีการวางแผนการใช้จ่ายอย่างเหมาะสม
4. นักเรียนร้อยละ 80 ได้ซื้อสินค้าอุปกรณ์การเรียนที่มีคุณภาพในราคาที่เหมาะสม
  วิธีการประเมิน
    ประเมินความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    แบบประเมินความพึงพอใจ
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนรู้และเข้าใจบทบาทการเป็นสมาชิกสหกรณ์และปฏิบัติตนเป็นสมาชิกสหกรณ์ที่ดีได้อย่างเหมาะสม
2. นักเรียนมีลักษณะนิสัยประหยัดและใช้จ่ายอย่างพอเพียง
  วิธีการประเมิน
    ประเมินความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    แบบประเมินความพึงพอใจ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 15/10/2567          ถึงวันที่ : 15/10/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    สหกรณ์ร้านค้า
  ขั้นเตรียมการ การวางแผนการทำงานเป็นทีม T1
เสนอโครงการ
การกำหนดภาระหน้าที่งาน T2
ออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ การปฏิบัติตามภาระหน้าที่ M1
คณะกรรมการดำเนินงานปฏิบัติหน้าที่ตามคำสั่งที่ได้รับมอบหมาย
การประสานงาน M2
ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน
  ขั้นสรุป การประเมินผล V1
1.สำรวจความพึงพอใจ
2.สรุปผลความพึงพอใจ
การกำกับติดตาม V2
จัดทำรายงานโครงการและติดตามการดำเนินโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ สหกรณ์โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 15/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวรุจิเรข ฉอยทิม

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม/กลุ่มบริหารงบประมาณ
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียนมีความรู้ เข้าใจเกี่ยวกับหลักการและวิธีการของสหกรณ์ ตลอดจนสามารถนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม
2.นักเรียนมีลักษณะนิสัยประหยัดและรู้จักวางแผนการใช้จ่ายอย่างเหมาะสม
3.นักเรียนสามารถซื้อสินค้าอุปกรณ์การเรียนที่มีคุณภาพได้ในราคาที่เหมาะสม
4.สามารถพัฒนาเป็นฐานการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างเหมาะสม
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ

 

 

รหัสโครงการ 2-04-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
กลุ่มสาระ/งาน งานบริหารการเงินและบัญชี
ชื่อโครงการ เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 1. การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ
ข้อที่ 6. การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 10. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 6. ส่งเสริมกระบวนการการบริหารจัดการสถานศึกษาด้วยระบบคุณภาพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 4. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 2. ส่งเสริมคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
ข้อที่ 4. เป็นพลเมืองที่ดี
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายกิตติธัช ติ๊ดเหล็ง

1. หลักการและเหตุผล

          ทุจริตเป็นปัญหาสำคัญที่เกิดขึ้นและส่งผลเสียหายต่อชาติบ้านเมืองมาอย่างต่อเนื่องและยาวนาน แม้กระทั่งค่านิยมที่ถูกต้อง ดีงามของ สังคมไทยก็ได้รับผลกระทบ จนบางส่วนของสังคมไทยมีความคิดว่าการทำงานของราชการอาจมีการทุจริตเกิดขึ้นบ้างก็ไม่เป็นไร และ สามารถยอมรับได้หากการทำงานนั้นจะมีผลงานเกิดขึ้นและเป็นประโยชน์แก่ประชาชนหรือชุมชนบ้าง ค่านิยมเช่นนี้นับว่าเป็นอันตรายอย่าง ยิ่งต่อสังคมไทย เพราะสื่อให้เห็นได้ว่าการทุจริตกำลังจะได้รับการยอมรับว่าเป็นเรื่องปกติธรรมดาและอาจจะแผ่ขยายครอบคลุมไปทั้งภาค รัฐและภาคเอกชนในอนาคตอย่างรวดเร็วและหลีกเลี่ยงไม่ได้ ซึ่งหากไม่มีการดำเนินการแก้ไขโดยเร็ว สังคมไทยอาจได้รับผลกระทบอย่าง รุนแรงและได้รับความเสียหายอย่างมาก

การศึกษาจึงเป็นทางออกที่สำคัญ เนื่องด้วยการศึกษานั้นนอกจากจะเป็นกระบวนการสร้างความ รู้แล้วยังทำให้เกิดแนวคิด ค่านิยมที่ถูกต้อง ดีงาม ในการที่จะดูแลรับผิดชอบตนเอง ชุมชน สังคม และชาติบ้านเมือง ดังนั้น การที่จะ สร้างค่านิยมที่ถูกต้อง ดีงาม ให้กับคนในสังคมจึงจำเป็นที่ต้องเริ่มในสถาบันการศึกษา ซึ่งเป็นไปตามพระราชบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 หมวด 1 มาตราที่ 6 การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้สมบูรณ์ทั้ง ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม และวัฒนธรรมในการดำเนินชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ซึ่งจะส่งผล ให้เยาวชนที่ผ่านกระบวนการศึกษา เป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ เป็นส่วนสำคัญในการพัฒนาชาติบ้านเมืองต่อไป

โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ได้ตระหนักถึงเหตุผลที่กล่าวมาแล้วข้างต้น จึงได้จัดทำโครงการ เสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา (โรงเรียนสุจริต) ขึ้นเพื่อมุ่งพัฒนาและส่งเสริมครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้เป็นบุคคลที่พร้อมด้วยคุณธรรม จริยธรรม และความรู้ เพื่อให้สามารถนำสิ่งที่ได้รับไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานของตนต่อไป


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - ร่วมรับผิดชอบสังคมโลก
-
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อปลูกฝังให้ครูและบุคลากรทางการศึกษามีจิตสำนึกและพฤติกรรมที่สามารถแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตัว และผลประโยชน์ส่วนรวม ประพฤติตนเป็นพลเมืองดี มีคุณธรรม จริยธรรม
2. เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในกระบวนการทำงาน ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. ครูและบุคลากรทางการศึกษา ร้อยละ 90 ได้เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่เสริมสร้างจิตสำนึกและพฤติกรรมที่สามารถแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตัว และผลประโยชน์ส่วนรวม ประพฤติตนเป็นพลเมืองดี มีคุณธรรม จริยธรรม
  วิธีการประเมิน
    การลงลายมือชื่อของผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  เครื่องมือ
    บัญชีลงเวลาเข้าร่วมการประชุม
  เชิงคุณภาพ
    1. ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับความโปร่งใสในกระบวนการทำงาน ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  วิธีการประเมิน
    การตอบแบบสอบถาม
  เครื่องมือ
    แบบสอบถาม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 7/10/2567          ถึงวันที่ : 7/10/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมการบูรณาการระบบการประเมินด้านคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1) - ประชุมวางแผนการดำเนินงาน ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2) - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการตามกลุ่มงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1) - บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม - ดำเนินกิจกรรมการบูรณาการระบบการประเมินด้านคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน ขั้นตอนการประสานงาน (M2) - ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล (V1) - สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2) - รายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 7/10/2567     ถึงวันที่ 6/11/2568
  ผู้รับผิดชอบ นายกิตติธัช ติ๊ดเหล็ง และคณะ

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเกิดความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ

 

 

รหัสโครงการ 2-09-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
กลุ่มสาระ/งาน งานสวัสดิการโรงเรียน
ชื่อโครงการ ร้านค้าสวัสดิการโรงเรียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
ข้อที่ 5. การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 1. ปลูกฝังความรักในสถาบันหลักของชาติ และน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติ
ข้อที่ 5. ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 6. มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 3. การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ข้อที่ 2. ส่งเสริมให้นักเรียนและสนับสนุนให้นักเรียนมีทักษะในการประกอบอาชีพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 2. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนทุกคน
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 4. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
ข้อที่ 3. มีงานทำ-มีอาชีพ
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวสุธานิธ์ แซ่เลี่ยว

1. หลักการและเหตุผล

           เพื่อให้การบริหารกิจกรรมร้านค้าสวัสดิการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ปี 2567 ดำเนินไปด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย ถูก ต้องตามหลัก เกณฑ์ของการจัดกิจกรรมร้านค้าสวัสดิการร้านค้าโรงเรียน และเพื่อเป็นการฝึกฝนให้นักเรียนมีความรับผิดชอบ เป็น แนวทางในการดำเนิน ชีวิต รู้จักเลือกซื้อสินค้าอุปโภคและบริโภค ที่ดี และมีประโยชน์ รู้จักการเก็บออม ประหยัด การเสียสละ เวลาเพื่อประโยชน์ส่วนรวม มี ความซื่อสัตย์ กล้าคิด กล้าพูด กล้าทำ และกล้าแสดงความคิดเห็นในทางที่เหมาะสม ถูกต้อง เพื่อ ให้สอดคล้องกับหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง อีกทั้งยังสามารถบริการให้คณะครู บุคลากร และนักเรียนของโรงเรียนทุกคน ได้เลือกซื้อสินค้าที่มีคุณภาพราคา ยุติธรรม

กรณีต้องการย่อหน้าที่ 2


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - ร่วมรับผิดชอบสังคมโลก
-
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้คณะครู-บุคลากรและนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมรู้จักเลือกซื้อสินค้า อุปโภคบริโภคที่ดีมีประโยชน์ต่อร่างกาย
2. เพื่อเป็นการฝึกฝนให้นักเรียนมีความรับผิดชอบ เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต
3. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4. เพื่อเป็นการฝึกฝนให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถทำงานเป็นทีม

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. มีสินค้าอุปโภคบริโภคที่หลากหลายและจำนวนที่เหมาะสม สำหรับการให้บริการ กับคณะครู บุคลากรและนักเรียน ของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมทุกคน อย่างน้อยร้อยละ80
  วิธีการประเมิน
    ความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    แบบประเมินความพึงพอใจ
  เชิงคุณภาพ
    1. มีสินค้าอุปโภคบริโภคที่มีคุณภาพดีบริการให้กับคณะครู บุคลากร และนักเรียน ของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมทุกคน
  วิธีการประเมิน
    สอบถามความต้องการ
  เครื่องมือ
    แบบสอบถาม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 6/10/2567          ถึงวันที่ : 6/10/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    สวัสดิการร้านค้าโรงเรียน
  ขั้นเตรียมการ T2 - Tabulation to organization (การกำหนดหน้าที่ภาระงาน) 1.แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน T1 - Team management to framework(การวางแผนและการทำงานเป็นทีม) 2.ประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ M1-(ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่) 1.ดำเนินงานตามแผนที่วางไว้ตามหลักการและวิธีการของสวัสดิการร้านค้าโรงเรียนโดยยึดหลักตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง M2- Making a correlation (การประสานงาน) 2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม
  ขั้นสรุป V1 - Validity to evaluation (การประเมินผล) 1.รายงานผลการดำเนินงาน V2- (ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม) 2.บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ สวัสดิการร้านค้าโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 6/10/2567     ถึงวันที่ 5/11/2567
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวสุธานิธ์ แซ่เลี่ยว

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม / กลุ่มงานบริหารงานงบประมาณ
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. โรงเรียนได้ดำเนินกิจกรรมสวัสดิการร้านค้าโรงเรียนครบถ้วน 2. นักเรียนรู้จักคิดเป็น ทำเป็น ตลอดจนแก้ปัญหาเป็น 3. คณะครู บุคลากรและนักเรียนของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมได้เลือกซื้อสินค้าที่ดีมีคุณภาพตามความต้องการ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 2-01-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
กลุ่มสาระ/งาน งานนโยบายและแผน
ชื่อโครงการ พัฒนางานแผนงาน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 9. เพิ่มโอกาสและสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา
ข้อที่ 10. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 1. มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน
ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 6. ส่งเสริมกระบวนการการบริหารจัดการสถานศึกษาด้วยระบบคุณภาพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 4. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
ข้อที่ 4. เป็นพลเมืองที่ดี
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายกฤษดา เพียงลิ้ม

1. หลักการและเหตุผล

          การจัดทำแผนพัฒนาและแผนปฏิบัติการของสถานศึกษาหรือโรงเรียน มีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งทำให้ทราบถึงการดำเนินงานของกลุ่มบริหารงานต่าง ๆ/ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภายในสถานศึกษาหรือโรงเรียน ว่ามีความสอดคล้องกับพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของรัชกาลที่ 10 แผนยุทธศาสตร์ชาติ นโยบายและจุดเน้นของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ นโยบายของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาญจนบุรี

ในแต่ละปีงบประมาณสถานศึกษาจะได้รับงบประมาณจัดสรรจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและหน่วยงานต่าง ๆ ในการสนับสนุนงบประมาณเพื่อใช้ในการบริหารจัดการของสถานศึกษาซึ่งสถานศึกษามีภาระกลุ่มงานในการบริหารจัดการใน 5 แผนงาน ได้แก่ แผนงานวิชาการ แผนงานงบประมาณ แผนงานบริหารบุคคล แผนงานบริหารงานทั่วไป และแผนงานกิจการนักเรียน โรงเรียนจะต้องบริหารจัดการภาระแผนงานดังกล่าวให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาที่กำหนดและทุกกลุ่มงาน โดยการมีส่วนร่วมของคณะครู คณะกรรมการสถานศึกษา และมีการดำเนินงานตามโครงการมีการสรุปรายงานโครงการ มีการรายงานผลแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 เพื่อให้การตรวจสอบได้ทางโรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นโดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช มาเป็นแนวทางในการ ดำเนินงาน


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ
2. เพื่อพัฒนางานแผนงานและเผยแพร่ข้อมูลงานแผนงาน

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. คณะครู และบุคลากร ร้อยละ 95 มีส่วนร่วมในการวางแผนด้านนโยบาย แผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการของโรงเรียน
2. คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้แทนชุมชน ผู้ปกครอง ร้อยละ 90 มีส่วนร่วมในการพัฒนา / ปรับปรุงแผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการของโรงเรียน
3. จัดทำรูปเล่มแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 จำนวน 20 เล่ม 4. จัดทำรูปเล่มแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปีงบประมาณ 2568-2572 จำนวน 10 เล่ม
  วิธีการประเมิน
    -ทำแบบประเมิน
  เครื่องมือ
    -แบบประเมิน
  เชิงคุณภาพ
    1. โรงเรียนมีแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ที่ถูกต้องสมบูรณ์
2. ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่าย มีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 อยู่ในระดับยอดเยี่ยม
  วิธีการประเมิน
    -ทำแบบสอบถาม
  เครื่องมือ
    -แบบสอบถาม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2567          ถึงวันที่ : 30/9/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การจัดประชุมและทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พุทธศักราช 2568
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- จัดทำโครงการ
- เสนอกิจกรรมเพื่ออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง และออกคำสั่งการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประชุมเชิงปฏิบิติการ จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2567
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 2500 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2567
  ผู้รับผิดชอบ นายกฤษดา เพียงลิ้ม
    กิจกรรมที่ 2    พัฒนานโยบายและแผนงาน
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- จัดทำโครงการ
- วางแผนการปฏิบัติงาน
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง และออกคำสั่งการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- จัดทำแผนป้ายประชาสัมพันธ์ จัดทำรูปเล่มแผนพัฒนาคุณภาพ
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 9935 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2567
  ผู้รับผิดชอบ นายกฤษดา เพียงลิ้ม

   รวม 2 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 12,435.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 12,435.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คณะครูและผู้บริหารโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม และผู้เกี่ยวข้อง
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. โรงเรียนมีการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2568
2. การดำเนินงานตามโครงการ บรรลุผลสำเร็จมีคุณภาพและมีมาตรฐานการศึกษาที่กำหนด
3. คุณครูสามารถเขียนโครงการ/กิจกรรมได้อย่างถูกต้องและสมบูรณ์
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 2-07-4
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
กลุ่มสาระ/งาน งานควบคุมภายใน
ชื่อโครงการ พัฒนางานควบคุมภายใน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 1. ปลูกฝังความรักในสถาบันหลักของชาติ และน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 6. ส่งเสริมกระบวนการการบริหารจัดการสถานศึกษาด้วยระบบคุณภาพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 4. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางอรอนงค์ ชัยประเสริฐ

1. หลักการและเหตุผล

           คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ข้อ 6 ได้กำหนดระบบการควบคุมภายใน ของ ตนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสม กับการปฏิบัติงานในหน่วยงาน เพื่อเป็นเครื่องมือในการป้องกันและรักษาทรัพย์สิน ช่วย ให้การใช้ ทรัพยากรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และให้การปฏิบัติงานในขั้นตอนต่างๆเป็นไปอย่างถูกต้องเหมาะสม ในการกำกับ ดูแลการจัด ทำระบบ การควบคุมภายใน ติดตามประเมินผลและ รายงานผลการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการ กำหนด มาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544ข้อ6

งานควบคุมภายในโรงเรียนได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบการควบคุมภายในโรงเรียนเพื่อติดตามประเมินผลงาน วางแผนจัดระบบการควบคุมภายในโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้งานควบคุมภายในมีการดำเนินงานตามแผนการปรับรุงการควบคุมภายในและรายงานผลการควบคุมภายในต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2. เพื่อให้กลุ่ม/งาน/ฝ่ายมีการจัดวางระบบการควบคุมภายในตามมาตรฐานที่กำหนดและเป็นไปตามระเบียบการควบคุมภายใน
3. เพื่อพัฒนาการดำเนินงานของงานควบคุมภายในของโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1.กลุ่ม/งาน/ฝ่าย วิเคราะห์ความเสี่ยง จัดทำแผนการควบคุมภายใน ติดตามและรายงานผลการควบคุมภายในจำนวน 5 กลุ่ม/งาน/ฝ่าย.
  วิธีการประเมิน
    1.ตรวจสอบ
2.สอบถาม
  เครื่องมือ
    1.แบบประเมิน
2.แบบสอบถาม
  เชิงคุณภาพ
    1.ร้อยละ 85 ของงานควบคุมภายในมีการวิเคราะห์ความเสี่ยง จัดทำแผนการควบคุมภายใน ติดตามและรายงานผลการควบคุมภายในของกลุ่ม/งาน/ฝ่ายอย่างมีประสิทธิภาพ
  วิธีการประเมิน
    1.ตรวจสอบ
2.สอบถาม
  เครื่องมือ
    1.แบบประเมิน
2.แบบสอบถาม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/9/2568          ถึงวันที่ : 30/9/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    พัฒนางานควบคุมภายใน
  ขั้นเตรียมการ การวางแผนการทำงานเป็นทีม T1
1. ประชุมคณะกรรมการฝ่ายบริหารโรงเรียน
2. ขออนุมัติโครงการการกำหนดภาระหน้าที่งาน T2
3. แต่งตั้งคณะกรรมการและประชุมคณะกรรมการ
  ขั้นดำเนินการ การปฏิบัติตามภาระหน้าที่ M1
1. ติดตามการดำเนินงานตามแผนการควบคุมภายในการประสานงาน M2
2. วิเคราะห์ความเสี่ยงและวางแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน
  ขั้นสรุป การประเมินผล V1
1. รายงานผลการควบคุมภายในต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องการกำกับ ติดตาม V2
2. รายงานผลการปฏิบัติงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/9/2568     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางอรอนงค์ ชัยประเสริฐ

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มบริหารงานงบประมาณ
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. กลุ่ม/งาน/ฝ่ายมีการจัดวางระบบการควบคุมภายในตามมาตรฐานที่กำหนดและเป็นไปตามระเบียบการควบคุมภายใน
2. งานควบคุมภายในมีการดำเนินงานตามแผนการปรับรุงการควบคุมภายในและรายงานผลการควบคุมภายในต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
3. งานควบคุมภายในของโรงเรียนมีการพัฒนาการดำเนินงานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
การรายงานผลการจัดวางระบบการควบคุมภายในจัดทำหลังเสร็จสิ้นปีงบประมาณ ทำให้การสรุปประเมินผลโครงการล่าช้าตามบริบทของงาน

 

 

รหัสโครงการ 2-06-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
กลุ่มสาระ/งาน งานธุรการ
ชื่อโครงการ งานธุรการ
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 8. เสริมสร้างความปลอดภัยของสถานศึกษา
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 6. ส่งเสริมกระบวนการการบริหารจัดการสถานศึกษาด้วยระบบคุณภาพ
กลยุทธ์โรงเรียน -
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวณัฐชนก บุตรดาวงษ์

1. หลักการและเหตุผล

           โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ประจำอำเภอท่ามะกา เปิดสอนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 ใน ด้านการบริหาร งานในโรงเรียน ต้องมีความโปรงใส ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน ตรวจสอบได้ และจำเป็นต้องมีการ พัฒนาระบบ งานธุรการให้ทันสมัย เพื่อ รองรับประเทศไทยในยุคจิติตัล 4.0 ซึ่งการบริหารงาน จำเป็นต้องใช้วัสดุ อุปกรณ์ และสิ่ง อำนวย ความสะดวก ในการทำงาน และบริการ คณะครู บุคลากร และนักเรียนในโรงเรียน ให้รวดเร็ว ถูกต้อง ตรวจสอบได้

งานธุรการ โรงเรียน ท่ามะกาวิทยาคม จึงได้จัดทำโครงการ พัฒนาระบบงานธุรการขึ้น เพื่ออำนวยความสะดวกใน การให้บริการกับครู บุคลากร นักเรียน ผู้ ปกครอง และผู้มาติดต่องาน ทันต่อ เหตุการณ์ สะดวก รวดเร็ว โดยสอดคล้องกับหลักปรัญชาเศรษฐกิจพอเพียง ๓ ห่วง ๒ เงื่อนไข ๔ มิติ


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
- -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. งานธุรการให้เป็นปัจจุบัน รวดเร็ว และทันสมัย
2. เพื่อบริการแก่ผู้มาติดต่อ

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. มีวัสดุอุปกรณ์ครบในการปฏิบัติงาน สามารถให้บริการแก่ผู้มาติดต่อ ร้อยละ 100
  วิธีการประเมิน
    แบบสอบถามความพึงพอใจ / การประเมินโครงการ
  เครื่องมือ
    แบบสอบถามความพึงพอใจ / การประเมินโครงการ
  เชิงคุณภาพ
    1. เพื่อพัฒนางานธุรการให้เป็นปัจจุบัน รวดเร็ว และทันสมัย
2. มีสิ่งอำนวยความสะดวกบริการกับคณะครู บุคลากร นักเรียน และผู้มาติดต่องาน อยู่ในระดับดีขึ้นไป
  วิธีการประเมิน
    แบบประเมินความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    แบบประเมินความพึงพอใจ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2567          ถึงวันที่ : 15/9/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    พัฒนางานเอกสารงบประมาณสารบรรณ
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- แผนงาน/โครงการ ตรวจวัสดุ และสิ่งอำนวยความสะดวกอื่น ๆ ที่ต้องใช้
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- การดำเนินงาน ดำเนินการสั่งซื้อ ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประสานงาน
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- การประเมินผล รายงานผลการปฏิบัติงาน ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- การกำกับติดตาม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 50000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ งานสารบรรณ กลุ่มบริหารงานงบประมาณ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2567     ถึงวันที่ 15/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวณัฐชนก บุตรดาวงษ์ และนางสาวโชติรัตน์ วงษ์จันทร์ดี
    กิจกรรมที่ 2    พัฒนางานธุรการ
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- แผนงาน/โครงการ ตรวจวัสดุ และสิ่งอำนวยความสะดวกอื่น ๆ ที่ต้องใช้
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- การดำเนินงาน ดำเนินการสั่งซื้อ ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประสานงาน
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- การประเมินผล รายงานผลการปฏิบัติงาน ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- การกำกับติดตาม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 55000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ งานสารบรรณ กลุ่มบริหารงานงบประมาณ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2567     ถึงวันที่ 15/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวณัฐชนก บุตรดาวงษ์ และนางสาวโชติรัตน์ วงษ์จันทร์ดี

   รวม 2 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 105,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 105,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
งานสารบรรณ กลุ่มบริหารงานงบประมาณ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
งานสารบรรณ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม มีวัสดุอุปกรณ์ที่เพียงพอ ทันสมัย บริการแก่ผู้มาติดต่อ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
งบประมาณไม่เพียงพอ

 

 

รหัสโครงการ 2-05-4
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
กลุ่มสาระ/งาน งานบริหารพัสดุและสินทรัพย์
ชื่อโครงการ บริหารงานพัสดุและสินทรัพย์
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ -
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 6. ส่งเสริมกระบวนการการบริหารจัดการสถานศึกษาด้วยระบบคุณภาพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 4. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวณัฐชกานต์ วงศ์ศัย

1. หลักการและเหตุผล

           โครงการบริหารงานพัสดุและสินทรัพย์

ดังนั้นจึงจำเป็นต้องจัดทำโครงการบริหารงานพัสดุและสินทรัพย์ (การจัดซื้อจัดจ้าง) เพื่อให้ สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัด จ้างและ การบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 และกฎกระทรวงต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาการทำงานพัสดุและสินทรัพย์ให้มีความคล่องตัวในการ บริหารจัดการและสนับสนุนงานของทุกกลุ่มงาน/ฝ่ายสามารถดำเนินไปตามแผนสนองความต้องการและให้บริการได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องตามระเบียบพัสดุเกิดประสิทธิภาพสูงสุดต่อทางราชการ


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อพัฒนางานพัสดุและสินทรัพย์ให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 และกฎกระทรวงต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2. เพื่ออำนวยความสะดวกในการจัดหาพัสดุ (จัดซื้อจัดจ้าง) สนับสนุนนงานของทุกกลุ่มงาน / ฝ่ายตามแผนปฏิบัติการประจำปีและปฏิทินปฏิบัติงาน

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    ครูและบุคลากรงานพัสดุและสินทรัพย์ของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมทุกคน ทำงานได้ อย่างสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
  วิธีการประเมิน
    การประเมิน
  เครื่องมือ
    แบบประเมิน
  เชิงคุณภาพ
    1. การปฏิบัติงานด้านการจัดซื้อจัดจ้าง ด้านบัญชีวัสดุและครุภัณฑ์เป็นระบบ รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
2. โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมมีระบบการบริหารจัดการคุณภาพสถานศึกษา
  วิธีการประเมิน
    สอบถามผู้เกี่ยวข้อง
  เครื่องมือ
    แบบประเมิน

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2567          ถึงวันที่ : 30/9/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    จัดหาวัสดุและครุภัณฑ์สำนักงาน
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
4. จัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบพัสดุ
ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
5. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
4. จัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบพัสดุ
ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
5. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 62480 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวณัฐชกานต์ วงศ์ศัย

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 62,480.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 62,480.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. การบริหารงานพัสดุ สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว โปร่งใส ถูกต้อง ตามระเบียบของทางราชการ
2. มีระบบการติดตาม กำกับ ตรวจสอบ และพัฒนาระบบการบริหารงานพัสดุ
3. ผู้รับบริการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความพึงพอใจต่อการให้บริการ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติอาจไม่เพียงพอต่อการบริหารจัดการ