รหัสโครงการ 1-14-1
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชื่อโครงการ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ภาษาไทย
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 4. ส่งเสริมการอ่าน เพื่อเป็นวิถีในการค้นหาความรู้และต่อยอดองค์ความรู้ที่สูงขึ้น
ข้อที่ 7. จัดการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 1. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ
ข้อที่ 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 5. ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 3. ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายสุชาติ จงเจริญไพสิฐ

1. หลักการและเหตุผล

          

นโยบายการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2552 ได้ดำเนินนโยบายด้านคุณภาพ การศึกษา ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ครูสามารถจัดการเรียนการสอนตาม หลักสูตรได้อย่างมี ประสิทธิภาพและให้ความสำคัญกับพื้นฐานและศักยภาพของผู้เรียน ดังนั้นกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จึงได้จัดโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากผลการทดสอบระดับชาติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ให้ เพิ่มขึ้นตามนโยบายของหน่วย งานต้นสังกัด เนื่องจากเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล และตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ง ชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ.2545 มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถ เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือผู้เรียนสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนา ตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพการจัดการเรียนการสอน ตามาตรา 22 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 22) พ.ศ.2545 เป็นการจัดการศึกษาต้องยึดผู้เรียนเป็นสำคัญซึงผู้เรียนแต่ละคนมีความสามารถและความถนัดหรือ ความสนใจที่แตกต่างกัน ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้การเปิดโอกาสให้เรียนได้ฝึกฝนและพัฒนาตนเอง ในด้านที่ ถนัดหรือมี ความสามารถเพื่อเพิ่มพูนศักยภาพของตนเอง

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยเล็งเห็นถึงความสำคัญของผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ ทางทักษะภาษาไทย จึงสร้างโอกาสให้แก่ผู้เรียนได้แสดงออกซึ่งศักยภาพ ตลอดจนสนับสนุนส่งเสริมให้ครูและบุคลากร ทางการศึกษาได้ใช้ความรู้ ความสามารถในการพัฒนาการเรียนการ สอนอย่าง เต็มตามความสามารถ โดยส่งเสริมความรู้ความ สามารถและทักษะทางวิชาการ เพื่อนำทักษะต่าง ๆ ไปใช้ในชีวิตประจำวัน และเข้าร่วมการแข่งขันทักษะทางวิชาการ เช่น งาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนทั้งในระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับภาค และระดับ ประเทศ การจัดนิทรรศการ วิชาการ การจัด กิจกรรมการเรียนการสอนมุ่งพัฒนาทักษะความสามารถพิเศษของผู้เรียนทางด้านภาษาไทย และเตรียม ความพร้อม ในการ เข้าแข่งขันในกิจกรรมต่างๆทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ทั้งสื่อการสอนและแหล่งเรียนรู้ได้แก่ ห้องปฏิบัติการ ภาษาไทย และ คลินิกหมอภาษา

จากผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในวิชาภาษาไทย ระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ปีการศึกษา 2565 พบว่า นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยระดับเขตพื้นที่การศึกษาและคะแนนเฉลี่ยระดับ ชาติ ดั้งนั้นเพื่อเป็นการ พัฒนานักเรียนให้มีผลการทดสอบและผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยเป็นไป ตามเกณฑ์ พร้อมทั้งเป็นการเพิ่มพูน ความรู้ พัฒนาศักยภาพและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยให้สูงขึ้น กลุ่ม สาระการเรียนยรู้ภาษาไทยได้จัดทำ โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนขึ้นโดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพียงของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตรมาเป็นแนวทางในการดำเนิน งาน


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- เป็นเลิศวิชาการ
- -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยในระดับ 2.5 ขึ้นไปร้อยละ 77
2. เพื่อให้นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียนวิชาภาษาไทยในการทดสอบทางการศึกษาขั้นพิ้นฐานระดับชาติ(O-NET) สูงขึ้น
3. เพื่อให้นักเรียนได้รับการพัฒนาศักยภาพ สนับสนุนและส่งเสริมให้มีความรู้ ความสามารถในทักษะทางภาษาไทย
4. เพื่อให้ครูมีวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือและสื่อนวัตกรรมหลากหลายรูปแบบมาดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างเพียงพอ
5. เพื่อแก้ไขปัญหานักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้และนักเรียนอ่านไม่คล่องเขียนไม่คล่อง

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนร้อยละ 77 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยในระดับ 2.5 ขึ้นไป
2. นักเรียนร้อยละ 80 ที่สมัครสอบ(O-NET) มีคะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียนวิชาภาษาไทยในการทดสอบทางการศึกษาขั้นพิ้นฐานระดับชาติ(O-NET) สูงขึ้น
3. นักเรียนร้อยละ 80 ได้รับการพัฒนาศักยภาพ สนับสนุนและส่งเสริมให้มีความรู้ ความสามารถในทักษะทางภาษาไทย
4. ครูทุกคนในกลุ่มสาระภาษาไทยมีวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือและสื่อนวัตกรรมในการจัดการเรียนการสอนอย่างเพียงพอกับผู้เรียนอย่างน้อยร้อยละ 95 5. นักเรียนร้อยละ 80 ที่อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้และนักเรียนอ่านไม่คล่องเขียนไม่คล่อง ได้รับการแก้ไขได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
  วิธีการประเมิน
    - ดำเนินตามขั้นตอนกิจกรรม ให้ผู้เรียนได้เข้าร่วมทดสอบตามวันและเวลาที่ สทศ.กำหนด
- ประเมินความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    - แบบทดสอบ
- แบบประเมินความพึงพอใจ
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยในระดับ 2.5 ขึ้นไป ร้อยละ 77
2. นักเรียนที่สมัครสอบ(O-NET) มีคะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียนวิชาภาษาไทยในการทดสอบทางการศึกษาขั้นพิ้นฐานระดับชาติ(O-NET) สูงขึ้น
3. นักเรียนร้อยละ 80 ได้รับการพัฒนาศักยภาพ สนับสนุนและส่งเสริมให้มีความรู้ ความสามารถในทักษะทางภาษาไทย
4. ครูทุกคนในกลุ่มสาระภาษาไทยมีวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือและสื่อนวัตกรรมในการจัดการเรียนการสอนอย่างเพียงพอกับนักเรียน 5. นักเรียนที่อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้และนักเรียนอ่านไม่คล่องเขียนไม่คล่อง ร้อยละ 80 ได้รับการแก้ไขได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
  วิธีการประเมิน
    - ดำเนินตามขั้นตอนกิจกรรม ให้ผู้เรียนได้เข้าร่วมทดสอบตามวันและเวลาที่ สทศ.กำหนด
- ประเมินความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    - แบบทดสอบ
- แบบประเมินความพึงพอใจ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 9/10/2567          ถึงวันที่ : 30/9/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมสอนเสริมเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
  ขั้นเตรียมการ 1. ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- ประชุมครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จัดทำโครงการและขออนุมัติ
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการกิจกรรมสอนเสริม
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- ประชุมคณะกรรมการดำเนินการและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยจัดคาบสอนเสริมให้กับคุณครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
  ขั้นดำเนินการ 3. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
- จัดทำชุดฝึกทักษะสำหรับนักเรียนแต่ละระดับ
- จัดซื้ออุปกรณ์ที่ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ต่างๆ
- นักเรียนฝึกฝนตลอดภาคเรียน
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- ประสานงานระหว่างคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายบริหาร เพื่อให้กิจกรรมดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  ขั้นสรุป 5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- ประเมินผลการจัดกิจกรรม
- ประเมินผลและรายงานผลการปฏิบัติงาน
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- ตรวจสอบและรายงานการจัดกิจกรรมของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 9/10/2567     ถึงวันที่ 31/3/2568
  ผู้รับผิดชอบ นายสุชาติ จงเจริญไพสิฐ และคณะ
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความเป็นเลิศทักษะทางภาษาไทย
  ขั้นเตรียมการ 1. ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- ประชุมครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จัดทำโครงการและขออนุมัติ
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการกิจกรรมสอนเสริม
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- ประชุมคณะกรรมการดำเนินการและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยจัดคาบสอนเสริมให้กับคุณครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
  ขั้นดำเนินการ 3. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
- จัดทำชุดฝึกทักษะสำหรับนักเรียนแต่ละระดับ
- จัดซื้ออุปกรณ์ที่ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ต่างๆ
- นักเรียนฝึกฝนตลอดภาคเรียน
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- ประสานงานระหว่างคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายบริหาร เพื่อให้กิจกรรมดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  ขั้นสรุป 5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- ประเมินผลการจัดกิจกรรม
- ประเมินผลและรายงานผลการปฏิบัติงาน
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- ตรวจสอบและรายงานการจัดกิจกรรมของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 21150 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 9/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นายสุชาติ จงเจริญไพสิฐ และคณะ
    กิจกรรมที่ 3    การพัฒนาสื่อและแหล่งเรียนรู้ทางภาษาไทย
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- จัดทำโครงการ
- เสนอกิจกรรมเพื่ออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง และออกคำสั่งการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
- บันทึกขออนุญาตทำ กิจกรรม
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประชุมเชิงปฏิบิติการ จัด ทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2567
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 10000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 9/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาววันลิษา ขำอิ่ม และนางสาวนันทิพร วงษ์ดาว
    กิจกรรมที่ 4    คลินิกหมอภาษา
  ขั้นเตรียมการ 1.ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- ประชุมครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จัดทำโครงการและขออนุมัติ
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ
  ขั้นดำเนินการ 1. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
- จัดทำแบบฝึกทักษะสำหรับนักเรียนแต่ละคน
- จัดซื้ออุปกรณ์ที่ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ต่างๆ
- นักเรียนฝึกฝนตลอดภาคเรียน
2. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- ประสานงานระหว่างคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายบริหาร เพื่อให้กิจกรรมดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  ขั้นสรุป 1. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- ประเมินผลการจัดกิจกรรม
– ประเมินผลและรายงานผลการปฏิบัติงาน
2. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- ตรวจสอบและรายงานการจัดกิจกรรมของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 5535 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 9/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวจีระวรรณ พรศิริ

   รวม 4 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 36,685.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 36,685.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยในระดับ 2.5 ขึ้นไปร้อยละ 77
2. นักเรียนที่สมัครสอบ(O-NET) มีคะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียนวิชาภาษาไทยในการทดสอบทางการศึกษาขั้นพิ้นฐานระดับชาติ(O-NET) สูงขึ้น
3. เพื่อให้นักเรียนได้รับการพัฒนาศักยภาพ สนับสนุนและส่งเสริมให้มีความรู้ ความสามารถในทักษะทางภาษาไทย
4. ครูมีวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือและสื่อนวัตกรรมหลากหลายรูปแบบมาดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างเพียงพอ
5. นักเรียนที่อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้และนักเรียนอ่านไม่คล่องเขียนไม่คล่อง
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 1-14-6
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชื่อโครงการ วันภาษาไทยและวันสุนทรภู่
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 4. ส่งเสริมการอ่าน เพื่อเป็นวิถีในการค้นหาความรู้และต่อยอดองค์ความรู้ที่สูงขึ้น
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 1. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 2. ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 2. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนทุกคน
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวสุพรรณี ยิ่งทวีศักดิ์

1. หลักการและเหตุผล

           นโยบายการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2552 ได้ดำเนินนโยบายด้านคุณภาพการศึกษา ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับการ ศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน ครูสามารถจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพและให้ความสำคัญกับพื้นฐานและ ศักยภาพของผู้เรียน และเพื่อเป็นการเปิด โอกาสให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ ทางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จึงได้ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เข้าร่วม การประกวดแข่งขันทักษะต่างๆ ของกลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

กรณีต้องการย่อหน้าที่ 2


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- เป็นเลิศวิชาการ
- -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะกระบวนการเรียนรู้ภาษาไทย
2. เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการอ่าน การฟัง การดู การพูด การเขียน และการคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ
3. เพื่อให้ผู้เรียนมีจิตสำนึกรักความเป็นไทยและเห็นความสำคัญของภาษาไทย

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. ผู้เรียนร้อยละ 95 เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาทักษะวิชาการของกลุ่มสาระภาษาไทย
2. ผู้เรียนร้อยละ 95 สามารถเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
3. ผู้เรียนร้อยละ 95 มีจิตสำนึกรักความเป็นไทยและเห็นความสำคัญของภาษาไทย
  วิธีการประเมิน
    ให้ผู้เข้ารร่วมกิจกรรมทำแบบประเมิน
  เครื่องมือ
    แบบประเมิน
  เชิงคุณภาพ
    1. ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาทักษะวิชาการของกลุ่มสาระภาษาไทย ได้พัฒนาทักษะการเรียนรู้ ทั้งการอ่าน การฟัง การดู การพูด การเขียนและการคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ที่สามารถนำความรู้และทักษะไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
2. ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
3. ผู้เรียนมีจิตสำนึกรักความเป็นไทยและเห็นความสำคัญของภาษาไทย เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านการอนุรักษ์ภาษาและความเป็นไทย
  วิธีการประเมิน
    ให้ผู้เข้ารร่วมกิจกรรมทำแบบประเมิน
  เครื่องมือ
    แบบประเมิน

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/6/2568          ถึงวันที่ : 31/7/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมวันสุนทรภู่
  ขั้นเตรียมการ T1-ประชุมคณะทำงานเตรียมการ กำหนดเป้าหมายและระดับความสำเร็จของกิจกรรม
T2-แต่งตั้งคณะทำงาน จัดทำปฏิทินปฏิบัติงานและประชุมชี้แจง
  ขั้นดำเนินการ M1-คณะทำงานดำเนินงานตามคำสั่ง
-ประชาสัมพันธ์และเปิดรับสมัครนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมการประกวดและแข่งขัน
- จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์, รางวัล ที่ใช้ในการจัด กิจกรรมทั้งหมด ได้แก่ ของรางวัล เกียรติบัตร วัสดุอุปกรณ์ในการทำฉาก (Cut Out เวทีกิจกรรม)
- ดำเนินการประกวดและแข่งขันกิจกรรมต่าง ๆ
- จัดเตรียมนิทรรศการและสถานที่ในการจัดกิจกรรม
M2-ประสานงานกับระหว่างคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทุกส่วนภายในโรงเรียน เพื่อให้การดำเนินการจัดกิจกรรมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  ขั้นสรุป V1- ประเมินผลการปฏิบัติงานโดยใช้แบบสอบถามและแบบประเมิน และสรุปผลการปฏิบัติงาน
V2- รายงานผลการปฏิบัติงานและนำข้อมูลมาปรับปรุงพัฒนางานต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 13250 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 20/6/2568     ถึงวันที่ 30/6/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวสุพรรณี ยิ่งทวีศักดิ์และคณะกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมวันภาษาไทย
  ขั้นเตรียมการ T1-ประชุมคณะทำงานเตรียมการ กำหนดเป้าหมายและระดับความสำเร็จของกิจกรรม
T2-แต่งตั้งคณะทำงาน จัดทำปฏิทินปฏิบัติงานและประชุมชี้แจง
  ขั้นดำเนินการ M1-คณะทำงานดำเนินงานตามคำสั่ง
-ประชาสัมพันธ์และเปิดรับสมัครนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมการประกวดและแข่งขัน
- จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์, รางวัล ที่ใช้ในการจัด กิจกรรมทั้งหมด ได้แก่ ของรางวัล เกียรติบัตร วัสดุอุปกรณ์ในการทำฉาก (Cut Out เวทีกิจกรรม)
- ดำเนินการประกวดและแข่งขันกิจกรรมต่าง ๆ
-. จัดเตรียมนิทรรศการและสถานที่ในการจัดกิจกรรม
M2-ประสานงานกับระหว่างคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทุกส่วนภายในโรงเรียน เพื่อให้การดำเนินการจัดกิจกรรมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  ขั้นสรุป V1- ประเมินผลการปฏิบัติงานโดยใช้แบบสอบถามและแบบประเมิน และสรุปผลการปฏิบัติงาน
V2- รายงานผลการปฏิบัติงานและนำข้อมูลมาปรับปรุงพัฒนางานต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 50390 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 20/7/2568     ถึงวันที่ 20/7/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวสุพรรณี ยิ่งทวีศักดิ์และคณะกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

   รวม 2 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 63,640.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 63,640.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทักษะกระบวนการเรียนรู้ภาษาไทย
- ผู้เรียนเกิดทักษะในการอ่าน การฟัง การดู การพูด การเขียน และการคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ
- ผู้เรียนมีจิตสำนึกรักความเป็นไทยและเห็นความสำคัญของภาษาไทย
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ

 

 

รหัสโครงการ 1-10-4
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานห้องสมุด
ชื่อโครงการ ส่งเสริมผู้เรียนให้มีความใฝ่รู้และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 4. ส่งเสริมการอ่าน เพื่อเป็นวิถีในการค้นหาความรู้และต่อยอดองค์ความรู้ที่สูงขึ้น
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 1. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ
ข้อที่ 4. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรูที่เอื้อต่อการเรียนรู้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 5. ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 2. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนทุกคน
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวพลิมา อุตตโรพร

1. หลักการและเหตุผล

          

ห้องสมุดโรงเรียน เป็นแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนที่มีความสำคัญยิ่งต่อการ จัดการเรียนรู้ของครูผู้ สอนและการเรียนรู้ในกลุ่ม สาระการ เรียนรู้ต่าง ๆของนักเรียน เพราะเป็นแหล่งการเรียนรู้ที่อำนวยความสะดวก จัดกิจกรรมที่กระตุ้นให้ นักเรียนเกิดการเรียนรู้ ศึกษา ค้นคว้า แสวงหาคำตอบ และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองได้ ซึ่งสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และจุด เน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่เน้นให้ส่งเสริมการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ทั้งในและนอกสถาน ศึกษาเพื่อ การพัฒนาไปสู่ ความเป็นสากล และมุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียน เรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตและใช้เวลาอย่างสร้างสรรค์ ผู้เรียน สามารถเรียนรู้ ได้ ทุกเวลา แสวงหาคำตอบและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองเช่น การทำงาน โครงงาน รายงาน ชิ้นงาน การปฏิบัติจริง โดย สถาน ศึกษา ควรมีการพัฒนา ปรับปรุงห้องสมุดให้สะดวกต่อการใช้ เช่น การพัฒนาห้องสมุด จัดบรรยากาศให้น่าสนใจ จัดหาหนังสือใหม่ ๆเพื่อให้บริการแก่ นักเรียนและบุคลากรภายในโรงเรียน ปรับปรุงกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ดังนั้น งานห้องสมุดจึงได้ดำเนิน การจัดโครงการ ส่งเสริมผู้เรียนให้ มีความใฝ่รู้และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นการพัฒนา ปรับปรุงแหล่งการเรียนรู้ภายในโรงเรียนที่เอื้อ ต่อการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ของนักเรียนและครูในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น กรณีต้องการย่อหน้าที่ 2


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- เป็นเลิศวิชาการ
- -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรมีแหล่งการเรียนรู้ที่สะดวก ทันสมัยในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ในด้านต่างๆ
2. เพื่อจัดประสบการณ์การเข้าใช้บริการห้องสมุด กระตุ้นความสนใจให้นักเรียนมีนิสัยรักการอ่านรักการเรียนรู้

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรมีแหล่งการเรียนรู้ที่สะดวก ทันสมัยในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ในด้านต่างๆ
2. เพื่อจัดประสบการณ์การเข้าใช้บริการห้องสมุด กระตุ้นความสนใจให้นักเรียนมีนิสัยรักการอ่านรักการเรียนรู้
  วิธีการประเมิน
    สถิติการเข้าร่วมกิจกรรมและการเข้าใช้บริการ
  เครื่องมือ
    แบบบันทึกสถิติ
  เชิงคุณภาพ
    นักเรียน ครูและบุคลากรที่เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 80 มีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมและเข้าใช้บริการห้องสมุด ในระดับมากขึ้นไป
  วิธีการประเมิน
    ประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมและเข้าใช้บริการห้องสมุด
  เครื่องมือ
    แบบประเมินความพึงพอใจ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 6/10/2567          ถึงวันที่ : 25/9/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    ส่งเสริมการอ่าน
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1.ประชุมคณะทำงานห้องสมุด
2.เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
1.สำรวจรายการวัสดุ อุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้
2.ดำเนินการขออนุมัติจัดซื้อ
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
1.ดำเนินการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ หนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ ที่ต้องใช้ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
2.จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ดังนี้
2.1 กิจกรรมแนะนำหนังสือใหม่
2.2 กิจกรรมความรู้วันสำคัญต่างๆ
2.3 กิจกรรมตอบปัญหาเกมเศรษฐีประจำเดือน
2.4 กิจกรรมตอบปัญหาออนไลน์
2.5 กิจกรรมหนังสือสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ
2.6 กิจกรรมหนังสือพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้าฯ
2.7 กิจกรรมคิดจากข่าว
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประสานงานกับทุกฝ่าย
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
1.ประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ โดยใช้แบบสอบถามและแบบประเมิน
2.สรุปผลการดำเนินงานและนำข้อมูลมาปรับปรุงพัฒนางานต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 51190 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ห้องสมุดโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/11/2567     ถึงวันที่ 25/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวกุลิสรา มากศิริ
    กิจกรรมที่ 2    สัปดาห์ห้องสมุด
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
-ประชุมวางแผนการจัดกิจกรรม
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
-จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
-ประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรม
-จัดกิจกรรมสัปดาห์ห้องสมุด ระหว่างวันที่ 13-15 สิงหาคม 2568
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
1.ประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ โดยใช้แบบสอบถามและแบบประเมิน
2.สรุปผลการดำเนินงานและนำข้อมูลมาปรับปรุงพัฒนางานต่อไป
ขั้นตอนการกำกับติดตาม(V2)
- รายงานผลการปฏิบัติงานให้ฝ่ายบริหารทราบต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 6600 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ห้องสมุดโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/7/2568     ถึงวันที่ 30/8/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวพลิมา อุตตโรพร

   รวม 2 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 57,790.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 57,790.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1.งานพัสดุโรงเรียน
2.ฝ่ายบริงานวิชาการ
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.ห้องสมุดมีความสะดวก ทันสมัยในการให้บริการ
2.นักเรียน ครูและบุคลากรได้รับประสบการณ์ที่ดีในการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ของห้องสมุด
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
1.งบประมาณไม่เพียงพอต่อการดำเนินงาน 2.จำนวนนักเรียนและบุคลากรเข้าร่วมกิจกรรมต่ำกว่าที่ตั้งเป้าหมายไว้

 

 

รหัสโครงการ 1-15-4
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชื่อโครงการ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 5. ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 1. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ
ข้อที่ 2. ความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา
ข้อที่ 6. มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 5. ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล
กลยุทธ์โรงเรียน -
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวปานรวี ภูศรี

1. หลักการและเหตุผล

          จากผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ปีการศึกษา 2567 พบว่า คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียนทั้ง ม.3 และ ม.6 สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับเขตพื้นที่การศึกษาและคะแนนเฉลี่ยระดับชาติ แต่เมื่อเทียบกับคะแนน เฉลี่ยในปีการศึกษา 2566 พบว่าคะแนนเฉลี่ยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ลดลงร้อยละ 32.64 ดั้งนั้นเพื่อเป็นการพัฒนานักเรียนให้มีผลการทดสอบ และผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เป็นไปตามเกณฑ์ พร้อมทั้งเป็นการเพิ่มพูนความรู้ พัฒนาศักยภาพและยกระดับผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ให้สูงขึ้น กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์จึงได้จัดทำโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนซึ่งประกอบ ด้วยกิจกรรม 3 กิจกรรม ดังนี้ 1) กิจกรรมคิดเลขคล่องก่อนขึ้น ม.2 2) กิจกรรมติวเข้มคณิตเข้า ม.4 และพิชิตคณิต A-Level 3) กิจกรรม สัปดาห์แข่งทักษะทางคณิตศาสตร์ (Math Challenge Week) กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ได้จัดทำโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนขึ้นโดย น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรมาเป็นแนวทาง ในการดำเนินงาน

กรณีต้องการย่อหน้าที่ 2


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- เป็นเลิศวิชาการ
- -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ให้เป็นไปตามค่าเป้าหมาย ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) วิชาคณิตศาสตร์สูงขึ้นและสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. จำนวนผู้เรียนร้อยละ 72 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ในระดับ 2.5 ขึ้นไป
2. คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียนวิชาคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ในการทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับชาติ (O-NET) สูงขึ้นร้อยละ 3
  วิธีการประเมิน
    1. ตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
2. ตรวจสอบผลการทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับชาติ (O-NET)
  เครื่องมือ
    1.แบบบันทึก
2.แบบบันทึก
  เชิงคุณภาพ
    1. คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียนวิชาคณิตศาสตร์สูงกว่าหรือเท่ากับคะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัดหรือ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา
  วิธีการประเมิน
    1. ตรวจสอบผลการทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับชาติ (O-NET)
  เครื่องมือ
    2.แบบบันทึก

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/11/2567          ถึงวันที่ : 30/9/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมสัปดาห์แข่งขันทักษะทางคณิตศาสตร์ (Math Challenge Week)
  ขั้นเตรียมการ ขั้นเตรียมการ
1.ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- จัดทำบันทึกข้อความดำเนินกิจกรรม
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ
  ขั้นดำเนินการ 3. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
- จัดทำตารางการแข่งขันและเอกสารการจัดกิจกรรม
- ดำเนินการจัดการแข่งขันตามกำหนดการ
- จัดทำเกียรติบัตรและจัดเตรียมรางวัล
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- ประสานงานระหว่างคณะกรรมการดำเนินการเพื่อให้กิจกรรมดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  ขั้นสรุป 5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- ประเมินผลการจัดกิจกรรมและรายงานผลการปฏิบัติงาน
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- ตรวจสอบและรายงานการจัดกิจกรรมของกลุ่มสาระคณิตศาสตร์
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 5000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ่โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 15/5/2567     ถึงวันที่ 30/6/2567
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวปานรวี ภูศรี
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมคิดเลขคล่องก่อนขึ้น ม.2
  ขั้นเตรียมการ 1.ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- จัดทำบันทึกข้อความดำเนินกิจกรรม
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการกิจกรรม
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ
  ขั้นดำเนินการ 3. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
- จัดทำสมุดแบบฝึกหัดคิดเลขคล่องก่อนขึ้น ม.2
- ดำเนินการจัดกิจกรรมตามกำหนดการ (ครูผู้สอน ม.1 กำหนดให้นักเรียนได้ฝึกคิดเลขทุกครั้งๆละ 1 หน้าก่อนเริ่มเรียนตลอดปีการศึกษา)
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- ประสานงานระหว่างคณะกรรมการดำเนินการเพื่อให้กิจกรรมดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  ขั้นสรุป 5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- ประเมินผลการจัดกิจกรรมและรายงานผลการปฏิบัติงาน
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- ตรวจสอบและรายงานการจัดกิจกรรมของกลุ่มสาระคณิตศาสตร์
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ่โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/11/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวปานรวี ภูศรี
    กิจกรรมที่ 3    กิจกรรมสอนเสริมเพื่อเติมเต็มและต่อยอดความรู้ทางคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6
  ขั้นเตรียมการ 1.ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- จัดทำบันทึกข้อความดำเนินกิจกรรม
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ
  ขั้นดำเนินการ 3. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
- จัดทำหลักสูตรในการจัดกิจกรรมและเอกสารประกอบการจัดกิจกรรม
- ดำเนินการจัดกิจกรรมสอนเสริมตามที่กำหนดไว้ในตารางสอน
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- ประสานงานระหว่างคณะกรรมการดำเนินการเพื่อให้กิจกรรมดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  ขั้นสรุป 5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- ประเมินผลการจัดกิจกรรมและรายงานผลการปฏิบัติงาน
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- ตรวจสอบและรายงานการจัดกิจกรรมของกลุ่มสาระคณิตศาสตร์
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/12/2567     ถึงวันที่ 31/1/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวปานรวี ภูศรี

   รวม 3 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 5,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 5,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
งานผลิตเอกสาร งานวิชาการ งานประชาสัมพันธ์
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้เรียนได้รับการพัฒนาศักยภาพทางคณิตศาสตร์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น เเละมีคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ในการทดสอบระดับชาติ (O-NET) ดีขึ้น
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
ปัจจัยความเสี่ยง 8.1 การดำเนินงานโครงการไม่เป็นไปตามระยะเวลาที่โครงการกำหนด 8.2 การบริหารจัดการงบประมาณไม่เป็นไปตามคำชี้แจงการใช้งบประมาณ แนวทางการบริหารความเสี่ยง 8.3 จัดทำปฏิทินการดำเนินงานโครงการให้เป็นไปตามระยะเวลาที่โครงการกำหนด 8.4 การบริหารจัดการงบประมาณควรใช้การถัวจ่ายรวมกับกิจกรรมอื่นๆในโครงการ

 

 

รหัสโครงการ 1-03-5
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานวัดผลและประเมินผลการเรียน
ชื่อโครงการ พัฒนาคุณภาพงานวัดและประเมินผลการศึกษา
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 1. การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 7. จัดการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 3. ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 4. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 4. ส่งเสริมหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 3. ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 4. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวปานรวี ภูศรี

1. หลักการและเหตุผล

          งานวัดและประเมินผล ฝ่ายบริหารงานวิชาการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ได้วางแผนในการดำเนินโครงการพัฒนาคุณภาพงานวัดและประเมินผล การศึกษามาอย่างต่อเนื่อง โดยในปีงบประมาณ 2567 งานวัดและประเมินผลได้ดำเนินงานตามแผนการดำเนินโครงการตามแนวทาง (TMV)2 โดยมีผลการดำเนินงาน ดังนี้ (1) การจัดทำแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เอกสารงานวัดผล สมุดรายงานผลการเรียน เอกสารการวิเคราะห์ข้อสอบสำหรับครู (2) การดำเนินการวัดผลสัมฤทธิ์ การจัดการทดสอบระดับชาติโอเน็ต ม.3 และ ม.6

ทั้งนี้ ในปีงบประมาณ 2568 งานวัดและประเมินผลจึงได้วางแผนที่จะดำเนินกิจกรรมในโครงการพัฒนาคุณภาพงานวัดและประเมินผลการศึกษา อย่างต่อเนื่อง ประกอบด้วย 3 กิจกรรม คือ (1) กิจกรรมการพัฒนาระบบการวัดและประเมินผล (สนับสนุนการตรวจข้อสอบด้วย Zipgrade) (2) กิจกรรมการพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผล (การจัดทำแบบวัดผลสัมฤทธิ์ ข้อสอบประเมินการอ่านฯ ข้อสอบเตรียมพร้อมการประเมิน ระดับนานาชาติ PISA และข้อสอบ Pre O-NET) โดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหา ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรมาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน

กรณีต้องการย่อหน้าที่ 2


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- เป็นเลิศวิชาการ
- -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1.เพื่อส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาครูให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
2.เพื่อให้มีการจัดการคุณภาพของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
3.เพื่อให้มีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1.ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อระบบการวัดและประเมินผลในระดับมาก อย่างน้อยร้อยละ 80
  วิธีการประเมิน
    ประเมินความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    แบบประเมินความพึงพอใจ
  เชิงคุณภาพ
    1.สถานศึกษามีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาในระดับดีเลิศ
2.สถานศึกษามีการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการ เรียนรู้ในระดับดีเลิศ
3.สถานศึกษามีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียนอย่าง เป็นระบบอยู่ในระดับดีเลิศ ร้อยละ 75
  วิธีการประเมิน
    ประเมินความสำเร็จ
  เครื่องมือ
    แบบประเมินความสำเร็จ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2567          ถึงวันที่ : 30/9/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมการพัฒนาระบบการวัดและประเมินผล
  ขั้นเตรียมการ 1.ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
-บันทึกขอดำเนินกิจกรรม
-จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- ประชุมหารือชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
  ขั้นดำเนินการ 3. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
-ทบทวนและปรับปรุงระเบียบการวัดและประเมินผล
-จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์เกี่ยวกับการวัดผลการเรียน
-จัดจ้างพิมพ์สมุดประจำตัวนักเรียน (ระดับละ 400 เล่มๆละ 40 บาท)
-ส่งเสริมระบบการตรวจและวิเคราะห์ข้อสอบด้วย zipgrade
-เตรียมความพร้อมสนามสอบโอเน็ตชั้น ม.3 และ ม.6
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- ประสานงานระหว่างคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายบริหาร เพื่อให้กิจกรรมดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  ขั้นสรุป 5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
-ประเมินผลการดำเนินกิจกรรม (ระบบออนไลน์)
-จัดทำรายงานผลการดำเนินกิจกรรม
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
-บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 32000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/11/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวยุวดี พุทสอน
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมการพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผล
  ขั้นเตรียมการ 1.ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
-บันทึกขอดำเนินกิจกรรม
-จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- ประชุมหารือชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
  ขั้นดำเนินการ 3. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
-จัดทำเครื่องมือวัดผลด้านต่างๆ
-จัดทำคลังข้อสอบระดับชาติบนเว็บไซต์ของโรงเรียน
-จัดทำคลังข้อสอบกลุ่มสาระการเรียนรู้
-วิเคราะห์ข้อสอบและพัฒนาข้อสอบมาตรฐาน
-รวบรวมสารสนเทศของเครื่องมือวัดผลต่างๆ
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- ประสานงานระหว่างคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายบริหาร เพื่อให้กิจกรรมดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  ขั้นสรุป 5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
-ประเมินผลการดำเนินกิจกรรม (ระบบออนไลน์)
-จัดทำรายงานผลการดำเนินกิจกรรม
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
-บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 10450 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/12/2567     ถึงวันที่ 20/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวปานรวี ภูศรี

   รวม 2 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 42,450.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 42,450.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
งานวิชาการ ่งานพัสดุ
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.ระบบงานวัดและประเมินผลมีประสิทธิภาพ
2.ครูมีความสามารถในการสร้างข้อสอบคุณภาพ ตรวจและวิเคราะห์ข้อสอบด้วย zipgrade
3.ผู้รับบริการมีความพึงพอใจในระบบงานวัดและประเมินผล
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
8.1 ปัจจัยความเสี่ยง
8.1.1 การดำเนินงานโครงการไม่เป็นไปตามระยะเวลาที่โครงการกำหนด
8.1.2 การบริหารจัดการงบประมาณไม่เป็นไปตามคำชี้แจงการใช้งบประมาณ
8.1.3 ครูโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมไม่นำความรู้ที่ได้รับจากการพัฒนาไปใช้ในการปฏิบัติงานด้านการวัดและ ประเมินผล
8.2 แนวทางการบริหารความเสี่ยง
8.2.1 จัดทำปฏิทินการดำเนินงานโครงการให้เป็นไปตามระยะเวลาที่โครงการกำหนด
8.2.2 การบริหารจัดการงบประมาณควรใช้การถัวจ่ายรวมกับกิจกรรมอื่นๆในโครงการ
8.2.3 การนิเทศติดตามครูโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมที่ได้รับการพัฒนา

 

 

รหัสโครงการ 1-03-4
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานวัดผลและประเมินผลการเรียน
ชื่อโครงการ พัฒนาผู้เรียนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการทดสอบระดับชาติ และผลการประเมินระดับนานาชาติ
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 2. การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 5. ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 5. ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 3. ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวปานรวี ภูศรี

1. หลักการและเหตุผล

          งานวัดและประเมินผล กลุ่มบริหารงานวิชาการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ได้วางแผนในการดำเนินโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ผลการทดสอบโอเน็ตมาอย่างต่อเนื่อง โดยในปีงบประมาณ 2567งานวัดและประเมินผลได้ดำเนินงานตามแนวทาง (TMV)2 มีผลการดำเนินงาน ดังนี้ (1)จัดค่ายส่งเสริมวิชาการ ระดับชั้น ม.6 จำนวน 1 ครั้ง (2)ดำเนินกิจกรรมการเรียนซ้ำรายวิชา ภาคเรียนที่ 2 จำนวน 1 ครั้ง

และในปีงบประมาณ 2568 งานวัดและประเมินผลจึงได้วางแผนที่จะดำเนินกิจกรรมในโครงการพัฒนาผู้เรียนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการทดสอบระดับชาติและระดับนานาชาติอย่างต่อเนื่อง ประกอบด้วย 4 กิจกรรม คือ (1) กิจกรรมการเตรียมพร้อมรับการประเมินระดับ นานาชาติ PISA (2) กิจกรรมค่ายส่งเสริมวิชาการ ระดับชั้น ม.6 (3) กิจกรรมการเรียนซ้ำรายวิชา และ (4) กิจกรรมเตรียมพร้อมการ ทดสอบระดับชาติ โดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมาเป็นแนวทางในการดำเนิน งาน

กรณีต้องการย่อหน้าที่ 2


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- เป็นเลิศวิชาการ
- -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1.เพื่อให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นไปตามหลักสูตรสถานศึกษา

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1.จำนวนนักเรียนชั้น ม.1-ม.3 ได้รับการเตรียมความพร้อมรับการประเมินระดับนานาชาติ PISA ร้อยละ 100
2.จำนวนนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นไปตามหลักสูตรในระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 70
3.มีการจัดค่ายส่งเสริมวิชาการ จำนวน 1 ครั้งต่อปี
4.มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมค่ายส่งเสริมวิชาการ ระดับชั้น ม.6 ในระดับมาก ร้อยละ 80
  วิธีการประเมิน
    1.ตรวจสอบผลสัมฤทธิ์
2.ตรวจสอบผลการดำเนินการ
3.ประเมินความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    1.แบบตรวจสอบ
2.รายงานการดำเนินโครงการ
3.แบบประเมินความพึงพอใจ
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนกลุ่มเป้าหมายมีความพร้อมในการประเมินระดับนานาชาติ PISA
  วิธีการประเมิน
    1.ตรวจสอบการดำเนินการ
  เครื่องมือ
    2.รายงานการดำเนินโครงการ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2567          ถึงวันที่ : 30/9/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมการเตรียมพร้อมรับการประเมินระดับนานาชาติ PISA
  ขั้นเตรียมการ 1.ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
- ขออนุมัติโครงการ
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
  ขั้นดำเนินการ 3. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
-จัดทำ เผยแพร่และแนะนำสื่อ/เอกสารการประเมิน PISA แก่ครูและนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย
-กลุ่มสาระบูรณาการแนวทางการประเมิน PISA ในชั้นเรียน
-นักเรียนกลุ่มเป้าหมายทดลองใช้ระบบการประเมิน PISA
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- ประสานงานระหว่างคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายบริหาร เพื่อให้กิจกรรมดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  ขั้นสรุป 5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
-ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมทุกกิจกรรม
-จัดทำรายงานผลการดำเนินกิจกรรม
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- ตรวจสอบและรายงานการจัดกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 2000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/11/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวปานรวี ภูศรี
นางสาวพิมพ์พิชชา เจี่ยประเสริฐ
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมค่ายส่งเสริมวิชาการ ระดับชั้น ม.6
  ขั้นเตรียมการ 1.ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
- ขออนุมัติโครงการ
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
  ขั้นดำเนินการ 3. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
-บันทึกขอดำเนินกิจกรรม
-จัดจ้างวิทยากร
-จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง
-จัดทำเอกสารประกอบการอบรม
-จัดค่ายส่งเสริมวิชาการ ม.6
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- ประสานงานระหว่างคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายบริหาร เพื่อให้กิจกรรมดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  ขั้นสรุป 5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
-ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมทุกกิจกรรม
-จัดทำรายงานผลการดำเนินกิจกรรม
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- ตรวจสอบและรายงานการจัดกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 36000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/11/2567     ถึงวันที่ 30/11/2567
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวปานรวี ภูศรี
    กิจกรรมที่ 3    กิจกรรมการเรียนซ้ำรายวิชา
  ขั้นเตรียมการ 1.ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
- ขออนุมัติโครงการ
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
  ขั้นดำเนินการ 3. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
-บันทึกขอดำเนินกิจกรรม
-จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง
-จัดเตรียมเอกสารลงทะเบียนเรียนซ้ำ
-จัดการประชุมผู้ปกครองและลงทะเบียนเรียนซ้ำ(ภาคเรียนละ 1 ครั้ง)
-จัดทำแฟ้มเอกสารเรียนซ้ำสำหรับครู
-ดำเนินกิจกรรมการเรียนซ้ำ -รวบรวมผลการเรียนซ้ำ
-สรุปและรายงานผลการเรียนซ้ำ
-จัดการเรียนซ้ำภาคฤดูร้อน
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- ประสานงานระหว่างคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายบริหาร เพื่อให้กิจกรรมดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  ขั้นสรุป 5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
-ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมทุกกิจกรรม
-จัดทำรายงานผลการดำเนินกิจกรรม
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- ตรวจสอบและรายงานการจัดกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 1200 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/11/2567     ถึงวันที่ 31/5/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวปานรวี ภูศรี
    กิจกรรมที่ 4    กิจกรรมการเตรียมพร้อมการทดสอบระดับชาติโอเน็ต
  ขั้นเตรียมการ 1.ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
- ขออนุมัติโครงการ
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
  ขั้นดำเนินการ 3. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
-บันทึกขอดำเนินกิจกรรม
-จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง
-จัดเตรียมอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนที่เข้าสอบโอเน็ต
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- ประสานงานระหว่างคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายบริหาร เพื่อให้กิจกรรมดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  ขั้นสรุป 5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
-ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมทุกกิจกรรม
-จัดทำรายงานผลการดำเนินกิจกรรม
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- ตรวจสอบและรายงานการจัดกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 4860 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/1/2568     ถึงวันที่ 31/3/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวปานรวี ภูศรี

   รวม 4 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 44,060.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 44,060.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ครูผู้สอนภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ ระดับชั้น ม.1-ม.3
ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาเป็นไปตามค่าเป้าหมาย
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
8.1 ปัจจัยความเสี่ยง
8.1.1 การดำเนินงานโครงการไม่เป็นไปตามระยะเวลาที่โครงการกำหนด
8.1.2 การบริหารจัดการงบประมาณไม่เป็นไปตามคำชี้แจงการใช้งบประมาณ
8.2 แนวทางการบริหารความเสี่ยง
8.2.1 จัดทำปฏิทินการดำเนินงานโครงการให้เป็นไปตามระยะเวลาที่โครงการกำหนด
8.2.2 การบริหารจัดการงบประมาณควรใช้การถัวจ่ายรวมกับกิจกรรมอื่นๆในโครงการ

 

 

รหัสโครงการ 1-15-6
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชื่อโครงการ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 4. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา
ข้อที่ 6. การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 6. จัดการศึกษาแบบเรียนรวม
ข้อที่ 7. จัดการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 1. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและจัดการเรียนรู้
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 4. ส่งเสริมหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 4. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายอรรถพล ศรัทธาผล

1. หลักการและเหตุผล

          การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มุ่งเน้นพัฒนาทักษะ ความสามารถพิเศษของผู้เรียนทางด้าน คณิตศาสตร์ เตรียมความพร้อม นักเรียนให้มีทักษะที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 และเตรียมความพร้อมในการเข้าแข่งขันใน กิจกรรมต่างๆทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน โดยการส่ง เสริมให้นักเรียนจัดนิทรรศการวันวิทยาศาสตร์และวันวิชาการ เข้าร่วมการแข่งขัน อัฉริยภาพและเกมทางคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระคณิตศาสตร์จึงได้จัดทำโครงการ การ จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้จัดทำโครงการการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญขึ้นโดยน้อมนำ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- เป็นเลิศวิชาการ
- -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมหาความรู้ด้วยตนเองจากนิทรรศการคณิตศาสตร์วันวิชาการและวันวิทยาศาสตร์ แหล่งเรียนรู้และสื่อต่างๆ รอบตัว
2. เพื่อแข่งขันทักษะทางวิชาการด้านคณิตศาสตร์
3. เพื่อฝึกให้นักเรียนได้ร่วมกันคิดอย่างมีระบบ คิดอย่างมีเหตุผลตามหลักคณิตศาสตร์

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนร้อยละ 80 เข้าร่วมกิจกรรมคณิตศาสตร์วันวิชาการและสัปดาห์วิทยาศาสตร์ และได้รับความรู้เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
  วิธีการประเมิน
    ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรมคณิตศาสตร์วันวิชาการและสัปดาห์วิทยาศาสตร์
  เครื่องมือ
    แบบลงทะเบียน
  เชิงคุณภาพ
    1.นักเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความพึงพอใจต่อ การจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ในวันวิชาการและสัปดาห์วิทยาศาสตร์ อยู่ในระดับดีเยี่ยม
  วิธีการประเมิน
    นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมทำแบบประเมินความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    แบบประเมินความพึงพอใจ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2567          ถึงวันที่ : 1/10/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมนิทรรศการคณิตศาสตร์วันวิชาการ และวันวิทยาศาสตร์
  ขั้นเตรียมการ 1. ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1) - จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินโครงการนิทรรศการวันวิทยาศาสตร์และวันวิชาการ เพื่อวิเคราะห์โครงการและกำหนดทิศทางการดำเนินงาน 2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2) - จัดทำคำสั่งและแต่งตั้งผู้รับผิดชอบกิจกรรมคณิตศาสตร์นิทรรศการวันวิทยาศาสตร์และวันวิชาการ
  ขั้นดำเนินการ 3. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1) - คณะกรรมการดำเนินกิจกรรมตามแผนที่วางไว้ 4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2) - มีการประสานงานร่วมกันระหว่างคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายบริหาร เพื่อให้กิจกรรมคณิตศาสตร์นิทรรศการวันวิทยาศาสตร์และวันวิชาการ ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  ขั้นสรุป 5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1) - ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมคณิตศาสตร์นิทรรศการวันวิทยาศาสตร์และวันวิชาการ 6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2) - สรุป รายงานผล ปรับปรุง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อนำผลการประเมินมาปรับปรุงกิจกรรมคณิตศาสตร์นิทรรศการวันวิทยาศาสตร์และวันวิชาการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 6000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/1/2568     ถึงวันที่ 30/3/2568
  ผู้รับผิดชอบ นายอรรถพล ศรัทธาผล

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 6,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 6,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนมีเวทีแสดงความรู้ ผลงานและความสามารถด้านคณิตศาสตร์ 2. นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนคณิตศาสตร์ 3. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทางคณิตศาสตร์สูงขึ้น
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 1-01-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานจัดการเรียนการสอน
ชื่อโครงการ การพัฒนาสื่อและแหล่งเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ -
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 3. ปรับกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้ทันสมัยและหลากหลาย
ข้อที่ 10. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรูที่เอื้อต่อการเรียนรู้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 3. ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูสร้างและพัฒนางานวิจัย และนวัตกรรม ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 2. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนทุกคน
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 2. ส่งเสริมคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายนรุตม์ รัชชประภาพรกุล

1. หลักการและเหตุผล

          

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมุ่งพัฒนาทักษะความสามารถพิเศษของผู้เรียนทางด้าน คณิตศาสตร์ และเตรียม ความพร้อม ในการ เข้า แข่งขันในกิจกรรมต่างๆทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ทั้งสื่อการสอนและ แหล่งเรียนรู้ ได้แก่ ห้องปฏิบัติการ คณิตศาสตร์และคลินิก คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ควรมีความพร้อมในการใช้งานอยู่ เสมอเพื่อให้ นักเรียน แสดงความ สามารถพิเศษของผู้เรียนทาง ด้าน คณิตศาสตร์ได้อย่างเต็มที่ ประกอบด้วยกิจกรรม 1 กิจกรรม คือ 1. กิจกรรมการพัฒนาสื่อ และแหล่งเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ (ห้องปฏิบัติ การคณิตศาสตร์และคลินิกคณิตศาสตร์)


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้ครูมีเครื่องมือและสื่อการสอนพร้อมจะพัฒนาและนำสื่อนวัตกรรมหลากหลายรูปแบบมาดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
2. เพื่อให้ผู้เรียนมีสื่อนวัตกรรมทางคณิตศาสตร์

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1.ผู้เรียนอย่างน้อยร้อยละ 95 มีสื่อ นวัตกรรมทางคณิตศาสตร์
2.เพื่อให้มีวัสดุ อุปกรณืในการเรียนการสอนอย่างเพียงพอกับครูทุกคนในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์
  วิธีการประเมิน
    การสังเกต
  เครื่องมือ
    แบบสังเกต
  เชิงคุณภาพ
    1. แบบประเมินโครงการอยู่ในเกณฑ์ดี ร้อยละ 80
2. มีความพึงพอใจต่อบรรยากาศสิ่งแวดล้อมและสื่อที่ดีหลากหลาย อยู่ในระดับดีเยี่ยม
  วิธีการประเมิน
    การประเมินความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    แบบสอบถามความพึงพอใจ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 17/10/2567          ถึงวันที่ : 17/10/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    พัฒนาสื่อและแหล่งเรียนรู้
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- จัดทำโครงการ
- เสนอกิจกรรมเพื่ออนุมัติ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง และออกคำสั่งการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประชุมเชิงปฏิบิติการ จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2568
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปรายงานผลการดำเนินงาน ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 15000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 17/10/2567     ถึงวันที่ 16/11/2567
  ผู้รับผิดชอบ นายนรุตม์ รัชชประภาพรกุล

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 15,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 15,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผู้เรียนมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
2.ครูได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ

 

 

รหัสโครงการ 1-28-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานการประเมินผลการดำเนินงานวิชาการ
ชื่อโครงการ ประเมินการจัดโครงการหรือกิจกรรมของกลุ่มบริหารงานวิชาการ
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ -
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 4. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 6. ส่งเสริมกระบวนการการบริหารจัดการสถานศึกษาด้วยระบบคุณภาพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 4. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายมนตรี แต่งจันทร์

1. หลักการและเหตุผล

           ในการดำเนินโครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ จำเป็นต้องมีการประเมินเพื่อให้ทราบผลการดำเนินการว่าเป็นไปตามวัตถุประ สงค์ที่ตัั้งไว้ หรือไม่ มีความคุ้มค่าต่อการตัดินใจในการดำเนินการมากน้อยเพียงใด รวมถึงการศึกษาว่าในการดำเนินการมี ปัญหาที่ต้อง ปรับปรุงเปลี่ยนแปลง หรือแก้ไขในเรื่องใดบ้าง จึงต้องมีการดำเนินการประเมินโครงการ/กิจกรรม ในการดำเนิน โครงการ/กิจกรรม ต่าง ๆ มีการตั้งวัตถุประสงค์ ระบุเกณฑ์มาตรฐานสำหรับวัดความสำเร็จ พิจารณาและอธิบายถึงระดับความ สำเร็จ และเสนอแนะ สำหรับโครงการ เพื่อให้โครงการหรือกิจกรรมเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลจำเป็นต้องมีการประเมิน ผลการดำเนินโครงการ หรือกิจกรรมเพื่อนำผลการประเมินไปใช้ในการตัดสินใจเกี่ยวกับการปรับปรุงโครงการหรือกิจกรรมใน อนาคต
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - ร่วมรับผิดชอบสังคมโลก
-
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

เพื่อนำผลการประเมินโครงการหรือกิจกรรมไปใช้ในการตัดสินใจเกี่ยวกับการปรับปรุงโครงการหรือกิจกรรมในอนาคต

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    กลุ่มงานบริหารวิชาการได้รับการประเมินโครงการหรือกิจกรรมที่มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการการประเมินผลการดำเนินงาน ร้อยละ 100
  วิธีการประเมิน
    รายงานสรุปความพึงพอใจในการประเมินโครงการต่อคณะผู้บริหาร
  เครื่องมือ
    สรุปความพึงพอใจในการประเมินโครงการ
  เชิงคุณภาพ
    กลุ่มงานบริหารวิชาการนำผลการประเมินโครงการหรือกิจกรรมไปใช้ในการตัดสินใจเกี่ยวกับการปรับปรุงโครงการหรือกิจกรรมในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  วิธีการประเมิน
    รายงานผลการดำเนินการโครงการ
  เครื่องมือ
    แบบสรุปผลการดำเนินการโครงการ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2567          ถึงวันที่ : 30/9/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    ประเมินการจัดโครงการหรือกิจกรรมของกลุ่มงานบริหารวิชาการ
  ขั้นเตรียมการ T1-Team management to framework
- การจัดการประชุมการวางแผนงานการดำเนินโครงการประเมินการจัดโครงการหรือกิจกรรมของกลุ่มงานบริหารวิชาการ
- การเขียนแผนงานการดำเนินโครงการประเมินการจัดโครงการหรือกิจกรรมของกลุ่มงานบริหารวิชาการ
- การเสนอแผนงานการดำเนินโครงการประเมินการจัดโครงการหรือกิจกรรมของกลุ่มงานบริหารวิชาการเพื่อขอเสนออนุมัติ
- การบันทึกการประชุมการวางแผนงานการดำเนินโครงการประเมินการจัดโครงการหรือกิจกรรมของกลุ่มงานบริหารวิชาการ
T2-Tabulation to organization
- การประชุมการดำเนินงานตามแผนการดำเนินโครงการต่าง ๆ ในกลุ่มงานบริหารวิชาการ เพื่อกำหนดภาระงาน หน้าที่ ผู้รับผิดชอบ และแต่งตั้งคำสั่ง
- การแต่งตั้งคำสั่งการประเมินการจัดโครงการหรือกิจกรรมของกลุ่มงานบริหารวิชาการ
  ขั้นดำเนินการ M1-Management to command
- การจัดทำแบบประเมินความคิดเห็นเเละความพึงพอใจในการดำเนินโครงการหรือกิจกรรมของกลุ่มงานบริหารวิชาการตามคำสั่งที่ได้รับมอบหมาย โดยวิธีประเมินแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale)
M2-Making a correlation
- การเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เข้าร่วมโครงการหรือกิจกรรมโดยใช้เครื่องมือ Application Google form
  ขั้นสรุป V1-Validity to evaluation
- การวิเคราะห์ผลการดำเนินโครงการหรือกิจกรรมโดยใช้เครื่องมือ SPSS, Microsoft excel
V2-Variation from supervising
- การบันทึกข้อความสรุปผลการดำเนินโครงการหรือกิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมาย นำเสนอต่อผู้บริหารโรงเรียนทราบและพิจารณา
- การนำผลสรุปการดำเนินโครงการหรือกิจกรรมนำเสนอต่อผู้ดำเนินโครงการหรือกิจกรรมเพื่อใช้ในการพิจารณาโครงการต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นายมนตรี แต่งจันทร์

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของแต่ละโครงการ
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
- โครงการหรือกิจกรรมของกลุ่มงานบริหารวิชาการได้รับการประเมินครบทุกกิจกรรมที่มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน
- ได้แนวทางการตัดสินใจการดำเนินโครงการหรือกิจกรรมของกลุ่มงานบริงานวิชาการต่อไป
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
ความเสี่ยงด้านเทคโนโลยี : เนื่องจากในการประเมินผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม มีการใช้ google application ในการประเมินผล ทำให้ผู้ได้รับการประเมินอาจมีความไม่พร้อมในด้านเทคโนโลยี ทำให้ผลการประเมินอาจเกิดความคลาดเคลื่อนได้

 

 

รหัสโครงการ 1-15-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชื่อโครงการ พัฒนาผู้เรียนคิดเป็นทำเป็น
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 3. ปรับกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้ทันสมัยและหลากหลาย
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 2. ความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 3. การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 5. ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 2. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนทุกคน
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายมนตรี แต่งจันทร์

1. หลักการและเหตุผล

           ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 22 การจัดการศึกษา ต้อง ยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนสำคัญที่สุดกระบวนการจัดการศึกษา ต้อง ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ การจัดการเรียนการสอนตาม มาตรา 22 พระราช บัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 เป็นการจัดการศึกษาต้องยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ ซึ่งผู้เรียน แต่ละคนมีความสามารถและความถนัดหรือความสนใจที่แตกต่างกัน ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้การ เปิดโอกาส ให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนและพัฒนาตนเองในด้านที่ถนัดหรือมีความสามารถ เพื่อเพิ่มพูนศักยภาพของตนเอง

การดำเนินชีวิตของมนุษย์ ตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา มนุษย์ต้องรู้จักเอาตัวรอด อาศัยการ คิด การค้นพบ การประดิษฐ์สิ่งแปลกใหม่ด้วยความรู้ในศาสตร์ต่างๆเพื่ออำนวยความ สะดวก และดำรงชีวิตอยู่ใน สังคมได้อย่าง มีความสุข วิชาคณิตศาสตร์เป็นพื้นฐานสำคัญของศาสตร์ต่าง ๆ แต่ปัจจุบันคนส่วน ใหญ่มักจะมองไม่เห็นถึงความสำคัญของ วิชานี้เพราะเป็นวิชาที่เป็นนามธรรม เข้าใจได้ยากจนทำให้มีเจตคติที่ไม่ดีต่อวิชา คณิตศาสตร์และทำให้ขาดทักษะทาง คณิตศาสตร์ที่ จำเป็นในการพัฒนา ศาสตร์ต่าง ๆ ไปด้วย

เนื่องด้วย การจัดค่ายคณิตศาสตร์ในปีการศึกษา ที่ผ่านมา นักเรียนมีความพึงพอใจกับ การจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ในระดับ เหมาะสมมากที่สุด ในปีการศึกษานี้ทางกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์จึงได้วางแผน ในจัดกิจกรรม ค่ายคณิตศาสตร์ขึ้น เพื่อ พัฒนาศักยภาพของผู้เรียน มุ่งหวังให้ผู้เรียนมีความ คิดสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ และเรียนรู้ด้วย ตนเอง เป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ให้ นักเรียนได้นำความรู้ในวิชาคณิตศาสตร์ที่ได้รับใน ห้องเรียนมาประยุกต์ใช้ในการทำ กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ เสริมสร้างทักษะ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และสร้างเจตคติที่ดี ต่อวิชาคณิตศาสตร์ โดยน้อมนำ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมาเป็น แนวทางในการ ดำเนินงาน


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- เป็นเลิศวิชาการ
- -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อส่งเสริมนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ให้มีความรู้เกี่ยวกับกิจกรรม STEM ศึกษา
2. เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนมีทักษะกระบวนการทางด้านคณิตศาสตร์เพิ่มเติมจากในบทเรียน

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. ส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับกิจกรรม STEM ศึกษา ให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 400 คน เวลา 2 วัน
2. ปรับความรู้และทักษะกระบวนการทางด้านคณิตศาสตร์เพิ่มเติมจากในบทเรียน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 400 คน เวลา 2 วัน
  วิธีการประเมิน
    การตรวจสมุดค่ายคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
  เครื่องมือ
    สมุดค่ายคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เกี่ยวกับกิจกรรม STEM ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
2. นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และทักษะกระบวนการทางด้านคณิตศาสตร์ ผ่านเกณฑ์ตามหลักสูตร ร้อยละ 90
  วิธีการประเมิน
    การสังเกต การตรวจสอบการเข้าร่วมกิจกรรม
  เครื่องมือ
    แบบลงทะเบียน แบบสังเกตการเข้าร่วมกิจกรรม และสมุดค่ายคณิตศาสตร์

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/5/2568          ถึงวันที่ : 30/7/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    ค่ายคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
- ขออนุมัติโครงการ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินกิจกรรม
- ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
- บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรมและขออนุมัติออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินกิจกรรม
- ดำเนินการจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์
ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- ประชุมครูในกลุ่มสาระฯ เพื่อวางแผนงาน
- ติดต่อประสานงานสำรวจสถานที่ตามความเหมาะสม
- ประสานงานวิทยากรภายนอก
- จัดเตรียมเอกสาร วัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- ตรวจสอบรายงานกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์
- ประเมินผลและบันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 41850 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 17/10/2567     ถึงวันที่ 16/11/2567
  ผู้รับผิดชอบ นายมนตรี แต่งจันทร์

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 41,850.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 41,850.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มมากขึ้น
2. นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มมากขึ้น
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 1-15-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชื่อโครงการ พัฒนาผู้เรียนให้มีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
ข้อที่ 4. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 7. จัดการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ
ข้อที่ 9. เพิ่มโอกาสและสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 1. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ
ข้อที่ 2. ความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 5. ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 3. ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายณัฐพล กลีบสัตบุตร

1. หลักการและเหตุผล

          ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมี ความสามารถเรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ได้วางแผนในการจัดโครงการ พัฒนาผู้เรียนให้มีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง อีกทั้งยังเป็นการเตรียมความพร้อมให้กับนักเรียนเพื่อแข่งขันในการแข่งขัน รายการต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนที่เกี่ยวข้องกับทางกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ซึ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะความสามารถพิเศษทางคณิตศาสตร์ โดยใช้สื่อต่าง ๆ เช่น การอบรมโปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP) และฝึกฝนเกมกีฬาทางคณิตศาสตร์ (A-math, Sudoku, GSP, โครงงานคณิตศาสตร์, คิดเลขเร็ว, อัฉริยภาพคณิตศาสตร์) เป็นต้น สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และแนวนโยบายของโรงเรียนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ที่ส่งเสริมคุณภาพนักเรียนตามมาตรฐานสากล ซึ่งในการจัดโครงการพัฒนาผู้เรียนให้มีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ในปีการ ศึกษาที่ผ่านมา นักเรียนมีความพึงพอใจกับการจัดโครงการในระดับมากที่สุด ในปีการศึกษานี้ทางกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จึงได้วางแผน เพื่อดำเนินการโครงการพัฒนาผู้เรียนให้มีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่องขึ้น โดยน้อมนำหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงของพระบาท สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการ ดำเนินงาน


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- เป็นเลิศวิชาการ
- -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้ผู้เรียนได้แสดงความรู้ความสามารถเกี่ยวกับทักษะทางคณิตศาสตร์
2. เพื่อให้ผู้เรียนได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันอันจะนำไปสู่การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. นำนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันทักษะทางคณิตศาสตร์และเกมกีฬาทางคณิตศาสตร์ กับหน่วยงานภายนอก จำนวนอย่างน้อย 5 รายการ
  วิธีการประเมิน
    รายงานผลการเข้าร่วมกิจกรรม
  เครื่องมือ
    แบบรายงานหรือบันทึกข้อความภายใน
  เชิงคุณภาพ
    1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความพึงพอใจในระดับดีขึ้นไป
  วิธีการประเมิน
    ประเมินความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    แบบประเมินความพึงพอใจ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2567          ถึงวันที่ : 31/8/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การฝึกฝนทักษะทางคณิตศาสตร์และเกมกีฬาทางคณิตศาสตร์ และส่งนักเรียนแข่งขันหน่วยงานภายนอก
  ขั้นเตรียมการ การวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
1. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
2. ขออนุมัติโครงการ
3. ประชุมหารือกำหนดแนวทางในการดำเนินงานร่วมกัน
การกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
1. แต่งตั้งมอบหมายคณะกรรมการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ การปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
1. คณะกรรมการดำเนินงานฝึกซ้อมนักเรียน เตรียมการแข่งขัน และนำนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันกับหน่วยงานภายนอกต่อไป
การประสานงาน (M2)
1. คณะกรรมการดำเนินงานติดต่อประสานงานการแข่งขันในแต่ละรายการกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป การประเมินผล (V1)
1. จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจ
2. สรุป/รายงานผลการดำเนินงานของโครงการ
การกำกับติดตาม (V2)
1. บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2567     ถึงวันที่ 31/8/2568
  ผู้รับผิดชอบ 1. นายณัฐพล กลีบสัตบุตร
2. นายมนตรี แต่งจันทร์

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนมีความรู้และทักษะความสามารถพิเศษทางคณิตศาสตร์เพิ่มมากขึ้น
2. นักเรียนได้รับรางวัลและเกิดความภาคภูมิใจจากการแข่งขันทักษะทางคณิตศาสตร์
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 1-25-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน โครงการห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี
ชื่อโครงการ โครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 4. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 3. ปรับกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้ทันสมัยและหลากหลาย
ข้อที่ 7. จัดการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 2. ความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา
ข้อที่ 3. มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
ข้อที่ 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรูที่เอื้อต่อการเรียนรู้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ข้อที่ 2. ส่งเสริมให้นักเรียนและสนับสนุนให้นักเรียนมีทักษะในการประกอบอาชีพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความปลอดภัยจากภัยทุกรูปแบบ
ข้อที่ 2. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนทุกคน
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
ข้อที่ 4. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 1. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
ข้อที่ 4. เป็นพลเมืองที่ดี
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายเกรียงไกร จันหอม

1. หลักการและเหตุผล

          

โครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม เป็น โครงการ ที่ จัด ขึ้นเพื่อพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศ ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างเต็มตาม ศักยภาพมี คุณสมบัติเป็นนักวิจัย ที่ดี และมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ สู่ความเป็นสากล การจัดการเรียนรู้เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ ของโครงการดังกล่าวผู้เรียนจะ ต้องมี ความพร้อม และเข้าใจเป้าหมาย การ เรียนรู้ ดังนั้นการให้ข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อ ทำความ เข้าใจเป้าหมายของการเรียนรู้ กระตุ้น ให้ผู้ เรียนเกิดความรัก และเห็น คุณค่าในการทำงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพื่อ เป็นแนวทางในการเลือก ประกอบอาชีพ ใน อนาคต รวมทั้งเปิดโลก ทัศน์ในการนำความรู้มาพัฒนาบ้าน เมืองจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง โครงการห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์ เป็น โครงการในความร่วมมือ ระหว่าง สำนักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) สำนักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา(สกอ.) สำนักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และสถาบันส่งเสริม การสอนวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี(สสวท.) เพื่อเป็นการขยาย ฐานการ พัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของ ประเทศ โดยใช้หลักสูตรการ เรียนการสอน พิเศษ นักเรียนได้รับการพัฒนาและส่งเสริมกิจกรรมทางวิชาการเพิ่ม พิเศษ เช่น การเข้า ค่าย วิทยาศาสตร์ ศึกษาดูงาน / ทัศนศึกษา การได้รับการฝึกงานกับนักวิจัยในมหาวิทยาลัยหรือในหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและ เอกชน ได้รับการส่งเสริมการ ทำโครง งาน วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี พร้อมทั้งได้รับการส่งเสริม สนับสนุนให้ไปนำ เสนอผลงาน ทาง วิชาการในระดับจังหวัด ระดับภาคและระดับประเทศ อีกทั้งยังเป็นการเร่งรัดพัฒนาครูให้มีทักษะ และวิธีการสอนที ทันสมัยโดย ใช้ เทคโนโลยีใหม่ ๆ สามารถ สอนให้นักเรียนเกิดการคิดวิเคราะห์อย่าเป็นระบบ รู้จักการบริหารจัดการที่ เหมาะสม รู้จัก ใช้วิธี การบูรณาการ ลดการท่องจำที่สำคัญคือ การให้นักเรียนตระหนัก รู้สึกรัก เห็นคุณค่า และความสำคัญของการเรียน วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ เทคโนโลยีเกิดความมุ่งหวัง ที่จะเป็นนักวิทยาศาสตร์เป็นอาจารย์หรือนักวิจัยเพื่อเป็นกำลัง สำคัญของ ชาติต่อ ไป

โดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของ พระบาท สมเด็จพระบรมชน กาธิเบศร มหา ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรมาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- เป็นเลิศวิชาการ
- ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
- -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมความสามารถของนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ให้มีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมีสติ
2. เพื่อพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมความสามารถของนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ให้มีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
3. เพื่อให้นักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ได้เพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์
4. เพื่อให้ผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างโรงเรียนในกลุ่มภาคกลางตอนล่าง เข้าร่วมกิจกรรมปฐมนิเทศระหว่างโรงเรียนในกลุ่มภาคกลางตอนล่าง เข้าร่วมกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ในประเทศ
5. เพื่อสนับสนุนและพัฒนาขีดความสามารถและศักยภาพของนักเรียนที่มีความสามารถทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมให้บรรลุตามศักยภาพของผู้เรียนจากการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงกับแหล่งเรียนรู้
6. เพื่อให้นักเรียนมีทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ฝึกการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ภาค สนาม
7. เพื่อส่งเสริมและปลูกฝังให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์เทคโนโลนีและสิ่งแวดล้อมและสร้างแรงจูงใจในการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในระดับที่สูงขึ้นไป
8. เพื่อส่งเสริมศักยภาพและพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
9. เพื่อให้นักเรียนสามารถเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ตามโจทย์ที่กำหนดได้
10. เพื่อให้นักเรียนสามารถคิดวิเคราะห์ปัญหา สังเคราะห์ รวบรวมข้อมูล และคิดสร้างสรรค์เพื่อเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์เพื่อแก้ปัญหาได้

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. ร้อยละ 90 ของผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมีสติ
2. ร้อยละ 90 ของผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
3. ร้อยละ 90 ของผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์
4. ร้อยละ 90 ของผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างโรงเรียนนำเสนอผลงาน โครงงาน แข่งขันกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ในระดับโรงเรียน
5. ร้อยละ 90 ของผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจ ทักษะปฏิบัติการ และประสบการณ์ตรงจากการศึกษาแหล่งเรียนรู้
6. ร้อยละ90 ของผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่เข้าร่วมกิจกรรมมีทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์
7. ร้อยละ90 ของผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่เข้าร่วมกิจกรรมมีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลนีและสิ่งแวดล้อม
8. ร้อยละ 65 ของผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณอยู่ในระดับดีขึ้นไป
9. ร้อยละ 85 ของผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อยู่ในระดับดีขึ้นไป
10. ร้อยละ 90 ของผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯสามารถคิดแก้ปัญหา การวางแผน รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ได้
  วิธีการประเมิน
    1. ตรวจแบบทดสอบ
2. ตรวจแบบประเมินเจตคติ
  เครื่องมือ
    1. แบบทดสอบ
2. แบบประเมินเจตคติ
  เชิงคุณภาพ
    1. ผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหา อยู่ในระดับดีขึ้นไป
2. ผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดีขึ้น
3. ผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มีความรู้ความเข้าใจภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์มากขึ้น
4. ผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มีทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์มากขึ้น
5. ผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์เทคโนโลนีและสิ่งแวดล้อมและสร้างแรงจูงใจในการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในระดับดีขึ้นไป
ุ6. นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับกระบวนการคิดแก้ปัญหา การวางแผน รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์
7. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด
  วิธีการประเมิน
    1. ตรวจแบบทดสอบ 2. ตรวจแบบประเมินเจตคติ
  เครื่องมือ
    1. ตรวจแบบทดสอบ 2. ตรวจแบบประเมินเจตคติ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/11/2567          ถึงวันที่ : 15/9/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมแข่งขันฟิสิกส์สัประยุทธ์
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ(T1)
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ (T1)
3. จัดทำคำสั่งผู้รับผิดชอบในการดำเนินโครงการ(T2)
  ขั้นดำเนินการ 1. ขออนุญาตดำเนินกิจกรรมแข่งขันฟิสิกส์สัประยุทธ์(M1)
2. ติดต่อประสานงานกับบุคลากรที่เกี่ยวข้องดำเนินกิจกรรมแข่งขันฟิสิกส์สัประยุทธ์(M2)
  ขั้นสรุป 1. ประเมินความพึงพอใจ(V1)
2. รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม(V2)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 25000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 6/10/2567     ถึงวันที่ 5/11/2567
  ผู้รับผิดชอบ ครูจิรนันท์ ฮวยแหยม
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมสานสัมพันธ์พี่รักน้องนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ(T1)
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ(T1)
3. จัดทำคำสั่งผู้รับผิดชอบในการดำเนินโครงการ(T2)
  ขั้นดำเนินการ 1. ดำเนินการจัดทำตารางการปฏิบัติกิจกรรมสานสัมพันธ์พี่รักน้องนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม(M1)
2.ติดต่อประสานงานกับบุคลากรที่เกี่ยวข้อง และดำเนินกิจกรรมสานสัมพันธ์พี่รักน้องนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม(M2)
  ขั้นสรุป 1. ประเมินความพึงพอใจ(V1)
2. รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม(V2)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 18200 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 6/6/2568     ถึงวันที่ 15/6/2568
  ผู้รับผิดชอบ ครูเกรียงไกร จันหอม
    กิจกรรมที่ 3    กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์เชิงปฏิบัติการแบบบูรณาการของนักเรียนห้องเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ(T1) 2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ (T1) 3. จัดทำคำสั่งผู้รับผิดชอบในการดำเนินโครงการ(T2)
  ขั้นดำเนินการ 1. ดำเนินการจัดทำตารางกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์เชิงปฏิบัติการแบบบูรณาการของนักเรียนห้องเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น(M1) 2. ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง/ติดต่อวิทยากร(M2) 3. ดำเนินการจัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์เชิงปฏิบัติการแบบบูรณาการของนักเรียนห้องเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น(M2)
  ขั้นสรุป 1. ประเมินความพึงพอใจ(V1) 2. รายงานผลการดำเนินการจัดค่าย(V2)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 330480 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดชลบุรี
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/12/2567     ถึงวันที่ 30/1/2568
  ผู้รับผิดชอบ ครูเกรียงไกร จันหอม
    กิจกรรมที่ 4    กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์เชิงปฏิบัติการแบบบูรณาการของนักเรียนห้องเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ(T1)
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ (T1)
3. จัดทำคำสั่งผู้รับผิดชอบในการดำเนินโครงการ(T2)
  ขั้นดำเนินการ 1. ดำเนินการจัดทำตารางกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์เชิงปฏิบัติการแบบบูรณาการของนักเรียนห้องเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย(M1)
2. ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง/ติดต่อวิทยากร(M2)
3. ดำเนินการจัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์เชิงปฏิบัติการแบบบูรณาการของนักเรียนห้องเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย(M2)
  ขั้นสรุป 1. ประเมินความพึงพอใจ(V1)
2. รายงานผลการดำเนินการจัดค่าย(V2)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 275680 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดชลบุรี
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/12/2567     ถึงวันที่ 30/1/2568
  ผู้รับผิดชอบ ครูเกรียงไกร จันหอม
    กิจกรรมที่ 5    กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี และชีววิทยานักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ(T1)
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ (T1)
3. จัดทำคำสั่งผู้รับผิดชอบในการดำเนินโครงการ(T2)
  ขั้นดำเนินการ 1. ดำเนินการจัดทำตารางการอบรมเชิงปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี และชีววิทยา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (M1)
2. ประสานงานกับทีมวิทยากร เพื่อเตรียมพร้อมและดำเนินการอบรมเชิงปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี และชีววิทยา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (M2)
  ขั้นสรุป 1. ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถาม(V1)
2. รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม(V2)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 45840 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/9/2568     ถึงวันที่ 3/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ ครูเกรียงไกร จันหอม
    กิจกรรมที่ 6    กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ด้วยภาษาอังกฤษเสริมนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ(T1)
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง(T1)
3. จัดทำคำสั่งผู้รับผิดชอบในการดำเนินโครงการ(T2)
  ขั้นดำเนินการ 1. ดำเนินการจัดทำตารางค่ายวิทยาศาสตร์ด้วยภาษาอังกฤษเสริมนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (M1)
2. ประสานงานกับทีมวิทยากร เพื่อเตรียมพร้อมและดำเนินการจัดค่ายวิทยาศาสตร์ด้วยภาษาอังกฤษเสริมนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น(M2)
  ขั้นสรุป 1. ประเมินความพึงพอใจ(V1)
2. รายงานผลการดำเนินการจัดค่าย(V2)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 23080 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/8/2568     ถึงวันที่ 30/8/2568
  ผู้รับผิดชอบ ครูเกรียงไกร จันหอม
    กิจกรรมที่ 7    กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ด้วยภาษาอังกฤษเสริมนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ(T1)
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง(T1)
3. จัดทำคำสั่งผู้รับผิดชอบในการดำเนินโครงการ(T2)
  ขั้นดำเนินการ 1. ดำเนินการจัดทำตารางค่ายวิทยาศาสตร์ด้วยภาษาอังกฤษเสริมนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (M1)
2. ประสานงานกับทีมวิทยากร เพื่อเตรียมพร้อมและดำเนินการจัดค่ายวิทยาศาสตร์ด้วยภาษาอังกฤษเสริมนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย(M2)
  ขั้นสรุป 1. ประเมินความพึงพอใจ(V1)
2. รายงานผลการดำเนินการจัดค่าย(V2)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 22800 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/8/2568     ถึงวันที่ 30/8/2568
  ผู้รับผิดชอบ ครูเกรียงไกร จันหอม
    กิจกรรมที่ 8    กิจกรรมเตรียมความพร้อมนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ(T1) 2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ (T1) 3. จัดทำคำสั่งผู้รับผิดชอบในการดำเนินโครงการ(T2)
  ขั้นดำเนินการ 1. ขออนุญาตดำเนินการจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมนักเรียนชั้นมัธยมศึกาาปีที่ 4 ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม(M1) 2. ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง(M2) 3. ดำเนินการจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมนักเรียนชั้นมัธยมศึกาาปีที่ 4 ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม (M2)
  ขั้นสรุป 1. ประเมินความพึงพอใจ(V1) 2. รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม(V2)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 3000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 6/6/2568     ถึงวันที่ 30/6/2568
  ผู้รับผิดชอบ ครูเกรียงไกร จันหอม
    กิจกรรมที่ 9    กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิชาการของนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ(T1)
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ (T1)
3. จัดทำคำสั่งผู้รับผิดชอบในการดำเนินโครงการ(T2)
  ขั้นดำเนินการ 1. ขออนุญาตดำเนินการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิชาการของนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม(M1)
2. ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง(M2)
3. ดำเนินการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิชาการของนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม(M2)
  ขั้นสรุป 1. ประเมินความพึงพอใจ(V1)
2. รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม(V2)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 9200 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/8/2568     ถึงวันที่ 5/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ ครูเกรียงไกร จันหอม
    กิจกรรมที่ 10    กิจกรรมการอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการใช้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP) เพื่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์
  ขั้นเตรียมการ 1.ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
- ขออนุมัติโครงการ
2.ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
- ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
  ขั้นดำเนินการ 3.ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
- จัดเตรียมอุปกรณ์ เอกสารประกอบการอบรม
- จัดซื้ออาหาร อาหารว่าง น้ำดื่มสำหรับนักเรียน วิทยากร คณะกรรมการดำเนินงาน
- จัดกิจกรรมการอบรมโปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP)
4.ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
4.1 ประสานงานภายใน
- งานอาคารสถานที่
- งานประชาสัมพันธ์
- งานการเงิน
- งานโสตและทัศนูปกรณ์
4.2 ประสานงานภายนอก
- ขอความอนุเคราะห์วิทยากรภายนอก
- ขอความอนุเคราะห์มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
4.3 ภาพถ่ายกิจกรรม
  ขั้นสรุป 5.ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- แบบสอบถามความพึงพอใจ
- แบบบันทึกผลงานนักเรียน
6.ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- ประเมินผลแบบสอบถามความพึงพอใจ
- สรุป ประเมินผลโครงการ เพื่อปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาโครงการ
- ข้อเสนอแนะจากผู้บริหาร/ผู้รับผิดชอบกิจกรรม/ผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 50000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/7/2568     ถึงวันที่ 30/8/2568
  ผู้รับผิดชอบ นายประณต ฉัฐมะ
    กิจกรรมที่ 11    อบรมเชิงปฏิบัติการทางด้านเทคโนโลยี ม.ต้น
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- ประชุม เตรียมความพร้อม จัดทำเอกสารจัดการอบรม
- จัดหา ติดต่อวิทยากรเพื่อให้การอบรม
- รับสมัครนักเรียนที่สนใจเข้าร่วมอบรมหุ่นยนต์
- จัดหาหุ่นยนต์สำหรับอบรม
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง และออกคำสั่งการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- ดำเนินการอบรมหุ่นยนต์
- แข่งขันการเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประสานงานกับทุกฝ่าย
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลต่อหัวหน้างานห้องเรียนพิเศษ และฝ่ายบริหาร
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 50000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/6/2568     ถึงวันที่ 30/8/2568
  ผู้รับผิดชอบ นายก่อกิจ ธีราโมกข์
    กิจกรรมที่ 12    อบรมเชิงปฏิบัติการทางด้านเทคโนโลยี ม.ปลาย
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) - ประชุม เตรียมความพร้อม จัดทำเอกสารจัดการอบรม - จัดหา ติดต่อวิทยากรเพื่อให้การอบรม - รับสมัครนักเรียนที่สนใจเข้าร่วมอบรมหุ่นยนต์ - จัดหาหุ่นยนต์สำหรับอบรม ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) - ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง และออกคำสั่งการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) - ดำเนินการอบรมหุ่นยนต์ - แข่งขันการเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ ขั้นตอนการประสานงาน(M2) - ประสานงานกับทุกฝ่าย
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) - สรุปรายงานผลการดำเนินงาน ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) - รายงานผลต่อหัวหน้างานห้องเรียนพิเศษ และฝ่ายบริหาร
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 50000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/6/2568     ถึงวันที่ 30/8/2568
  ผู้รับผิดชอบ นายก่อกิจ ธีราโมกข์
    กิจกรรมที่ 13    กิจกรรมจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์และสารเคมีห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(T1) 2. สำรวจตรวจสอบวัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี ทุกห้องปฏิบัติการ(T1) 3. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณในการจัดซื้อ(T1) 4. จัดทำคำสั่งผู้รับผิดชอบในการดำเนินโครงการ(T2)
  ขั้นดำเนินการ 1. ดำเนินการจัดรายการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี(M1) 2. ประสานงานกับฝ่ายพัสดโรงเรียนเพื่อดำเนินการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี(M2) 3. จัดทำทะเบียนการใช้สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ สารเคมี (M2)
  ขั้นสรุป 1. ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ และสารเคมี(V1) 2. รายงานผลการดำเนินกิจกรรม(V2)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 10000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/6/2568     ถึงวันที่ 15/8/2568
  ผู้รับผิดชอบ ครูเกรียงไกร จันหอม

   รวม 13 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 913,280.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 913,280.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มบริหารงานวิชาการ
2.กลุ่มบริหารงานงบประมาณ
3.กลุ่มบริหารงานทั่วไปและกิจการนักเรียน
4.กลุ่มบริหารงานบุคคล
5.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ุ6. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมีสติ
2. ผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
3. ผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มีความรู้ความเข้าใจภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์มากขึ้น
4. ผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างโรงเรียนในกลุ่มภาคกลางตอนล่าง เข้าร่วมกิจกรรมปฐมนิเทศระหว่างโรงเรียนในกลุ่มภาคกลางตอนล่าง เข้าร่วมกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ในประเทศ
5. ผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ไดเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงจากการศึกษาแหล่งเรียนรู้
6. ผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มีทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ฝึกการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ภาคสนาม
7.ผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์เทคโนโลนีและสิ่งแวดล้อมและสร้างแรงจูงใจในการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในระดับที่สูงขึ้นไป
8. นักเรียนมีทักษะการใช้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP) เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มมากขึ้น
9. นักเรียนสามารถเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ตามโจทย์ที่กำหนดได้
10. นักเรียนสามารถเข้าร่วมแข่งขันทักษะทางวิชาการในการแข่งขันหุ่นยนต์รายการต่าง ๆ ได้
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 1-16-15
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 4. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา
ข้อที่ 5. การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 7. จัดการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 2. ความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา
ข้อที่ 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 4. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 2. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนทุกคน
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
ข้อที่ 4. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 1. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
ข้อที่ 4. เป็นพลเมืองที่ดี
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายเกรียงไกร จันหอม

1. หลักการและเหตุผล

          

ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่3 (2553)หมวด 4แนว การจัดการศึกษา มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียน มีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนา ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพในช่วงทศวรรษ ที่ ผ่านมากระ แส ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีในสังคมโลก ส่งผลให้ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็ว มี เทคโนโลยี ใหม่ๆเกิดขึ้นมากมาย เครื่องมือเครื่องใช้ทันสมัย การเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสารไร้พรมแดน นวัตกรรมเทคโนโลยี ส่ง ผลต่อ ความจำเป็น ในการ เปลี่ยนแปลงและปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาของชาติมาโดยตลอด และการจัดการศึกษาในปัจจุบัน มุ่ง จัดการเรียน การ สอน และกิจกรรมที่ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเรียนรู้ของสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ซึ่ง เป็น หัวใจ สำคัญใน การพัฒนา ประเทศ และถือเป็นหน้าที่ที่จะต้องจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนทุกคนสามารถ พัฒนา ตนเองได้เต็มตาม ศักยภาพ ฝึก ให้นักเรียนได้ใช้ทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คาดการณ์ กำหนดเป้า หมาย มี วิจารณญาณ ในการตัดสินใจ และ การแก้ปัญหา มีทักษะการสื่อสาร ตลอดจนทักษะทางสังคม และเพื่อให้ สอดคล้องกับ มาตรฐานการศึกษาขั้น พื้นฐานข้อที่ 5 ที่เน้นผู้ เรียนให้มีความ รู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร เน้นให้ผู้ เรียนมีผลการทดสอบ รวบยอดระดับชาติเฉลี่ยเป็น ไปตามเกณฑ์ที่กำหนด กลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียน ท่ามะกาวิทยาคม ตระหนักถึง ความสำคัญและเล็งเห็นถึง ประโยชน์อันจะ เกิดต่อผู้เรียนและ สถานศึกษา จึงจัดทำ โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ขึ้นมา เพื่อ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1-6 และผลการทดสอบระดับชาติของ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้น มัธยมศึกษา ปีที่ 6 ให้สูงขึ้น

โดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาท สมเด็จพระบรมชน กาธิเบศร มหา ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรมาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน 2


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- เป็นเลิศวิชาการ
- -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนให้สูงขึ้น
2. เพื่อให้นักเรียนและครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีสื่อ วัสดุอุปกรณ์และสารเคมีสำหรับใช้ใน กระบวนการเรียนการสอนเพียงพอกับความต้องการ
3. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในวิทยาศาสตร์ในทุกสาขาวิชา
4. เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
5. เพื่อจัดนิทรรศการแสดงความรู้และผลงาน ความสามารถของนักเรียน ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
6. เพื่อให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. จำนวนผู้เรียนร้อยละ 77 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ในระดับ 2.5 ขึ้นไป
2. นักเรียนและครูร้อยละ 90 มีสื่อ วัสดุอุปกรณ์และสารเคมีสำหรับใช้ในกระบวนการเรียนการสอน
3. นักเรียน ร้อยละ 90 เข้าร่วมชมนิทรรศการวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ ผลงานและความสามารถของนักเรียน
4. นักเรียนร้อยละ 90 มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิทยาศาสตร์
  วิธีการประเมิน
    1. ตรวจแบบทดสอบ
2. ตรวจแบบประเมินเจตคติ
  เครื่องมือ
    1. แบบทดสอบ
2. แบบประเมินเจตคติ
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นเป็นไปตามค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้
2. นักเรียนและครูทุกคน มีสื่อ วัสดุอุปกรณ์และสารเคมีสำหรับใช้ในกระบวนการเรียนการสอน
3. นักเรียนมีความพึงพอในในการเข้าร่วมกิจกรรมนิทรรศการวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติอยู่ในระดับ ดีขึ้นไป
4. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับดีขึ้นไป
  วิธีการประเมิน
    1. ตรวจแบบทดสอบ
2. ตรวจแบบประเมินเจตคติ
  เครื่องมือ
    1. แบบทดสอบ
2. แบบประเมินเจตคติ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/11/2567          ถึงวันที่ : 15/9/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมพัฒนาสื่อและจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(T1)
2. สำรวจตรวจสอบวัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี ทุกห้องปฏิบัติการ(T1)
3. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณในการจัดซื้อ(T1)
4. จัดทำคำสั่งผู้รับผิดชอบในการดำเนินโครงการ(T2)
  ขั้นดำเนินการ 1. ดำเนินการจัดรายการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี(M1)
2. ประสานงานกับฝ่ายพัสดโรงเรียนเพื่อดำเนินการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี(M2)
3. จัดทำทะเบียนการใช้สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ สารเคมี แต่ละห้องปฏิบัติการ(M2)
  ขั้นสรุป 1. ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ และสารเคมี(V1)
2. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายงานผลการจัดการเรียนการสอน ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน(V1)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 140000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/6/2568     ถึงวันที่ 30/6/2568
  ผู้รับผิดชอบ ครูเกรียงไกร จันหอม
    กิจกรรมที่ 2    ประเมินแบบเพิ่มค่า
  ขั้นเตรียมการ 1.ประชุมกลุ่มสาระฯ แจ้งนโยบาย ร่วมกันแลกเปลี่ยน เรียนรู้ เสนอแนะ วิธีการติว และวิธีการสร้างสื่อ นวัตกรรม หลักเกณฑ์การฝึกทักษะทาง วิทยาศาสตร์ (T1)
2.ครูในกลุ่มสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวางแผนจัดทำเอกสารประกอบการประเมิน กำหนดภาระหน้าที่ (T2)
3.หัวหน้ากลุ่มสาระฯ เสนอโครงการ/กิจกรรม
  ขั้นดำเนินการ 1. จัดทำเอกสารประกอบการประเมิน(M1)
2.ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ดำเนินการประเมินแบบเพิ่มค่า(M2)
  ขั้นสรุป 1.ประเมินผลการจัดกิจกรรม (V1)
2. รายงานผลการจัดกิจกรรม(V2)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 10000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/11/2567     ถึงวันที่ 15/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นายเกรียงไกร จันหอม
    กิจกรรมที่ 3    วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ(T1)
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ(T1)
3. จัดทำคำสั่งผู้รับผิดชอบในการดำเนินโครงการ/กิจกรรม(T2)
  ขั้นดำเนินการ 1. ขขออนุญาตดำเนินงานจัดกิจกรรม วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ ประจำปีการศึกษา 2568 (M1)
2. ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง(M2)
3. ดำเนินงานจัดกิจกรรม วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ ประจำปีการศึกษา 2568 (M2)
  ขั้นสรุป 1. ประเมินความพึงพอใจ(V1)
2. รายงานผลการดำเนินกิจกรรม(V2)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 40000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 15/8/2568     ถึงวันที่ 15/8/2568
  ผู้รับผิดชอบ ครูเกรียงไกร จันหอม

   รวม 3 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 190,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 190,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มบริหารงานวิชาการ
2.กลุ่มบริหารงานงบประมาณ
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียนและครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีสื่อ วัสดุอุปกรณ์และสารเคมีสำหรับใช้ใน กระบวนการเรียนการสอนเพียงพอกับความต้องการ
2.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในวิทยาศาสตร์ในทุกสาขาวิชาเพิ่มมากขึ้น
3. นักเรียนมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพิ่มมากขึ้น
4. นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิทยาศาสตร์
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 1-02-5
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
ชื่อโครงการ พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 1. การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ
ข้อที่ 5. การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 1. ปลูกฝังความรักในสถาบันหลักของชาติ และน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติ
ข้อที่ 2. จัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และประชาธิปไตย
ข้อที่ 3. ปรับกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้ทันสมัยและหลากหลาย
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 1. มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด
ข้อที่ 2. ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
ข้อที่ 3. การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
ข้อที่ 4. สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 1. มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน
ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
ข้อที่ 3. ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
ข้อที่ 4. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
ข้อที่ 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ข้อที่ 2. ส่งเสริมให้นักเรียนและสนับสนุนให้นักเรียนมีทักษะในการประกอบอาชีพ
ข้อที่ 4. ส่งเสริมหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 2. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนทุกคน
ข้อที่ 3. ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
ข้อที่ 4. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 1. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
ข้อที่ 4. เป็นพลเมืองที่ดี
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวจิรนันท์ ฮวยแหยม

1. หลักการและเหตุผล

          

หลักสูตรสถานศึกษาเป็นแบบแผน แนวทางหรือข้อกำหนดของการจัดการศึกษา ที่จะพัฒนาให้ ผู้เรียนมีความรู้ มีความสามารถ โดยส่งเสริมให้แต่ละบุคคลพัฒนาไปสู่ศักยภาพสูงสุดของตนรวมถึงระดับขั้นของมวลประสบการณ์ที่ ก่อให้เกิดการเรียนรู้สะสม ซึ่งจะ ช่วยให้ผู้เรียนนำความรู้ไปสู่การปฏิบัติได้ประสบความสำเร็จในการเรียนรู้ด้วยตนเอง รู้จักตนเอง มี ชีวิตอยู่ในโรงเรียน ชุมชน สังคม และโลกอย่างมีความสุข ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งเป็น หลักสูตรแกนกลางให้สถานศึกษานำไปจัดทำสาระ ให้สอดคล้องกับสภาพความต้องการของท้อง ถิ่นและของผู้เรียน หลังจากที่ได้มี การนำหลักสูตรไปใช้ระยะหนึ่งแล้ว จำเป็นต้องมีการปรับปรุงพัฒนาให้สอดคล้องกับความ เปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยีสารสนเทศ และ ทักษะการเรียนรู้ที่ จำเป็นของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 เพื่อ ให้ผู้เรียนรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงและเข้าถึงความรู้เทคโนโลยีที่ทันสมัยและเหมาะสม การ พัฒนาหลักสูตร เป็นกระบวนการที่ต้อง อาศัยการทำงานอย่างต่อเนื่องและต้องคำนึงถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตามกาลเวลา จะ กระทำทุกครั้งเมื่อสังคมมีสิ่งหนึ่งสิ่งใด เปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะสิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปนั้นจะทำให้ผู้เรียนได้เพิ่มพูนประสบการณ์ขึ้น มาใหม่ และพร้อมที่จะนำประสบการณ์ และความรู้ที่เกิดขึ้นมานั้น ไปพัฒนาตนและสังคมให้เจริญงอกงามยิ่งขึ้น โรงเรียนตระหนักถึง ความสำคัญดังกล่าว จึงจัดทำโครงการ ปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร เพื่อดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ในการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงหลักสูตรที่ ใช้อยู่เดิมให้มีความเหมาะสม สอดคล้องกับสภาวะการเปลี่ยนแปลงทางสภาพสังคมวัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมืองและการปกครอง ภายในท้องถิ่นและภายใน ประเทศ โดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มาเป็นแนวทางในการ ดำเนินงาน
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- เป็นเลิศวิชาการ
- สื่อสาร 2 ภาษา
- ล้ำหน้าทางความคิด
- ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
- ร่วมรับผิดชอบสังคมโลก
-
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. ครูผู้สอนมีความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถในการพัฒนาหลักสูตรและสามารถนำไปใช้ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
2. ครูผู้สอนจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
3. โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษาที่เหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่นและเทียบเคียงกับมาตรฐานสากล

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. ครูผู้สอนร้อยละ 100 มีความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถในการพัฒนาหลักสูตรและสามารถ จัดทำ หลักสูตรของกลุ่มสาระการเรียนรู้ครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่น และเทียบเคียงกับมาตรฐานสากล
2. ครูผู้สอนร้อยละ 80 จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
3. โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษาเหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่นและเทียบเคียงกับมาตรฐานสากล จำนวน 1 หลักสูตร
  วิธีการประเมิน
    ทำแบบสอบถาม
  เครื่องมือ
    แบบสอบถาม
  เชิงคุณภาพ
    1. ครูผู้สอนมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรและสามารถนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพระดับดีเลิศ
2. ครูผู้สอนจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ผ่านการประเมินในระดับดี
3. สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษาให้เหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่นและเทียบเคียงกับมาตรฐานสากลในระดับดีเลิศ
  วิธีการประเมิน
    ทำแบบสอบถาม
  เครื่องมือ
    แบบสอบถาม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/2/2568          ถึงวันที่ : 30/8/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมประชุมอบรมปฏิบัติการเพื่อพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
1. ศึกษานโยบายของโรงเรียน เขตพื้นที่การศึกษาและสพฐ.ในส่วนที่เกี่ยวข้อง กับโครงการฯ
2. ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา
3. ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการฯ
4. จัดทำโครงการฯ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
2. ประชุมคณะกรรมการเพื่อชี้แจงโครงการฯ และมอบหมายภาระงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
1. ดำเนินงานตามโครงการฯ
2. จัดประชุมอบรมปฏิบัติการเพื่อพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
1. ครูแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ดำเนินการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร
2. คณะกรรมการหลักสูตรจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
1. สรุปประเมินโครงการฯ
ขั้นตอนการติดตามผล (V2)
1. จัดทำรายงานโครงการฯ นำเสนอฝ่ายบริหาร
2. การนำผลการประเมิน หรือข้อเสนอแนะนำไปใช้ หรือปรับปรุง แก้ไข
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 20400 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/2/2568     ถึงวันที่ 30/8/2568
  ผู้รับผิดชอบ หัวหน้างานพัฒนาหลักสูตร และ คณะ
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์สำนักงาน
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
1. ประชุมคณะกรรมการงานพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
2. สำรวจตรวจสอบวัสดุอุปกรณ์สำนักงาน
3. จัดทำโครงการฯ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 2. จัดทำคำสั่งผู้รับผิดชอบในการดำเนินโครงการ
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
1. ดำเนินงานตามโครงการฯ
2. จัดประชุมอบรมปฏิบัติการเพื่อพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
1. ดำเนินการจัดรายการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์สำนักงาน
2. ประสานงานกับฝ่ายพัสดุโรงเรียนเพื่อดำเนินการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์สำนักงาน
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล (V1) 1. สรุปประเมินโครงการฯ
ขั้นตอนการติดตามผล (V2)
1. จัดทำรายงานโครงการฯ นำเสนอฝ่ายบริหาร
2. การนำผลการประเมิน หรือข้อเสนอแนะนำไปใช้ หรือปรับปรุง แก้ไข
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 6000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/7/2568     ถึงวันที่ 30/8/2568
  ผู้รับผิดชอบ งานพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

   รวม 2 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 26,400.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 26,400.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
วิชาการ/งานพัฒนาหลักสูตร
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ครูมี ความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถในการพัฒนาหลักสูตรและสามารถนำความรู้ไปใช้ในจัดการเรียนการสอนด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายตอบสนองความต้องการของผู้เรียนและชุมชนได้อย่างมีคุณภาพ
2. โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม มีหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน ตลอดจนความต้องการของท้องถิ่น
3. โรงเรียนมีหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
การเกิดโรคระบาดที่อาจมีผลต่อการการดำเนินการ การเปลี่ยนแปลงนโยบายที่เกิดขึ้นแบบเร่งด่วน

 

 

รหัสโครงการ 1-05-4
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานการจัดระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ชื่อโครงการ งานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 5. ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ข้อที่ 7. จัดการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ
ข้อที่ 9. เพิ่มโอกาสและสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา
ข้อที่ 10. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 1. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ
ข้อที่ 2. ความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา
ข้อที่ 3. มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
ข้อที่ 4. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ข้อที่ 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
ข้อที่ 6. มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 1. มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด
ข้อที่ 2. ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
ข้อที่ 3. การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
ข้อที่ 4. สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 1. มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน
ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
ข้อที่ 3. ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย
ข้อที่ 4. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
ข้อที่ 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
ข้อที่ 6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและจัดการเรียนรู้
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
ข้อที่ 2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรูที่เอื้อต่อการเรียนรู้
ข้อที่ 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
ข้อที่ 4. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
ข้อที่ 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ข้อที่ 2. ส่งเสริมให้นักเรียนและสนับสนุนให้นักเรียนมีทักษะในการประกอบอาชีพ
ข้อที่ 3. ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูสร้างและพัฒนางานวิจัย และนวัตกรรม ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน
ข้อที่ 4. ส่งเสริมหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ข้อที่ 5. ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล
ข้อที่ 6. ส่งเสริมกระบวนการการบริหารจัดการสถานศึกษาด้วยระบบคุณภาพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 4. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 1. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
ข้อที่ 3. มีงานทำ-มีอาชีพ
ข้อที่ 4. เป็นพลเมืองที่ดี
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสรินยา พรหมมา

1. หลักการและเหตุผล

           การประกันคุณภาพเป็นหน้าที่ของบุคลากรทุกคนที่ต้องปฏิบัติงานตามภารกิจที่แต่ละคนได้รับมอบหมาย เพื่อมุ่งพัฒนาการดำเนิน งาน ตามความรับผิดชอบของตนให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้นเพราะผลลการพัฒนาของแต่ละคนก็ คือผลรวมของการพัฒนาทั้งสถานศึกษา เน้น การ พัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยให้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ บริหารการศึกษาที่ต้องดำเนินการ อย่างต่อเนื่อง เกิดความร่วม มือ ของ บุคลากรทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง และนำผลการประเมินคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถาน ศึกษา ดังนั้น การกำหนดมาตรฐานจึงเน้นที่คุณภาพผู้เรียน คุณภาพครู คุณภาพผู้บริหารสถานศึกษา และคุณภาพของสถานศึกษา และ ให้มีความ สอดคล้องกับมาตรฐานเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกตามที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวงว่าด้วยระบบหลักเกณฑ์ และวิธีการ ประกันคุณภาพ การศึกษา พ.ศ. 2561 โดยได้กำหนดมาตรฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน สถานศึกษาจึงมีหน้าที่ในการขับเคลื่อนระบบประกันคุณภาพให้เป็นส่วนหนึ่งของการบริหารงาน

จากผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาจากสำนักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการ ศึกษาที่ผ่านมาทั้งสามครั้ง จึงจำเป็นที่สถานศึกษาจะต้อง พัฒนาโครงการประกัน คุณภาพภายในโรงเรียนขึ้น เพื่อดำเนินการปรับปรุง พัฒนาคุณภาพการศึกษาและเตรียมความพร้อมในการ รองรับการ ประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สี่และเพื่อให้เห็นผลการดำเนินการที่ ชัดเจน และนำมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาให้ได้ มาตรฐานตามที่กำหนด และเพื่อผลักดัน ให้สถาน ศึกษาแสดงความรับผิดชอบในการจัดการจัดการศึกษา เกิดการร่วมคิดร่วมทำระหว่าง สำนักงานเขตพื้นที่การ ศึกษา สถานศึกษา คณะ กรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ตลอดจนผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อให้สถานศึกษามี คุณภาพตามมาตรการศึกษาดังกล่าว และมีระบบการ ประกันคุณภาพภายในที่เข็มแข็งพร้อมรับการประเมินภายนอกรอบที่สี่ ด้วยความ จำเป็นดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการนี้


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- เป็นเลิศวิชาการ
- สื่อสาร 2 ภาษา
- ล้ำหน้าทางความคิด
- ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
- ร่วมรับผิดชอบสังคมโลก
-
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อดําเนินการระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง
2. เพื่อรองรับการประเมินภายในและภายนอก
3. เพื่อรายงานและเผยแพร่ผลการดําเนินงานต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง
4. เพื่อนําผลการประเมินทั้งภายในและภายนอกไปปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
5. เพื่อให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน/ท้องถิ่น และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความมั่นใจต่อระบบการบริหารและการจัดการของสถานศึกษาในระดับสูง

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. ครูและบุคลากร นักเรียน ผู้ปกครองและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องร้อยละ 90 มีความเชื่อมั่นและพึงพอใจกับระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
1. คณะครูและบุคลากรร้อยละ 98 มีส่วนร่วมในการประชุมเชิงปฏิบัติการการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 1 ครั้ง
2. คณะครูและบุคลากรร้อยละ 98 มีส่วนร่วมในการติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาจากหน่วยงานต้นสังกัดประจำปีการศึกษา 2567 1 ครั้ง
  วิธีการประเมิน
    1. ประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
2. สอบถามความเชื่อมั่นและความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    1. คูู่มือการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
2. แบบสอบถามความเชื่อมั่นและความพึงพอใจ
  เชิงคุณภาพ
    1. โรงเรียนมีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาอยู่ในระดับดีเยี่ยม
2. โรงเรียนมีการติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาอยู่ในระดับดีเยี่ยม
3. โรงเรียนนำผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใช้วางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่องอยู่ในระดับดีเยี่ยม
4. โรงเรียนจัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายในอยู่ในระดับดีเยี่ยม
  วิธีการประเมิน
    1. ประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
2. สอบถามความเชื่อมั่นและความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    1. คูู่มือการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
2. แบบสอบถามความเชื่อมั่นและความพึงพอใจ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 16/3/2568          ถึงวันที่ : 30/6/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
  ขั้นเตรียมการ การวางแผนทำงานเป็นทีม T1
1. เขียนแผนงาน/โครงการ
2. ประชุม
3. การเสนอโครงการเพื่ออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน T2
1. คำสั่งการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ M1
1. ปฏิบัติตามภาระหน้าที่
2. บันทึกข้อความขอทำกิจกรรม
ขั้นการประสานงาน M2
1. ประสานงานกับฝ่ายต่างๆ
2.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการประกันคุณภาพ และคณะภายในสถานศึกษา
  ขั้นสรุป ขั้นประเมินผลโครงการ V1
1. จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจ
2. สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นการกำกับติดตาม V2
1. บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 16015 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ หอประชุมเจ้าคุณทองดำ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 16/3/2568     ถึงวันที่ 30/6/2568
  ผู้รับผิดชอบ ครูสรินยา พรหมมา และคณะ
    กิจกรรมที่ 2    การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
  ขั้นเตรียมการ การวางแผนทำงานเป็นทีม T1
1. เขียนแผนงาน/โครงการ
2. ประชุม
3. การเสนอโครงการเพื่ออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน T2
1. คำสั่งการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ M1
1. ปฏิบัติตามภาระหน้าที่
2. บันทึกข้อความขอทำกิจกรรม
ขั้นการประสานงาน M2
1. ประสานงานกับฝ่ายต่างๆ
2. คณะกรรมการดำเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
  ขั้นสรุป ขั้นประเมินผลโครงการ V1 1. จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจ
2. สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นการกำกับติดตาม V2
1. บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 3470 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ หอประชุมเจ้าคุณทองดำ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/2/2568     ถึงวันที่ 15/4/2568
  ผู้รับผิดชอบ ครูสรินยา พรหมม และคณะ
    กิจกรรมที่ 3    การจัดทํารายงานประจําปีของสถานศึกษา (SAR)
  ขั้นเตรียมการ การวางแผนทำงานเป็นทีม T1
1. เขียนแผนงาน/โครงการ
2. ประชุม
3. การเสนอโครงการเพื่ออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน T2
1. คำสั่งการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ M1
1. ปฏิบัติตามภาระหน้าที่
2. บันทึกข้อความขอทำกิจกรรม
ขั้นการประสานงาน M2
1. ประสานงานกับฝ่ายต่างๆ
2.จัดทำเล่ม SAR
  ขั้นสรุป ขั้นประเมินผลโครงการ V1
1. จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจ
2. สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นการกำกับติดตาม V2
1. บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 5625 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ หอประชุมเจ้าคุณทองดำ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/4/2568     ถึงวันที่ 30/6/2568
  ผู้รับผิดชอบ ครูสรินยา พรหมมาและคณะ

   รวม 3 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 25,110.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 25,110.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวแทนผู้ปกครอง ผู้บริหารและคณะครูโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.โรงเรียนมีการกําหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเป็นแนวทางการพัฒนาการศึกษาของโรงเรียน
2.โรงเรียนมีคู่มือการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาที่มีประสิทธิภาพสามารถนําไปใช้ได้จริง
3.โรงเรียนมีระบบการประกันคุณภาพที่เข้มแข็งมีประสิทธิภาพตรวจสอบได้
4.โรงเรียนมีการบริหารงานอย่างเป็นระบบครบวงจร มีการพัฒนาบุคลากรครู ผู้เรียน การจัดการเรียนรู้ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อคุณภาพผู้เรียนเป็นสำคัญ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 1-12-5
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน โครงการโรงเรียนในศตวรรษที่ 21
ชื่อโครงการ พัฒนาโครงการโรงเรียนในศตวรรษที่ 21
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 3. ปรับกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้ทันสมัยและหลากหลาย
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 3. มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 4. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 6. ส่งเสริมกระบวนการการบริหารจัดการสถานศึกษาด้วยระบบคุณภาพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 3. ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 3. มีงานทำ-มีอาชีพ
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวนิติยา จันทะสี

1. หลักการและเหตุผล

           ตามที่พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542หมวด 4 แนวทางการจัดการศึกษามาตรา 22 ระบุว่า “การจัดการศึกษา ต้องยึด หลักว่าผู้ เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการ ศึกษาต้อง ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถ พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ”ในการเตรียมนักเรียนให้พร้อมกับชีวิตในศตวรรษ ที่ 21 เป็น เรื่องสำคัญของกระแสการปรับเปลี่ยนทาง สังคมที่เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 21 ส่งผลต่อวิถีการดำรงชีพของสังคมอย่างทั่วถึง ครูจึงต้อง มีความตื่นตัวและเตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้เพื่อ เตรียมความพร้อมให้นักเรียนมีทักษะสำหรับการออกไปดำรงชีวิต ในโลกใน ศตวรรษที่ 21 ที่เปลี่ยนไปจากศตวรรษที่ 20 และ 19 โดยทักษะแห่ง ศตวรรษที่ 21 ที่สำคัญที่สุด คือ ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill) ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนรู้เพื่อให้เด็กในศตวรรษที่ 21 นี้ มีความรู้ ความสามารถ และทักษะ จำเป็น ซึ่งเป็น ผลจากการปฏิรูปเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนการเตรียมความ พร้อมด้านต่างๆ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- เป็นเลิศวิชาการ
- ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
- -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อส่งเสริมความรู้ และความเข้าใจให้กับครูผู้สอนเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. ครูผู้สอนอย่างน้อยร้อยละ 90 มีแผนการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
  วิธีการประเมิน
    แบบประเมิน
  เครื่องมือ
    แบบประเมิน
  เชิงคุณภาพ
    1. ครูผู้สอนมีผลการประเมินแผนการจัดการเรียนรู้อยู่ในระดับดีขึ้นไป
  วิธีการประเมิน
    แบบประเมิน
  เครื่องมือ
    แบบประเมิน

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 8/10/2567          ถึงวันที่ : 8/10/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    พัฒนางานโรงเรียนในศตวรรษที่ 21
  ขั้นเตรียมการ 1.ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1) - จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินโครงการพัฒนาโครงการโรงเรียนในศตวรรษที่21 เพื่อวิเคราะห์โครงการและกำหนดทิศทางการดำเนินงาน 2.ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2) - จัดทำคำสั่งและแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ
  ขั้นดำเนินการ 3.ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1) - คณะกรรมการดำเนินงานตามแผนที่วางไว้ 4.ขั้นตอนการประสานงาน (M2) - มีการประสานงานร่วมกันระหว่างคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายบริหาร
  ขั้นสรุป 5.ขั้นตอนการประเมินผล (V1) - ประเมินผลการดำเนินงาน 6.ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2) - สรุป รายงานผล และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อนำผลการประเมินมาปรับปรุงและนำเสนอฝ่ายบริหาร
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 5/10/2567     ถึงวันที่ 7/2/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวนิติยา จันทะสี

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คณะครูโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ครูมีความรู้ ความเข้าในเกี่ยวกับการศึกษาในศตวรรษที่ 21 และการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพิ่มมากขึ้น
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ

 

 

รหัสโครงการ 1-16-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชื่อโครงการ การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา (STEM Education)
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
ข้อที่ 6. การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 3. ปรับกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้ทันสมัยและหลากหลาย
ข้อที่ 7. จัดการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ
ข้อที่ 10. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 3. มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
ข้อที่ 4. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 4. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรูที่เอื้อต่อการเรียนรู้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 2. ส่งเสริมให้นักเรียนและสนับสนุนให้นักเรียนมีทักษะในการประกอบอาชีพ
ข้อที่ 3. ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูสร้างและพัฒนางานวิจัย และนวัตกรรม ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 3. ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
ข้อที่ 2. ส่งเสริมคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 3. มีงานทำ-มีอาชีพ
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวนิติยา จันทะสี

1. หลักการและเหตุผล

           สะเต็มศึกษา หรือ STEM เป็นกระบวนการที่มุ่งเน้นกา รบูรณาการของการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร์ โดยไม่เน้นเพียงการท่องจำสูตรหรือ ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์หรือสมการคณิตศาสตร์เพียงอย่างเดียว แต่ สะเต็มศึกษาจะฝึกให้ผู้เรียนรู้จักวิธีคิด การตั้งคำถาม การแก้ ปัญหา และการสร้างทักษะการหาข้อมูลและการวิเคราะห์ เนื่องจากการ ค้นพบใหม่ๆ จะทำให้ผู้เรียนรู้จักนำองค์ความรู้จาก วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ สาขาต่าง ๆ มาบูรณาการเพื่อมุ้ง แก้ไขปัญหา สำคัญ ๆ ที่พบได้ในชีวิตจริง เน้นการทำโครงการงาน ศึกษาสะเต็ม เพื่อแก้ไขปัญหาและสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ซึ่งจะ ก่อให้เกิด เทคโนโลยีที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้จริง โรงเรียน ท่ามะกาวิทยาคม มุ่งพัฒนานักเรียนในทุกด้าน ด้วยกระบวนการ เรียนรู้ที่ เหมาะสม เพื่อยกระดับและเพิ่มขีดความสามารถในการ แข่งขันของประเทศ ซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายของสะเต็มศึกษา คือการ สร้างเยาวชนไทยให้มีความรู้ และทักษะการวิเคราะห์โดย ใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร์ ที่ สามารถช่วย แก้ไขปัญหาในชีวิตจริง ช่วยเตรียมความพร้อมเข้าศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพอย่างมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- เป็นเลิศวิชาการ
- สื่อสาร 2 ภาษา
- ล้ำหน้าทางความคิด
- ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
- -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียนให้มีกระบวนการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ อย่างเป็นระบบผ่านการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา (STEM Education)
2. เพื่อพัฒนาศักยภาพครูในการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบสะเต็มศึกษา

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. ร้อยละ 80 ของผู้เรียนผ่านกระบวนการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ อย่างเป็นระบบผ่านการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา (STEM Education)
2. ร้อยละ 80 ของครูที่เข้าร่วมโครงการมีศักยภาพในการจัดการเรียนการสอนรูปแบบสะเต็มศึกษา
  วิธีการประเมิน
    แบบประเมิน
  เครื่องมือ
    แบบประเมิน
  เชิงคุณภาพ
    1.ผู้เรียนที่ผ่านกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา (STEM Education) สามารถ คิด วิเคราะห์ แยกแยะ และนำไปสู่กระบวนการสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ
2. ครูที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ สามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบสะเต็มศึกษา อย่างมีคุณภาพผ่านเกณฑ์ที่กำหนด ได้แก่ หน่วยการเรียนรู้สะเต็มศึกษา แผนการจัดกิจกรรมสะเต็มศึกษา โครงงานสะเต็มศึกษา
  วิธีการประเมิน
    แบบประเมิน
  เครื่องมือ
    แบบประเมิน

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2567          ถึงวันที่ : 18/10/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การจัดการเรียนการสอนตามแนวทางสะเต็มศึกษา ( STEM Education )
  ขั้นเตรียมการ T1คือ การวางแผนการทำงานเป็นทีม 1. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานโครงการสะเต็มศึกษา T2คือ การกำหนดหน้าที่ภาระงาน 2. จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินงานโครงการสะเต็มศึกษาเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการ 3. กำหนดแนวทางการดำเนินโครงการพัฒนาและส่งเสริมผู้เรียนด้วยการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางสะเต็มศึกษา ( STEM Education ) 4. จัดทำแผนการดำเนินกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางสะเต็มศึกษา ( STEM Education )
  ขั้นดำเนินการ M1คือ การปฏิบัติตามภาระหน้าที่ 5. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวทางสะเต็มศึกษา ( STEM Education )ให้กับผู้เรียนที่เข้าร่วมโครงการทุกระดับตั้งแต่มัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 6. ส่งผลงาน หรือ นวัตกรรมที่ผ่านกระบวนการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางสะเต็มศึกษา( STEM Education ) 7. นำเสนอผลงาน หรือ นวัตกรรม เพื่อคัดเลือกเข้าร่วมการแข่งขันฯ 8. จัดกิจกรรมการแข่งขัน ผลงาน หรือ นวัตกรรม M2 คือ การประสานงาน 9. คณะกรรมการดำเนินโครงการประสานงาน กับผู้บริหารโรงเรียน ครูที่เกี่ยวข้องกับโครงการ และผู้เรียนที่เข้าร่วมโครงการ ดังนี้ 9.1 จัดทำโครงการความร่วมมือการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา (STEM Education) 9.2 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวทางสะเต็มศึกษา (STEM Education) 9.3 จัดแสดงแนวทางปฏิบัติตามแนวทางสะเต็มศึกษา (STEM Education) 9.4 พัฒนาศักยภาพของผู้เรียน และครูผ่านกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา (STEM Education) 9.5 ได้รูปแบบการจัดการศึกษาสะเต็มที่เชื่อมโยงกับกลุ่มสาระอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเพิ่มพูนโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในบริบทที่หลากหลาย มีความหมายและเชื่อมโยงกับชีวิตจริง
  ขั้นสรุป บประมาณต่อไป 15. ดำเนินการปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา 16. ดำเนินการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะจัดทำโครงการในปีงบประมาณต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 10000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 10/7/2568     ถึงวันที่ 18/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวนิติยา จันทะสี

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 10,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 10,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คณะครู และนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
าจะได้รับ : 1. นักเรียนโรงเรียนท่ามะกาที่เข้าร่วมโครงการสะเต็มศึกษา( STEM Education ) ได้พัฒนาทักษะการคิดแก้ปัญหา การสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ และการบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมแบบสะเต็มศึกษา( STEM Education ) 2. ครูที่ได้เข้าร่วมโครงการสะเต็มศึกษา( STEM Education ) ได้ฝึกประสบการณ์ในการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรม เทคนิคการสอน การควบคุมกิจกรรม การจัดรูปแบบกิจกรรม เพื่อเป็นต้นแบบ STEMEducation ของโรงเรียนสืบต่อไป
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ

 

 

รหัสโครงการ 1-11-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน โครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล
ชื่อโครงการ พัฒนาคุณภาพโรงเรียนมาตรฐานสากล
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 3. ปรับกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้ทันสมัยและหลากหลาย
ข้อที่ 5. ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 3. มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
ข้อที่ 4. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรูที่เอื้อต่อการเรียนรู้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 5. ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 4. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 3. มีงานทำ-มีอาชีพ
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวนิติยา จันทะสี

1. หลักการและเหตุผล

           กระทรวงศึกษาธิการโดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ดำเนินงานโครงการโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล เพื่อยกระดับคุณภาพโรงเรียนให้มีการจัดการเรียนการสอนและการบริหารระบคุณภาพ (Quality System Management) มุ่งให้ ผู้เรียนมีคุณมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์เทียบเคียงมาตรฐานสากล (World Class Standard) มีศักยภาพเป็นพลโลก (World Cizen) โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเห็นถึงความสำคัญและมีความตระหนักที่จะพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ที่เอื้ออำนวย ให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตัวเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต มีนิสัยไผ่เรียนรู้ มีความสามารถคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา คิดริเริ่ม สร้างสรรค์ มีคุณธรรมจริยธรรม รักความเป็นไทย และมีความสามารถก้าวไกลในระดับสากล สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลที่ ประกาศให้ประเทศไทยพร้อมเปิดประตูสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ในปี 2558 จึงพัฒนาการจัดการเรียนการ สอน สาระการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study) IS1- IS3 จากการประเมินผลกิจกรรมการจัดการเรียน การสอน สาระการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study) IS1- 1S3 ในปีการศึกษาที่ผ่านมาพบว่านักเรียนมีทักษะในการ สื่อสารและนำเสนอในระดับต้องปรับปรุง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมจึงได้จัดทำโครงการพัฒนาโรงเรียนมาตรฐานสากลขึ้นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อยกระดับคุณภาพทั่วทั้งองค์กรขึ้นโดยมีเป้าหมายที่จะให้โรงเรียนมีการบริหารจัดการระบบคุณภาพและจัดการเรียนรู้ได้ มาตรฐานสากลที่มีความยั่งยืน นักเรียนเป็นคนดีเป็นผู้นำที่ดีของสังคม มีอุปนิสัยพอเพียงสามารถสื่อสารได้ มีเจตคติที่ดีต่อ สัมมาชีพ สามารถเลือกศึกษาต่อได้ถูกต้องตรงกับความต้องการของท้องถิ่น มีศักยภาพเป็นพลโลกสามารถอยู่ร่วมกันกันได้ใน ประชาคมโลกอย่างมีความสุขหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงหลักความพอประมาณหลักการมีเหตุผลหลักภูมิคุ้มกัน
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- เป็นเลิศวิชาการ
- สื่อสาร 2 ภาษา
- ล้ำหน้าทางความคิด
- ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
- ร่วมรับผิดชอบสังคมโลก
-
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อยกระดับ คุณภาพโรงเรียนให้มีการจัดการเรียนการสอนและการบริหารระบบคุณภาพ
2. เพื่อส่งเสริมความรู้ และความเข้าใจให้กับครูผู้สอนเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนในสาระการศึกษา
ค้นคว้าด้วยตนเอง

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. มีการจัดเวทีศักยภาพเพื่อผู้เรียน 1 ครั้งต่อปีการศึกษา
  วิธีการประเมิน
    แบบประเมิน
  เครื่องมือ
    แบบประเมิน
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมอยู่ในระดับ ดีขึ้นไป
  วิธีการประเมิน
    แบบประเมิน
  เครื่องมือ
    แบบประเมิน

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2567          ถึงวันที่ : 8/10/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมส่งเสริมนักเรียนให้มีทักษะการสื่อสารและนำเสนอ
  ขั้นเตรียมการ ขั้นเตรียมการ การวางแผนทำงานเป็นทีม T1
1. ประชุมคณะทำงาน
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน T2
1. จัดทำแผนปฏิบัติงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นดำเนินการ ขั้นการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ M1
1. จัดกิจกรรมตามแผนปฏิบัติงานที่กำหนด
ขั้นการประสานงาน M2
2.นิเทศติดตามการปฏิบัติงานในทุกกิจกรรมตามแผนปฏิบัติงานที่กำหนด
  ขั้นสรุป การประเมินผล V1
1.ประเมินผลการปฏิบัติงานโดยใช้แบบสอบถามและแบบประเมิน
ขั้นการกำกับติดตาม v2
1. รายงานผลการปฏิบัติงานและนำข้อมูลมาปรับปรุงพัมนางานต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 5000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/1/2568     ถึงวันที่ 18/2/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวนิติยา จันทะสี

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 5,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 5,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1.โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
2. ผู้บริหาร คณะครู บุคลากร และนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
3. คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้แทนชุมชนและผู้ปกครอง
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
โรงเรียนมีการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนมาตรฐานสากล และมีการกำกับ ติดตามอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 1-04-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานทะเบียนนักเรียน
ชื่อโครงการ รับนักเรียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 4. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ -
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 2. ส่งเสริมให้นักเรียนและสนับสนุนให้นักเรียนมีทักษะในการประกอบอาชีพ
ข้อที่ 5. ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 2. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนทุกคน
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวน้ำฝน ใจผ่อง

1. หลักการและเหตุผล

          สถานศึกษามีหน้าที่จัดการศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานที่มุ่งตอบสนองความมุ่งหมายของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.๒๕๕๓ รวมทั้งให้สอดคล้องกับระเบียบสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ว่า ด้วยการรับนักเรียนเข้าเรียนในสถานศึกษา และแนวปฏิบัติการรับนักเรียนของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาญจนบุรี และโดย ความเห็นชอบของคณะกรรมการรับนักเรียนของโรงเรียน

โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมตระหนักถึงความสำคัญของการศึกษา จึงได้กำหนดให้มีโครงการรับ นักเรียนเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ทั้งโครงการห้องเรียนพิเศษและห้องเรียนปกติ ในปีการ ศึกษา 2568 เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการรับนักเรียนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะ กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และคณะกรรมการรับนักเรียนเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาญจนบุรี


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- เป็นเลิศวิชาการ
- -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. รับนักเรียนเข้าเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
2. รับนักเรียนเข้าเรียนห้องเรียนปกติในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
3. รับนักเรียนในเขตบริการได้ครบ 100%

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. รับนักเรียนเข้าเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 30 คน และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 30 คน
2. รับนักเรียนเข้าเรียนห้องเรียนปกติในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 จำนวน ระดับละ 10 ห้องเรียน
3. รับนักเรียนในเขตบริการได้ครบ 100% ทุกคน
  วิธีการประเมิน
    ประเมินจากข้อมูลการรับนักเรียน
  เครื่องมือ
    ข้อมูลการรับนักเรียน
  เชิงคุณภาพ
    1. โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมได้รับนักเรียนเข้าเรียนต่อตามแผนการเรียนที่กำหนด โดยผ่านกระบวนการสอบคัดเลือกในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 (กรณีมีเหตุจำเป็นที่ไม่สามารถสอบคัดเลือกได้ ทางงานรับนักเรียนจะดูผลการเรียนจากค่าGPA ของนักเรียน)
  วิธีการประเมิน
    ประเมินจากข้อมูลการรับนักเรียน
  เครื่องมือ
    ข้อมูลการรับนักเรียน

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 15/1/2568          ถึงวันที่ : 31/5/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    รับสมัครนักเรียน
  ขั้นเตรียมการ 1.ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
1.1 จัดทำโครงการ
1.2 เสนอโครงการ
1.3 ประชุมชี้แจงคณะทำงาน เพื่อเตรียมการดำเนินงาน
1.4 ประชาสัมพันธ์การรับนักเรียนในระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 ปีการศึกษา 2568 ผ่านทางเวปไซด์โรงเรียน เพจเฟซบุ๊คโรงเรียน เพจเฟซบุ๊คงานรับนักเรียน และจัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงานงาน (T2)
2.1 จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการรับสมัครนักเรียนห้องเรียนพิเศษฯและห้องเรียนปกติ
  ขั้นดำเนินการ 3.ขั้นตอนการปฏิบัติหน้าที่ตามภาระหน้าที่ (M1)
3.1 บันทึกขออนุญาตทำโครงการรับนักเรียน
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
4.1 รับสมัครนักเรียนโครงการห้องเรียนพิเศษฯ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 ดำเนินการจัดสอบ ประกาศผลสอบและมอบตัว
4.2 รับสมัครนักเรียนโครงการห้องเรียนปกติชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 ดำเนินการจัดสอบ ประกาศผลสอบและมอบตัว
  ขั้นสรุป 5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
5.1.แจกแบบประเมินความพึงพอใจในการให้บริการในการสมัครเรียน
5.2 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
6.ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
5.1.แจกแบบประเมินความพึงพอใจในการให้บริการในการสมัครเรียน
5.2 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
6.ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
6.1 บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินโครงการ
6.2 สรุปผลประเมินโครงการ
6.3 จัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 47775 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 15/1/2568     ถึงวันที่ 31/5/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวน้ำฝน ใจผ่อง

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 47,775.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 47,775.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1. ผู้บริหาร คณะครู และบุคลากร โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม 2. นักเรียนและโรงเรียนในเขตพื้นที่บริการ 3. หมวดทางหลวงท่ามะกา
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมได้รับนักเรียนในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 เข้าเรียนต่อตามแผนการเรียนโดยผ่านกระบวนการสอบคัดเลือก ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
1. จำนวนนักเรียนลดลง เนื่องจากโรงเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาใกล้เคียงเปิดโครงการขยายโอกาส 2. โรงเรียนเอกชนใกล้เคียงพยายามดึงนักเรียนของตนเองไว้ในระดับประถมศึกษาปีที่ 6 และมัธยมศึกษาปีที่ 3

 

 

รหัสโครงการ 1-13-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน โครงการสวนพฤกศาสตร์โรงเรียนและสิ่งแวดล้อม
ชื่อโครงการ งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 5. การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 1. ปลูกฝังความรักในสถาบันหลักของชาติ และน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติ
ข้อที่ 10. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 6. มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 1. มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 4. ส่งเสริมหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กลยุทธ์โรงเรียน -
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 4. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 1. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
ข้อที่ 3. มีงานทำ-มีอาชีพ
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวศรัณย์ภรณ์ เสนาวงศ์

1. หลักการและเหตุผล

          

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน เป็นสื่อในการสร้าง จิตสำนึกด้านอนุรักษ์พันธุกรรมพืช โดยให้เยาวชนนั้น ได้ใกล้ชิดกับพืชพรรณไม้ เห็น คุณค่า ประโยชน์ ความ สวยงาม อันจะก่อให้เกิดความคิดที่จะอนุรักษ์พืชพรรณต่อไป ซึ่งสามารถดำเนินการงานสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียนในพื้นที่ของโรงเรียน อีกทั้งใช้ในการศึกษาและเป็นประโยชน์ต่อเนื่องใน การเรียนการสอนวิชาต่าง ๆ งานสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียน จึงเป็นการดำเนินงานโดยมีการรวบรวมพันธุ์ไม้ที่มีชีวิต มีแหล่งข้อมูลพรรณไม้ มีการศึกษาต่อเนื่อง มีการเก็บตัวอย่างพรรณไม้ แห้ง พรรณไม้ดอง มีการรวบรวมพันธุ์ไม้ท้องถิ่นเข้ามาปลูกรวบรวมไว้ในโรงเรียน และภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการบันทึกรายงานและข้อมูล รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับพันธุ์ไม้

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน โดยสามารถบูรณาการได้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ อีกทั้งยังเป็นสถานที่พักผ่อน หย่อนใจของนักเรียนได้ ดังนั้นจึงได้ดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่จะสามารถใช้ประโยชน์ต่อการเรียนรู้ได้ จริง


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - ร่วมรับผิดชอบสังคมโลก
-
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อสนองพระราชดำริโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ.)
2. เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ผู้เรียนและบุคลากรครูในโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม มีความรัก และเห็นคุณค่าของพืชพรรณและทรัพยากร
3. เพื่อให้โรงเรียนเป็นแหล่งรวบรวมตัวอย่างพรรณไม้ ข้อมูลพรรณไม้
4. เพื่อให้ผู้เรียนและบุคลากรครูในโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช
5. เพื่อให้ผู้เรียนและบุคลากรครูในโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเกิดการเรียนรู้และการทำงานร่วมกันอย่างมีระบบ

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. ผู้เรียนและบุคลากรครูโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ร้อยละ 90 มีส่วนร่วมในการศึกษาพืชศึกษาในบริเวณพื้นที่ศึกษา
2. ผู้เรียนและบุคลากรครูโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเกิดการเรียนรู้และการทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ
  วิธีการประเมิน
    ประเมินความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    แบบประเมิน
  เชิงคุณภาพ
    1. ผู้เรียนและบุคลากรครูโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเกิดจิตสำนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชและทรัพยากร ในระดับดีเลิศ
2. ผู้เรียนและบุคลากรครูโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเกิดการเรียนรู้และการทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ
  วิธีการประเมิน
    ประเมินความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    แบบประเมิน

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/11/2567          ถึงวันที่ : 30/9/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    เข้าร่วมการประชุมวิชาการและนิทรรศการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน และฐานทรัพยากรท้องถิ่นระดับภูมิภาค ครั้งที่ 8
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1) - ประชุมคณะกรรมการที่จะเดินทางไปร่วมการประชุมวิชาการและนิทรรศการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน และฐานทรัพยากรท้องถิ่นระดับภูมิภาค ครั้งที่ 8 ณ ศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (อพ.สธ.-มทส.) ตำบลคลองไผ่ อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2) - ทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการเข้าร่วมการประชุมวิชาการและนิทรรศการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน และฐานทรัพยากรท้องถิ่นระดับภูมิภาค ครั้งที่ 8 - ทำกำหนดการพร้อมจัดหาที่พัก
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1) - เข้าร่วมการประชุมวิชาการและนิทรรศการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน และฐานทรัพยากรท้องถิ่นระดับภูมิภาค ครั้งที่ 8 ระหว่างวันที่ 1-2 ธันวาคม 2567 ขั้นตอนการประสานงาน (M2) - ประสานงานกับหน่วยงาน อพ.สธ.-มทส.
  ขั้นสรุป - รายงานการไปราชการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 7560 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (อพ.สธ.-มทส.) ตำบลคลองไผ่ อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 4/11/2567     ถึงวันที่ 2/12/2567
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวศรัณย์ภรณ์ เสนาวงศ์
    กิจกรรมที่ 2    การบริหารจัดการ
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1) - ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2) - ทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1) - เข้าอบรมกับโครงการ อพ.สธ. ขั้นตอนการประสานงาน (M2) - จัดอบรมให้กับครู บุคลากร และนักเรียน โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล (V1) - ประเมินผลการปฏิบัติงานโดยใช้แบบสอบถามและแบบประเมิน ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2) - รายงานผลการปฏิบัติงานและนำข้อมูลมาปรับปรุงพัฒนางานต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 67000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/11/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวศรัณย์ภรณ์ เสนาวงศ์
    กิจกรรมที่ 3    การดำเนินงาน 5 องค์ประกอบ
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1) - ประชุมคณะกรรมการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน เพื่อวางแผนการดำเนินงาน 5 องค์ประกอบ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2) - ทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1) - แต่งแต่งคณะกรรมการการดำเนินงาน 5 องค์ประกอบ - เตรียมสถานที่สำหรับปลูกพืชศึกษา - จัดหาเมล็ดพันธุ์สำหรับปลูก - ทำป้ายแผนผังพรรณไม้และแสดงตำแหน่งพรรณไม้ - ทำป้ายชื่อพรรณไม้ และติดป้ายรหัสประจำต้น - ทำพรรณไม้อัดแห้ง เก็บตัวอย่างพรรณไม้เฉพาะส่วน - จัดทำเอกสารใบงาน ก.7-003 - ประกวดถ่ายภาพทางพฤกษศาสตร์ - ประกวดวาดภาพทางพฤกษศาสตร์ - จัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงาน ขั้นตอนการประสานงาน (M2) - ประสานงานกับคณะทำงาน
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล (V1) - ประเมินผลการปฏิบัติงานโดยใช้แบบสอบถามและแบบประเมิน ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2) - รายงานผลการปฏิบัติงานและนำข้อมูลมาปรับปรุงพัฒนางานต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 49800 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 15/10/2567     ถึงวันที่ 15/8/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวศรัณย์ภรณ์ เสนาวงศ์
    กิจกรรมที่ 4    สำรวจพรรณไม้ในบริเวณโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1) - ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน เพื่อเลือกพื้นที่ศึกษาและสำรวจพรรณไม้เพิ่มเติม ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2) - ทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1) - เลือกพื้นที่ศึกษาในการสำรวจพรรณไม้ - สำรวจพรรณไม้ในพื้นที่ศึกษาเพิ่มเติม - จำแนกชนิดและจำนวนต้นที่พบ ขั้นตอนการประสานงาน (M2) - ประสานงานกับคณะทำงาน
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล (V1) - สรุปจำนวนชนิดและจำนวนต้นไม้ที่พบ - ประเมินผลการปฏิบัติงานโดยใช้แบบสอบถามและแบบประเมิน ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2) - จัดทำเล่มรายงานให้ อพ.สธ. ตรวจและพิจารณาผลการดำเนินงาน - รายงานผลการปฏิบัติงานและนำข้อมูลมาปรับปรุงพัฒนางานต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 2000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/1/2568     ถึงวันที่ 15/8/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวศรัณย์ภรณ์ เสนาวงศ์

   รวม 4 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 126,360.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 126,360.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มบริหารงานวิชาการ/โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
เกิดความร่วมมือร่วมใจภายในโรงเรียน และโรงเรียนกับชุมชน เป็นแหล่งข้อมูลพืชพรรณ และภูมิปัญญาท้องถิ่นเชื่อมต่อกันด้วยระบบข้อมูลศึกษาค้นคว้าเกิดผู้เชี่ยวชาญ เกิดผลงานทางวิชาการ ผู้ปฏิบัติจะรู้จักใช้สื่อกับธรรมชาติที่มีอยู่รอบตัว ในการเรียนรู้ รู้จักตั้งคำถาม หาคำตอบ ช่างสังเกต และค้นคว้า มีจิตใจอ่อนโยน รู้จักการคิดและการทำงานอย่างเป็นระบบและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เห็นคุณและรู้ค่า ทำให้เกิดความรักในพืชพรรณไม้ไม่คิดทำลาย และมีแนวคิดที่จะอนุรักษ์สืบไป
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 1-27-6
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ชื่อโครงการ บริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
ข้อที่ 4. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา
ข้อที่ 6. การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 3. ปรับกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้ทันสมัยและหลากหลาย
ข้อที่ 5. ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ข้อที่ 9. เพิ่มโอกาสและสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 4. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
ข้อที่ 3. ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย
ข้อที่ 6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและจัดการเรียนรู้
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรูที่เอื้อต่อการเรียนรู้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 5. ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 2. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนทุกคน
ข้อที่ 3. ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 4. เป็นพลเมืองที่ดี
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายไพรัชน์ จารุจิระวงศ์

1. หลักการและเหตุผล

           โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ได้รับการจัดสรรเงินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้าน ICT ประจำปีงบประมาณ 2568 สำหรับเป็นค่าใช้จ่ายในการ เช่าใช้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต สำหรับให้บริการแก่นักเรียนในการสืบค้นข้อมูล การท่องโลกกว้างทางอินเตอร์เน็ตผ่านแหล่งเรียนรู้ ออนไลน์ของนักเรียน โดยมีการทำสัญญาเช่าใช้บริการกับผู้ให้บริการอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นเพื่อให้การบริหารเงินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้าน ICT ดำเนินไปตามระเบียบ ถูกต้องเป็นปัจจุบันและสามารถตรวจสอบได้ รวมถึงงานการจัดเรียนการสอน และการปฏิบัติงานต่างๆ ภายใน โรงเรียน อำนวยความสะดวกในการใช้งานระบบอินเตอร์เน็ตสำหรับนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม เพื่อประสิทธิภาพและความคล่องตัวในการบริหารจัดการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จึงได้จัดทำโครงการบริหารเงินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้าน ICT ประจำปีงบประมาณ 2568 เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน และการจัดการเรียนการสอนต่อไป ตามแผนอย่างมีประสิทธิภาพ โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและแนวพระราโชบายด้านการศึกษาเป็นหลักในการดำเนินโครงการ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้การบริหารเงินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นไปตามรายการที่ได้รับจัดสรร ในปีงบประมาณ 2568
2. เพื่อควบคุมการเบิกจ่ายเงินค่าเช่าใช้บริการสัญญาณและเครือข่ายอินเตอร์เน็ตของโรงเรียนกับผู้ให้เช่าสัญญาณเป็นไปตามวงเงินที่ได้รับ

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    โรงเรียนสามารถควบคุมการเบิกจ่ายเงินค่าเช่าใช้สัญญาณอินเตอร์เน็ตได้ตามสัญญาร้อยละ 100
  วิธีการประเมิน
    1.การตรวจสอบเอกสารหลักฐาน
1) สัญญาการเช่าใช้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ตระหว่างโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมกับบริษัทที่ให้บริการ
2) หลักฐานการเบิกจ่ายเงินค่าเช่าใช้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ตตามสัญญา
3) บัญชีคุมเงินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้าน ICT
2. ตรวจสอบคุณภาพสัญญาณอินเตอร์เน็ต / การใช้งานสัญญาณอินเตอร์เน็ต
  เครื่องมือ
    1) สัญญาเช่าใช้บริการอินเตอร์เน็ต
2) ใบแจ้งหนี้ค่าเช่าใช้บริการอินเตอร์เน็ต
3) เอกสารการเบิกจ่ายเงิน
4) บัญชีคุมเงินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้าน ICT
  เชิงคุณภาพ
    โรงเรียนสามารถบริหารเงินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้าน ICT ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  วิธีการประเมิน
    1.ตรวจสอบการใช้เงินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้าน ICT ตามวงเงินที่ได้รับ
2.ตรวจสอบการเบิกจ่ายเงินตามกำหนดเวลาในสัญญาการเช่าใช้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต
3.การตรวจสอบจากหน่วยตรวจสอบภายใน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี
4.ตรวจสอบคุณภาพสัญญาณอินเตอร์เน็ต /การใช้งานสัญญาณอินเตอร์เน็ต
  เครื่องมือ
    1.สัญญาการเช่าใช้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต
2.ใบแจ้งหนี้ค่าใช้บริการ
3.การใช้งานสัญญาณอินเตอร์เน็ต

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2567          ถึงวันที่ : 20/9/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การบริหารจัดการเงินกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านICT (ค่าอินเตอร์เน็ต)
  ขั้นเตรียมการ 1.ประมาณการเงินกิจกรรมพัฒนาผ็เรียนด้าน ICT ประจำปีงบประมาณ 2568
2.ประชุมกับผู้ดูแลระบบอินเตอร์เน็ตของโรงเรียนเพื่อหาข้อมูลเกี่ยวกับการใช้สัญญาณและเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เพื่อนำไปแจ้งให้ผู้ให้บริการคู่สัญญา ปรับปรุงแก้ไขพัฒนาการให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต
3.ประสานกับผู้ให้บริการสัญญาณและเครือข่ายอินเตอร์เน็ตในการปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาคุณภาพการให้บริการ
  ขั้นดำเนินการ 1.ทำสัญญาการเช่าใช้สัญญาณและเครือข่ายอินเตอร์เน็ตกับบริษัทผู้ให้บริการ
2.เขียนโครงการเสนอขอใช้เงินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้าน ICT
3.ดำเนินการเบิกจ่ายค่าเช่าใช้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ตตามงวดเงิน ตามใบแจ้งหนี้ ภายใต้สัญญาเช่าสัญญาณอินเตอร์เน็ต
4.เก็บเอกสารหลักฐานให้เป็นระบบเพื่อการตรวจสอบ
  ขั้นสรุป 1.ประเมินผลการให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต และเครือข่ายของผู้ให้บริการ
2.สรุปผลการใช้จ่ายเงินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้าน ICT
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 185000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ อาเรียน 6 หลัง และอาคารพิเศษ 9 หลัง ภายในโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2567     ถึงวันที่ 20/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นายไพรัชน์ จารุจิระวงศ์ หัวหน้างานการเงิน โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
    กิจกรรมที่ 2    การอบรมให้ความรู้ด้านเทคโนโลยี
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
-จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการ
-ประชุมหารือชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
-แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
-บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม
-ดำเนินกิจกรรม
ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
-ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
-สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
-รายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 27000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 20/5/2568     ถึงวันที่ 31/7/2568
  ผู้รับผิดชอบ นายก่อกิจ ธีราโมกข์

   รวม 2 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 212,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 212,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1.งานกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
2. งานการเงินและบัญชี กลุ่มบริหารงานงบประมาณ
3. งานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา กลุ่มบริหารงานวิชาการ
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม สามารถบริหารจัดการเงินกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้าน ICT ได้อย่างมีประสิทธิภาพ คุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีความสามารถในการใช้งานระบบอินเตอร์เน็ต และฉลาดรู้ด้านดิจิตัล
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
มีความเสี่ยงน้อย เพราะมีระเบียบการใช้จ่ายเงินกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนควบคุมอย่างชัดเจน

 

 

รหัสโครงการ 1-04-4
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานทะเบียนนักเรียน
ชื่อโครงการ พัฒนางานทะเบียนนักเรียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ -
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและจัดการเรียนรู้
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 6. ส่งเสริมกระบวนการการบริหารจัดการสถานศึกษาด้วยระบบคุณภาพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 4. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายศักดิ์สิทธิ์ ใจผ่อง

1. หลักการและเหตุผล

           การจัดทำงานทะเบียนของโรงเรียนมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาการเรียนการสอนในปัจจุบันที่เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง การเรียนรู้ โดยนำผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนทุกคน ไปจัดทำเป็นเอกสารให้กับนักเรียนทั้งที่กำลังเรียนอยู่และจบการศึกษาไปแล้วที่ สำคัญคือเป็นงานที่จัด เก็บข้อมูลต่างๆของนักเรียนในด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไว้และพร้อมที่จะออกเอกสารที่สำคัญของ นักเรียนให้กับนักเรียนตลอดไป

งานทะเบียนนักเรียน โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จึงจัดทำโครงการพัฒนางานทะเบียน นักเรียน เพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์ ได้แก่การเก็บรวบรวม ข้อมูล การวิเคราะห์ และนำเสนอข้อมูลสารสนเทศในสื่อเทคโนโลยีและ สื่อต่างๆ ให้ นักเรียน ครู ผู้ปกครอง ทราบถึง สารสนเทศ,ข้อมูลและแนวทาง การพัฒนาการเรียน ของนักเรียน ร่วมกันกับทุกฝ่าย ที่เกี่ยวข้อง ตลอด จนการจัดทำเครื่องมือ ที่บ่งชี้ผลการเรียนของนักเรียน อย่างเป็นระบบ ถูกต้อง ตรวจสอบได้ และเผยแพร่ต่อไป สู่ชุมชน โดยอาศัย เทคโนโลยี สารสนเทศเป็นเครื่องมือในการทำงาน


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- เป็นเลิศวิชาการ
- -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้มีการจัดระบบการบันทึก การรายงานผล และการส่งต่อข้อมูลของผู้เรียน
2. เพื่อให้ผู้เรียนมีเอกสารสำคัญแสดงวุฒิการศึกษา เพื่อการศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพ

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนมีเอกสารที่ใช้ในการศึกษาต่อ หรือประกอบอาชีพ 100%
2. นักเรียนทุกคนมีเอกสารสำคัญที่แสดงความรู้/วุฒิการศึกษา 100%
  วิธีการประเมิน
    จากข้อมูลจำนวนนักเรียนที่จบการศึกษา
  เครื่องมือ
    รายงานจำนวนนักเรียนที่จบการศึกษา
  เชิงคุณภาพ
    1. โรงเรียนมีข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาที่สมบูรณ์แบบ
2. โรงเรียนมีการจัดกระทำข้อมูลสารสนเทศที่รวดเร็วและถูกต้อง
  วิธีการประเมิน
    การสำรวจ
  เครื่องมือ
    แบบสำรวจ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 9/10/2567          ถึงวันที่ : 30/9/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การพัฒนางานทะเบียน
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- แผนงาน/โครงการ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- คำสั่งการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- สำรวจวัสดุที่ต้องการใช้
- จัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- รายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- ประเมินการใช้งาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 30000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ห้องทะเบียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 9/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นายศักดิ์สิทธิ์ ใจผ่อง

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 30,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 30,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มบริหารงานวิชาการ และคณะครูโรงเรียนท่ามะกาวิทยา่คม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนทุกคนมีเอกสารแสดงวุฒิการศึกษาครบถ้วนตามความต้องการใช้และมีความถูกต้องครบถ้วน
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
การชำรุดของอุปกรณ์ ในช่วงเวลาการจัดทำเอกสารการจบการศึกษา ทำให้จัดทำเอกสารติดขัด ล่าช้ากว่ากำหนดเวลา

 

 

รหัสโครงการ 1-07-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
ชื่อโครงการ ส่งเสริมการจัดทำงานวิจัยในชั้นเรียนเเละวิจัยระดับโรงเรียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 2. การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 3. ปรับกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้ทันสมัยและหลากหลาย
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
ข้อที่ 3. มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 3. ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูสร้างและพัฒนางานวิจัย และนวัตกรรม ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 3. ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 1. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวปารมี ศิริตะรินทร์

1. หลักการและเหตุผล

           ในปัจจุบันได้มีการวิจัยทางด้านการศึกษาเพื่อสร้างและพัฒนาผลผลิต นวัตกรรม อันก่อให้เกิดประโยชน์ในการ ปรับปรุง แก้ไข และนำไปสู่การปฏิบัติในสภาพจริง ทั้งนี้อาจกล่าวได้ว่าการวิจัยและพัฒนานั้นเป็นการสืบค้นวิธีการแก้ปัญหา ด้วย กระบวนการวิจัย แล้วนำผลมาแก้ปัญหาในการปฏิบัติ โดยใช้นวัตกรรมเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งซึ่งถ้านวัตกรรมดังกล่าวมี คุณภาพดี จะสามารถแก้ปัญหาในการจัดการเรียนการสอนได้ ซึ่งสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ระบุแนวการจัดการศึกษาไว้ในหมวด 4 (มาตรา 22 – 30) เกี่ยวกับหลักสูตรการศึกษา การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญและการประเมินผลตามสภาพจริง จึงมีคณะกรรมการปฏิรูปการศึกษาเพื่อรองรับการจัดการศึกษาให้เป็นไปตาม แนวทางดังกล่าว ซึ่งเกี่ยวข้องกับครูผู้สอนโดยตรง

ดังนั้นครูในยุคปัจจุบันจึงต้องปรับเปลี่ยนบทบาทให้เป็นผู้รอบรู้และสามารถทำวิจัย ได้ การวิจัยในชั้นเรียนเป็น นวัตกรรมรูปแบบหนึ่งนำมาใช้เพื่อแก้ปัญหาในชั้นเรียน ประโยชน์ทำวิจัยไม่เพียงแต่จะช่วย พัฒนาการเรียนการสอนให้มี ประสิทธิภาพ แต่ยังช่วยพัฒนาวิชาชีพครูให้มีความเข้มแข็งยิ่งขึ้น และยังสอดคล้องกับการเตรียม ความพร้อมของสถานศึกษา ที่ต้องเตรียมรับการประเมินภายนอกรอบที่สี่จากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา (องค์การมหาชน) ซึ่งกระบวนการวิจัยและนวัตกรรมเป็นส่วนหนึ่งของการประเมินอย่างเป็นระบบ

จากหลักการและเหตุผลที่กล่าวมาข้างต้น โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมจึงเห็นความ สำคัญและความจำเป็นดังกล่าว เพื่อให้ครูและกระบวนการบริหารจัดการของสถานศึกษาเป็นไปอย่างมีระบบ และพัฒนาผู้เรียน ได้เต็มตามศักยภาพ บนพื้นฐาน ความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยให้ครูได้เรียนรู้จากประสบการณ์และการปฏิบัติจริงของ ตนเอง งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ จึงได้จัด ทำโครงการส่งเสริมการจัดทำงานวิจัยในชั้นเรียน โดยใช้แนวคิดและหลักการ ของการทำวิจัยเชิงปฏิบัติการ อันจะ ทำให้ครูได้ รอบรู้ทั้งเนื้อหาวิชาการและวิธีการจัดการเรียนการสอนที่ สอดคล้องกับการ เปลี่ยนแปลงของสังคมและเทคโนโลยี ตามแนวทาง ของการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นไปตามจุดมุ่งหมายที่ต้องการของ หลักสูตร


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- เป็นเลิศวิชาการ
- -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อส่งเสริมให้ครูทำวิจัยในชั้นเรียนโดยใช้กระบวนการ PLC เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
2. เพื่อให้โรงเรียนมีงานวิจัยระดับโรงเรียนอย่างน้อยภาคเรียนละ 1 เรื่อง
3. เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับผู้เรียน

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. ร้อยละ 80 ของครูมีการทำวิจัยในชั้นเรียนโดยใช้กระบวนการ PLC เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในวิชาที่ตนรับผิดชอบ อย่างน้อยภาคเรียนละ 1 เรื่อง
2. โรงเรียนมีงานวิจัยระดับโรงเรียนอย่างน้อยปีการศึกษาละ 1 เรื่อง
3. ร้อยละ80 ของผู้เรียนบรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรการศึกษาอย่างเต็มตามศักยภาพ
  วิธีการประเมิน
    ตรวจติดตามการทำรายงานวิจัยในชั้นเรียนของครู
  เครื่องมือ
    แบบติดตามการส่งรายงานวิจัยในชั้นเรียนของครู
  เชิงคุณภาพ
    1. ครูทุกคนมีผลการประเมินงานวิจัยในชั้นเรียน โดยใช้กระบวนการ PLC หรือ การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในวิชาที่ตนรับผิดชอบอยู่ในระดับผ่านขึ้นไป
2. โรงเรียนมีงานวิจัยระดับโรงเรียนที่เกิดจากความร่วมมือของครูในทุกระดับชั้นเรียน
3. ผู้เรียนบรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรการศึกษาอย่างเต็มตามศักยภาพ
  วิธีการประเมิน
    ประเมินผลการดำเนินงานด้วยแบบประเมิน
  เครื่องมือ
    แบบประเมินผลการดำเนินงาน

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 8/10/2567          ถึงวันที่ : 30/9/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การจัดทำงานวิจัยระดับโรงเรียน
  ขั้นเตรียมการ 1. ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินโครงการส่งเสริมการจัดทำงานวิจัยในชั้นเรียนและวิจัยระดับโรงเรียน เพื่อวิเคราะห์โครงการและกำหนดทิศทางการดำเนินงาน
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- จัดทำคำสั่งและแต่งตั้งผู้รับผิดชอบกิจกรรมการจัดทำงานวิจัยระดับโรงเรียน
  ขั้นดำเนินการ 3. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
- คณะกรรมการดำเนินกิจกรรมตามแผนที่วางไว้
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- มีการประสานงานร่วมกันระหว่างคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายบริหาร เพื่อให้กิจกรรมส่งเสริมการจัดทำงานวิจัยระดับโรงเรียน ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  ขั้นสรุป 5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมการจัดทำงานวิจัยระดับโรงเรียน
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- สรุป รายงานผล ปรับปรุง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อนำผลการประเมินมาปรับปรุงกิจกรรมการจัดทำงานวิจัยระดับโรงเรียน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 8/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวปารมี ศิริคะรินทร์
    กิจกรรมที่ 2    ส่งเสริมการจัดทำงานวิจัยในชั้นเรียน
  ขั้นเตรียมการ 1. ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินโครงการส่งเสริมการจัดทำงานวิจัยในชั้นเรียนและวิจัยระดับโรงเรียน เพื่อวิเคราะห์โครงการและกำหนดทิศทางการดำเนินงาน
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- จัดทำคำสั่งและแต่งตั้งผู้รับผิดชอบกิจกรรมส่งเสริมการจัดทำงานวิจัยในชั้นเรียน
  ขั้นดำเนินการ 3. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
- คณะกรรมการดำเนินกิจกรรมตามแผนที่วางไว้
- ครูดำเนินการตามกระบวนการ PLC และดำเนินการทำการวิจัยในชั้นเรียน
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- มีการประสานงานร่วมกันระหว่างคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายบริหาร เพื่อให้กิจกรรมส่งเสริมการจัดทำงานวิจัยในชั้นเรียน ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  ขั้นสรุป 5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- ผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพของงานวิจัยในชั้นเรียนและคัดเลือกงานวิจัยที่มีคุณภาพ
- ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมส่งเสริมการจัดทำงานวิจัยในชั้นเรียน
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- สรุป รายงานผล ปรับปรุง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อนำผลการประเมินมาปรับปรุงกิจกรรมส่งเสริมการจัดทำงานวิจัยในชั้นเรียน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 8/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวปารมี ศิริคะรินทร์

   รวม 2 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คณะครูโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ครูทุกคนมีรายงานวิจัยในชั้นเรียนโดยใช้กระบวนการ PLC และรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในวิชาที่ตนรับผิดชอบเพื่อใช้ประกอบในการเลื่อนวิทยฐานะ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 1-17-4
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาและวัฒนธรรม
ชื่องาน งานจัดการเรียนการสอน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 1. การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 2. จัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และประชาธิปไตย
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 3. ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
ข้อที่ 4. เป็นพลเมืองที่ดี
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวขวัญจิตร ยิ่งยวด

1. หลักการและเหตุผล

           <นโยบายการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2552 ได้ดำเนินนโยบายด้านคุณภาพการศึกษา ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับการศึกษาที่ มี คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ครูสามารถจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพและให้ความสำคัญกับ พื้น ฐานและศักยภาพของผู้เรียน มีการจัดตารางเรียน และ มีการนิเทศการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูในกลุ่ม สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นในการใช้จัดทำสื่อนวัตกรรมทางการศึกษา และพัฒนาห้องศูนย์การเรียนรู้เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอน ได้มีแหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสม การดำเนินงานในงานจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในทุกกิจกรรม จะ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง p style="text-indent: 2.5em;">กรณีต้องการย่อหน้าที่ 2


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อพัฒนาจัดการเรียนการสอน
2. เพื่อปรับปรุงวัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
3. เพื่อพัฒนาห้องศูนย์การเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1.ครูทุกคนของกลุ่มสาระการะเรียนรู้สังคมศึกษา มีตารางการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมทั้ง 2 ภาคเรียน และได้รับการนิเทศ 2 ครั้งต่อภาคเรียน 2. วัสดุอุปกรณ์ต่างๆของห้องศูนย์การเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมได้รับการปรับปรุงอย่างน้อย 1 ห้อง
3. ครูของกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษามีวัสดุ อุปกรณ์อย่างเพียงพอที่จะใช้พัฒนาสื่อ นวัตกรรมการศึกษา
  วิธีการประเมิน
    การสอบถาม
  เครื่องมือ
    แบบสอบถาม
  เชิงคุณภาพ
    1. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมมีการจัดตารางการจัดการเรียนการสอนและการนิเทศที่เหมาะสม
2. วัสดุอุปกรณ์ของห้องศูนย์ของกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ได้รับการปรับปรุงให้เหมาะสมพร้อมใช้
3. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาใช้วัสดุอุปกรณ์ในการพัฒนาสื่อ นวัตกรรมได้อย่างเหมาะสม
  วิธีการประเมิน
    สำรวจความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    แบบประเมินความพึงพอใจ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 10/10/2567          ถึงวันที่ : 10/10/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การจัดตารางเรียนของกลุ่มสาระฯสังคมศึกษา
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) -สำรวจรายวิชาที่เปิดสอน -ประชุมครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อสอบถามข้อมูล ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) -เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) -กำหนดรายวิชาที่ครูในกลุ่มสาระต้องรับผิดชอบ -จัดทำโหลด และปรับแก้ไข ตามที่ฝ่ายวิชาการกำหนด ขั้นตอนการประสานงาน(M2) -ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) -สอบถามความพึงพอใจของครูที่รับผิดชอบสอนในแต่ละรายวิชา ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) -รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 10/10/2567     ถึงวันที่ 9/11/2567
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวขวัญจิตร ยิ่งยวด
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมการนิเทศการสอน
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) -กำหนดครูผู้นิเทศของกลุ่มสาระการเรียนรู้ 2 ครั้ง / ภาคเรียน -จัดกลุ่มการนิเทศว่าผู้นิเทศจะต้องนิเทศใครบ้าง และรับการนิเทศจากใคร ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) -เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) -กำหนดวัน เวลาในการนิเทศ -นิเทศการสอนตามวันเวลาที่กำหนด ภาคเรียนละ 2 ครั้ง ขั้นตอนการประสานงาน(M2) -ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) -ส่งแบบนิเทศให้ฝ่ายวิชาการ -สอบถามความพึงพอใจของครู ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) -รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 10/10/2567     ถึงวันที่ 9/11/2567
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวขวัญจิตร ยิ่งยวด และคณะ
    กิจกรรมที่ 3    การปรับปรุงในห้องศูนย์การเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) -ประชุมคณะกรรมการของกลุ่มสาระการเรียนรู้ -เลือกห้องศูนย์การเรียนรู้ที่ควรได้รับการพัฒนาเร่งด่วน -เสนอกิจกรรมเพื่อขอบประมาณ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) -บันทึกขอใช้งบประมาณเพื่อดำเนินกิจกรรมตามโครงการ -จัดจ้างเพื่อซ้อมแซมวัสดุอุปกรณ์ที่ชำรุด หรือจัดซื้อวุสดุอุปกรณ์ที่ขาดแคลนเพื่อนำไปใช้ในห้องศูนย์การเรียนรู้ ขั้นตอนการประสานงาน(M2) -ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) -สรุปกิจกรรม ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) -รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 20000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ห้องศูนย์การเรียนรู้อาเซียน
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 10/10/2567     ถึงวันที่ 9/11/2567
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวขวัญจิตร ยิ่งยวด และคณะ
    กิจกรรมที่ 4    จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ ในการจัดการเรียนการสอน
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) -ประชุมคณะกรรมการของกลุ่มสาระการเรียนรู้ -เสนอกิจกรรมเพื่อของบประมาณ -สอบถามสมาชิกถึงความต้องการใช้วัสดุอุปกรณ์ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) -บันทึกขอใช้งบประมาณเพื่อดำเนินกิจกรรมตามโครงการ -จัดจัดซื้อวุสดุอุปกรณ์ที่ขาดแคลนเพื่อนำไปใช้ในห้องศูนย์การเรียนรู้ ขั้นตอนการประสานงาน(M2) -ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) -สรุปกิจกรรม ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) -รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 18320 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 10/10/2567     ถึงวันที่ 9/11/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวขวัญจิตร ยิ่งยวด และคณะ

   รวม 4 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 38,320.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 38,320.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ฝ่ายวิชาการ
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จัดการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสม พัฒนาผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ

 

 

รหัสโครงการ 1-29-6
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ชื่อโครงการ ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม (ค่ายคุณธรรม) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 5. ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 6. มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 3. การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความปลอดภัยจากภัยทุกรูปแบบ
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 4. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวกมลชนก หาดรื่น

1. หลักการและเหตุผล

           สภาพของสถานการณ์ในสังคมไทยต้องเผชิญกับความท้าทายของความเสื่อมโทรมทาง จิตใจ และศีลธรรมที่สะสมมา ตั้งแต่ใน อดีตเรื่อยมาจนถึงขั้นเสื่อมโทรมมากยิ่งขึ้นในปัจจุบัน อันมีสาเหตุมาจากสภาพ แวดล้อม ภายในสังคมที่เปลี่ยนแปลง ไป จาก อดีตกาลส่งผลกระทบกับจิตใจของมนุษย์ในสังคมทำให้ขาดศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม และ ค่านิยมที่พึงประสงค์ อัน เป็น แก่น แท้หลักในการดำรงชีวิตว่าควรจะเป็นอย่างไร ทำให้พฤติกรรมการแสดงออก ในสังคมไทยบาง ครั้งอยู่ในภาวะสับสน ขาดจุด ยื่น ที่มั่นคงถูกต้อง และแสดงบทบาทที่ขาดการนำเอาสาระที่มีคุณค่าจากหลัก การทางศาสนาเป็น เครื่องประกอบในการ ตัดสินใจ ในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่กำลังเผชิญอยู่

การจะแก้ปัญหาในภาวการณ์เปลี่ยนแปลงของ สังคม และค่านิยม จำเป็นอย่างยิ่งที่จะ ต้อง จัดการศึกษาโดยการปลูก ฝังคุณธรรม จริยธรรม ให้แก่เยาวชนและประชาชนใน ประเทศให้มีจิตสำนึกในทางที่ดี และกล้า ที่จะ ทำแต่ในสิ่งที่ดี เป็นความถูก ต้อง และเป็นธรรม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ครูที่ปรึกษา ชั้นม.4 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จึง ได้จัดทำ กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม (ค่ายคุณธรรม)โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ นักเรียนเข้าร่วมโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม(ค่ายคุณธรรม) และมีความพึงพอใจที่ดีในการเข้าร่วมโครงการส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรม(ค่ายคุณธรรม)


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - ร่วมรับผิดชอบสังคมโลก
-
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เข้าร่วมโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม (ค่ายคุณธรรม)
2. เพื่อให้นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม (ค่ายคุณธรรม)

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนชั้น ม.4 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม เข้าร่วมโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม (ค่ายคุณธรรม) ร้อยละ 90
  วิธีการประเมิน
    1. ให้นักเรียนลงทะเบียนการเข้าร่วมกิจกรรมลงในใบเช็คชื่อ
  เครื่องมือ
    1. ใบลงทะเบียนนักเรียน
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนชั้น ม.4 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ร้อยละ 90 มีความพึงพอใจที่ดีต่อการเข้าร่วมโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม (ค่ายคุณธรรม)
  วิธีการประเมิน
    1. ให้นักเรียนทำแบบประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม
  เครื่องมือ
    1. แบบประเมินความพึงพอใจ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 16/5/2568          ถึงวันที่ : 31/7/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม (ค่ายคุณธรรม) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
  ขั้นเตรียมการ 1. ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
1.1 ประชุมวางแผน ขออนุมัติโครงการ และแต่งตั้งคณะกรรมการ
1.2 ประชุมชี้แจงครูและนักเรียน
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
2.1 จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม (ค่ายคุณธรรม)
  ขั้นดำเนินการ 3.ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
3.1 บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม
3.2 ติดต่อวิทยากร
3.3 ทำหนังสือเชิญวิทยากร,หนังสือแจ้งผู้ปกครองนักเรียน เตรียมอุปกรณ์ในการอบรม
3.4 ตารางการอบรม
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
4.1 ทำบันทึกรายชื่อผู้เข้าร่วมอบรม
4.2 ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม
  ขั้นสรุป 5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
5.1 ทำแบบประเมินความพึงพอใจ
5.2 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
6.1 บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินโครงการ
6.2 สรุปรูปเล่มรายงานโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 50020 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ หอประชุมสุทินศักดิ์ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 16/5/2568     ถึงวันที่ 31/7/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวกมลชนก หาดรื่น

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 50,020.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 50,020.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คณะครู นักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนมีความเลื่อมใส ศรัทธา ในพระพุทธศาสนา โดยนำหลักธรรมมาใช้ในการดำเนินชีวิต และปฏิบัติตนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี จะทำให้ตนเองและสังคมมีแต่ความสุข และเจริญก้าวหน้า
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคต่าง ๆ อาจทำให้นักเรียนป่วย และเข้าร่วมกิจกรรมไม่ครบ

 

 

รหัสโครงการ 1-17-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาและวัฒนธรรม
ชื่อโครงการ ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 1. การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ
ข้อที่ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 1. ปลูกฝังความรักในสถาบันหลักของชาติ และน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติ
ข้อที่ 2. จัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และประชาธิปไตย
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 2. ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
ข้อที่ 3. การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 1. มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 3. ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 1. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
ข้อที่ 4. เป็นพลเมืองที่ดี
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางกาญจนาณ์ สังคต

1. หลักการและเหตุผล

          ในปัจจุบันสถานการณ์ของโลกในยุคโลกาภิวัฒน์ ความเจริญทางด้านวัตถุทำให้คนนิยมความสะดวกสบาย รวดเร็ว พึงพอใจต่อการเป็นผู้ บริโภคนิยม สภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลงเกิดกระแสค่านิยม ที่ทำให้สังคมเกิดความเสื่อม โทรม มีผลกระทบต่อจิตใจและความประพฤติของ เยาวชนที่ไม่เหมาะสม หากไม่ดูแลช่วยเหลือหรือไม่ปลูกฝังจิตสำนึกให้ อยู่ในกรอบของความเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่ดีงาม แล้วจะทำให้นักเรียนซึ่งเป็นเยาวชนที่เจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่นั้นอาจสร้างปัญหาความเดือดร้อนต่อสังคมและประเทศชาติได้ ดังนั้นต้องอาศัย ความร่วมมือจากทุกฝ่ายในการร่วมกันจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ให้นักเรียนเป็นคนดี มีศีลธรรม รู้จักเสียสละเพื่อส่วนรวม รู้จัก ยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่างของคนในสังคม ควบคู่ไปกับการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนินชีวิต ประจำวันด้วย ทั้งนี้เพื่อให้นักเรียนปฏิบัติตนจนเป็นกิจนิสัย และเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีของสังคมต่อไป โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมจึงจัดทำ โครงการส่งเสริมผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนทุกคนในโรงเรียนดำเนินชีวิตอย่างมีคุณธรรม จริยธรรม เป็นคนดีของสังคม รวมถึงการปลูกฝัง ค่านิยมที่ดีงามในการดำเนินชีวิตที่ถูกต้องของนักเรียน
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - ร่วมรับผิดชอบสังคมโลก
-
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร
2. เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่างของคนในสังคม
3.เพื่อให้ผู้เรียนเป็นคนดี มีศีลธรรม และปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่ตนนับถือได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
4. เพื่อให้ผู้เรียนแสดงออกถึงการไหว้ซึ่งเป็นมารยาทไทยได้อย่างถูกต้อง
5. เพื่อส่งเสริมอัตลักษณ์ของโรงเรียน
ุ6. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการดำเนินชีวิตได้

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวทยาคม ร้อยละ 80 มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร
2. นักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ร้อยละ 80 รู้จักยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่างของคนในสังคม
3.นักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ร้อยละ 80 เป็นคนดี มีศีลธรรม และปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่ตนนับถือได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
4.นักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ร้อยละ 80 แสดงออกถึงการไหว้ซึ่งเป็นมารยาทไทยได้อย่างถูกต้อง
  วิธีการประเมิน
    1.จำนวนนักเ้รียนที่เข้าร่วมกิจกรรมสอบธรรมศึกษา
2.จำนวนนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมประกวดมารยาทไทย
3. จำนวนห้องเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม
  เครื่องมือ
    1.แบบสอบถาม
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร
2. นักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่างของคนในสังคม
3.นักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม เป็นคนดี มีศีลธรรม และปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่ตนนับถือได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
4.นักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม แสดงออกถึงการไหว้ซึ่งเป็นมารยาทไทยได้อย่างถูกต้อง
  วิธีการประเมิน
    1.จำนวนผู้เรียนที่สอบผ่านธรรมศึกษาชั้น ตรี โท เอก
2.ร้อยละของนักเรียนที่เข้าร่วมประกวดมารยาทไทย
3.ร้อยละของห้องเรียนที่จัดป้ายนิเทศ
  เครื่องมือ
    1.แบบสอบถาม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/11/2567          ถึงวันที่ : 15/9/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การจัดการเรียนการสอนธรรมศึกษาและการจัดติวธรรมศึกษาในโรงเรียน
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
1.ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางเเผนการดำเนินงาน
2.เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
3.เสนอหนังสือคำสั่งเเต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อเเบ่งหน้าที่รับผิดชอบของเเต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
4.ออกคำสั่งคณะกรรมการดำเนินงาน – จัดสอนธรรมศึกษา – จัดสอบธรรมศึกษา -การจัดติวธรรมศึกษา
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5.ประสานงานกับ ธสร
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
4.ออกคำสั่งคณะกรรมการดำเนินงาน-จัดสอนธรรมศึกษา-จัดสอบธรรมศึกษา-การจัดติวธรรมศึกษา
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5.ประสานงานกับ ธสร
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 40000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 11/10/2567     ถึงวันที่ 22/11/2567
  ผู้รับผิดชอบ นางกาญจนาณ์ สังคต
    กิจกรรมที่ 2    รัก และเทิดทูน ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
1.ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางเเผนการดำเนินกิจกรรม
2.เขียนโครงร่างกิจกรรมเพื่อเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
3.ชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับการจัดป้ายนิเทศและเสียงตามสายประชาสัมพันธ์ต่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
4.ติดต่อคุณครูที่ปรึกษาของนักเรียนแต่ละระดับชั้นเพื่อติดตามงาน
5.ติดต่อครูหัวหน้างานประชาสัมพันธ์เพื่อส่งรายละเอียดและดำเนินงาน
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
ุ6.รายงานผลการดำเนินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 5000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/11/2567     ถึงวันที่ 15/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นายกิตติธัช ติ๊ดเหล็ง
    กิจกรรมที่ 3    ประกวดมารยาทไทย
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
1.ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางเเผนการดำเนินกิจกรรม
2.เขียนกิจกรรมการประกวดมารยาทไทยเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
3.เสนอหนังสือคำสั่งเเต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อเเบ่งหน้าที่รับผิดชอบของเเต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
1. ชี้แจงการจัดกิจกรรมการประกวดมารยาทไทย
2. อบรมให้ความรู้ตัวแทนแต่ละห้องเพื่อให้ความรู้เรื่องมารยาทไทย
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
1.ติดต่อวิทยากรให้ความรู้
2.แต่งตั้งกรรมการประกวดมารยาทไทย
3.จัดป้ายนิเทศให้ความรู้เกี่ยวกับการไหว้ 3 ระดับและมารยาทในด้านต่างๆ
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (V1)
1.รายงานผลการจัดกิจกรรม
ขั้นตอนการประสานงาน(V2)
2.บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 20000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/11/2567     ถึงวันที่ 15/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวสุธานิธ์ แซ่เลี่ยว

   รวม 3 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 65,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 65,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มบริหารงานวิชาการ
2.กลุ่มบริหารงานงบประมาณ
3.วัดพระเเท่นดงรัง
4.วัดดงสัก
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เเละสามารถนำความรู้ไปใช้ใน ชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง
2.นักเรียนรู้จักการไหว้ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ซึ่งเป็นมารยาทไทยที่เป็นวัฒนธรรมการทักทาย เวลาพบปะกันหรือลาจากกัน เป็นการแสดงถึงความมีสัมมาคารวะ และการให้เกียรติซึ่งกันและกัน
3.นักเรียนแสดงออกถึงความรักชาติ ศาสนาพระมหากษัตริย์
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
1.ผลการสอบธรรมศึกษา

 

 

รหัสโครงการ 1-27-5
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ชื่อโครงการ ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม (ค่ายคุณธรรม) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 2. จัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และประชาธิปไตย
ข้อที่ 5. ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 6. มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
ข้อที่ 2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรูที่เอื้อต่อการเรียนรู้
ข้อที่ 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 3. ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
ข้อที่ 4. เป็นพลเมืองที่ดี
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวบุษยมาศ อินทร์พรหม

1. หลักการและเหตุผล

          สภาพของสถานการณ์ในสังคมไทยต้องเผชิญกับความท้าทายของความเสื่อมโทรม ทาง จิตใจ และศีลธรรมที่สะสมมา ตั้งแต่ในอดีตเรื่อยมา จนถึงขั้นเสื่อมโทรมมากยิ่งขึ้นในปัจจุบัน อันมีสาเหตุมาจากสภาพ แวดล้อม ภายในสังคมที่ เปลี่ยนแปลง ไปจากอดีตกาล ส่งผลกระทบกับ จิตใจของมนุษย์ในสังคมทำให้ขาดศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม และ ค่านิยมที่พึงประสงค์ อันเป็นแก่นแท้หลักใน การดำรงชีวิตว่าควรจะเป็น อย่างไร ทำให้พฤติกรรมการแสดงออก ในสังคมไทยบาง ครั้งอยู่ในภาวะสับสน ขาดจุดยื่นที่มั่นคงถูกต้อง และแสดงบทบาทที่ขาด การนำ เอาสาระที่มีคุณค่าจากหลัก การทางศาสนาเป็น เครื่องประกอบในการ ตัดสินใจในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่กำลังเผชิญอยู่ การจะแก้ปัญหา ในภาวการณ์ เปลี่ยนแปลงของสังคม และค่านิยม จำเป็นอย่างยิ่งที่จะ ต้องจัดการศึกษาโดยการปลูก ฝังคุณธรรม จริยธรรม ให้แก่เยาวชน และประชาชนในประเทศให้มี จิตสำนึกในทางที่ดี และกล้า ที่จะทำแต่ในสิ่งที่ดี เป็นความถูก ต้อง และเป็นธรรม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ครูที่ ปรึกษาชั้นม.1 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จึงได้จัดทำกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม (ค่ายคุณธรรม)โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักเรียนเข้าร่วมโครงการส่ง เสริมคุณธรรม จริยธรรม(ค่ายคุณธรรม) และมีความพึงพอใจ ที่ดีในการเข้าร่วมโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม(ค่ายคุณธรรม)
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - ร่วมรับผิดชอบสังคมโลก
-
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1.เพื่อให้นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เข้าร่วมโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม(ค่ายคุณธรรม)
2.เพื่อให้นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม (ค่ายคุณธรรม)

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เข้าร่วมโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม(ค่ายคุณธรรม)ร้อยละ 90
  วิธีการประเมิน
    ลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการ
  เครื่องมือ
    แบบลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการ
  เชิงคุณภาพ
    นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม (ค่ายคุณธรรม)
  วิธีการประเมิน
    ประเมินความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    แบบประเมินความพึงพอใจ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 12/5/2568          ถึงวันที่ : 31/10/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม (ค่ายคุณธรรม) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
  ขั้นเตรียมการ 1.ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1.1ประชุมวางแผน ขออนุมัติโครงการ และแต่งตั้งคณะกรรมการ
1.2ประชุมชี้แจงครูและนักเรียน
2.ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
2.1จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม (ค่ายคุณธรรม)
  ขั้นดำเนินการ 3.ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
3.1บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม
3.2ติดต่อวิทยากร
3.3ทำหนังสือเชิญวิทยากร,หนังสือแจ้งผู้ปกครองนักเรียน เตรียมอุปกรณ์ในการอบรม
3.4ตารางการอบรม
4.ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
4.1ทำบันทึกรายชื่อผู้เข้าร่วมอบรม
4.2ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม
  ขั้นสรุป 5.ขั้นตอนการประเมินผล (V1) 5.1ทำแบบประเมินความพึงพอใจ 5.2สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ 6.ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2) 6.1บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินโครงการ 6.2สรุปรูปเล่มรายงานโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 55400 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 12/5/2568     ถึงวันที่ 30/6/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวบุษยมาศ อินทร์พรหม

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 55,400.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 55,400.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม และชุมชน
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนมีความเลื่อมใส ศรัทธา ในพระพุทธศาสนา โดยนำหลักธรรมมาใช้ในการดำเนินชีวิต และปฏิบัติตนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี จะทำให้ตนเองและสังคมมีแต่ความสุข และเจริญก้าวหน้า
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
งบประมาณอาจไม่เพียงพอต่อจำนวนนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ

 

 

รหัสโครงการ 1-19-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา
ชื่อโครงการ ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนสุขศึกษาและพลศึกษา และพัฒนาศักยภาพนักกีฬา
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 1. ปลูกฝังความรักในสถาบันหลักของชาติ และน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 2. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนทุกคน
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวปวีณา ปูชะพันธ์

1. หลักการและเหตุผล

          

ตามแนวนโยบายของสถานศึกษาและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียน ให้เป็น คนดี มีปัญญา มีความสุข ตลอดจนมุ่งให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพื่อ ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ การพัฒนาคุณภาพเด็กไทยยุคใหม่ ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอน การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระ การเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา การใช้สื่ออุปกรณ์ในการจัดการเรียนรู้ให้พียงพอต่อนักเรียนในการเรียนรู้ ในปีที่ผ่านมาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนเป็นไปตามค่าเป้าหมายที่สถาน ศึกษากำหนด ร้อยละ 89 ของผู้เรียนมีผลการเรียยน 3.00 ขึ้นไป เพื่อให้การจัดการเรียนการสอนมี ประสิทธิภาพมากขึ้น จึงต้องมีการพัฒนาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา และยังต้องจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริม การแสดงความสามารถด้านกีฬา การแสดงออก ความคิดสร้างสรรค์ ความสามัคคีและการทำงานร่วมกัน โดยใช้กิจกรรมการแข่งขันกีฬา ภายในเป็นสื่อให้ทุกคนได้มีส่วนร่วม ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ดำเนินการจัดขึ้นทุกปีกรณีต้องการย่อหน้าที่ 2

นอกจากนี้ยังได้พัฒนา นักเรียนที่มีความเป็นเลิศทั้งทางด้านวิชาการและการกีฬา ให้ได้มีโอกาสเข้าร่วมการแข่งขันในระดับต่างๆ เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ แสดงความสามารถ สร้างชื่อเสียงให้ตนเองและโรงเรียน ผลงานด้านการแข่งขันกีฬาภายนอกในปีที่ผ่านมา มีทั้งที่เป็นเลิศ นักกีฬาได้รับ คัดเลือกให้เป็นตัวแทนจังหวัดไปแข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติจนได้รับรางวัลเหรียญทองและการได้เป็นตัวแทนจังหวัดไปแข่งขันกีฬา นักเรียนในระดับภาค แม้ว่ามีบางชนิดกีฬาที่ยังไม่ประสบผลสำเร็จมากนักแต่ก็มีพัฒนาการความสามารถที่สูงขึ้น จึงต้องทำการเพิ่ม ศักยภาพนักกีฬาให้มีผลงานการแข่งขันที่ดีขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษาจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ในกลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษาเฉลี่ยไม่ต่ำกว่าค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด
2. เพื่อส่งเสริมและพัฒนานักเรียนเป็นตัวแทนนักกีฬาของโรงเรียนเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาภายนอกในระดับต่างๆ

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมที่เรียนวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ร้อยละ 89 มีผลการเรียนเฉลี่ยตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนดในทุกรายวิชา
2. พัฒนานักกีฬาและส่งเข้าร่วมการแข่งขันภายนอก 6 ชนิดกีฬา จำนวน 120 คน
  วิธีการประเมิน
    1.จากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนรายวิชาสุขศึกาาและพลศึกษาทุกรายวิชา ในภาคเรียนที่ 2/67 และภาคเรียนที่ 1/68
2.ผลงานการส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันในรายการต่างๆ
  เครื่องมือ
    1.แบบรายงานสรุปผลสัมฤทธิืทางการเรียนรายวิชาของผู้สอนทุกคน
2.รายงานผลการส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขัน
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมที่เรียนวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา มีผลการเรียนระดับ 3.00 ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 89 ในทุกรายวิชา
2. นักกีฬาตัวแทนโรงเรียนประเภทต่างๆ มีศักยภาพเพียงพอที่จะส่งเข้าแข่งขันได้และมีผลงานเป็นที่น่าพึงพอใจร้อยละ 70 ขึ้นไป
  วิธีการประเมิน
    1.สรุปค่าร้อยละนักเรียนจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกรายวิชาในกลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา
2.ผลงานจากการเข้าร่วมการแข่งขันรายการต่าง ๆและประเมินความพึงใจในผลงานการแข่งขันของผู้ฝึกสอนและนักกีฬา
  เครื่องมือ
    1.แบบรายงานสรุปผลสัมฤทธิืทางการเรียนรายวิชาของผู้สอนทุกคน
2.แบบประเมินความพึงพอใจ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 6/10/2567          ถึงวันที่ : 30/9/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    จัดซื้ออุปกรณ์การรียนการสอนสุขศึกษา พลศึกษาและวัสดุสำนักงาน
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1.ประชุม เตรียมความพร้อม
2.บันทึกขออนุมัติการดำเนินงานตามแผน
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3.ชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง
4.สำรวจข้อมูลวัสดุ อุปกรณ์ที่จำเป็นต้องซื้อ
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- ติดต่องานพัสดุในการดำเนินการจัดซื้อ
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
1.ประสานงานกับทุกฝ่าย
2.จัดซื้ออุปกรณ์กีฬาที่จำเป็นต้องใช้และยังไม่เพียงพอ
3.จัดซื้อวัสดุในการจัดทำสื่อการเรียนการสอนสุขศึกษาและพลศึกษา
4.นำไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- ประเมินความพึงพอใจ และสรุปรายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานการดำเนินการตามโครงการให้ฝ่ายบริหารทราบ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 28310 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/3/2568     ถึงวันที่ 15/6/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวปวีณา ปูชะพันธ์
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมการแข่งขันกีฬาภายในโรงเรียน ประจำปีการศึกษา 2568
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1.ประชุมคณะทำงาน
2.กำหนดปฏิทินการปฏิบัติงาน
3.เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
1.ชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง
2.สำรวจข้อมูลวัสดุ อุปกรณ์ที่จำเป็นต้องซื้อ
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
1.จัดทำคำสั่งคณะกรรมการดำเนินงานการแข่งขันกีฬาภายใน
2.จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้
3.ดำเนินการจัดกิจกรรมการแข่งขันในระหว่างวันที่ 27-29 สิงหาคม 2568
4.สรุปผลการดำเนินการ
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
1.ประสานงานกับทุกฝ่าย
2.จัดซื้อวัสดุที่จำเป็นต้องใช้ในการจัดกิจกรรม
3.จัดซื้ออุปกรณ์กีฬาที่จำเป็นต้องใช้และยังไม่เพียงพอ
4.ดำเนินการจัดกิจกรรมการแข่งขันกีฬาภายในประจำปีการศึกษา 2568
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- ประเมินผลการดำเนินการจัดกิจกรรม เพื่อพัฒนาการจัดกิจกรรมในครั้งต่อไป
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการดำเนินงานให้ฝ่ายบริหารทราบ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 90680 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 19/5/2568     ถึงวันที่ 15/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวบุษรารัตน์ แก้วสอาด
    กิจกรรมที่ 3    ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพนักกีฬาเพื่อส่งแข่งขันกีฬาภายนอก
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
-ประชุมคณะทำงานวางแผนการดำเนินงาน
-บันทึกขออนุมัติการดำเนินงานตามแผน
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
-ประชุมแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบแต่ละกิจกรรม
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
1. เตรียมนักเรียนตัวแทนที่มีความสามารถทั้งด้านวิชาการและด้านกีฬา
2. จัดซื้อชุดสำหรับการแข่งขันกีฬา และวัสดุ อุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้ในการแข่งขันกีฬา
3. ส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันในรายการต่างๆ ที่ได้รับการอนุญาตให้ส่งแข่งขัน
4. ดำเนินการเบิกค่าใช้จ่าย เช่น เบี้ยเลี้ยงนักกีฬา ค่าจ้างเหมารถรับ - ส่ง ฯลฯ
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประสานงานกับทุกฝ่าย
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
-ประเมินผลการดำเนินโครงการ หาข้อบกพร่องเพื่อนำไปพัฒนาแก้ไขต่อไป
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
-สรุปรายงานผลการดำเนินการให้ฝ่ายบริหารทราบ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 37200 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 6/10/2567     ถึงวันที่ 25/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นายจีระศักดิ์ กลมวง

   รวม 3 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 156,190.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 156,190.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1. งานการเงินและพัสดุ ฝ่ายงบประมาณ
2. ฝ่ายวิชาการ
3.งานอาคารสถานที่
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
2.ผู้เรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมและแสดงศักยภาพตามความสามารถ ความถนัดและความสนใจในกิจกรรมการแข่งขันกีฬา
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
1.งบประมาณไม่เพียงพอในการดำเนินการ
2.การเลื่อนหรือยกเลิกการจัดกิจกรรมการแข่งขันกีฬาจากสถานการณ์หรือเหตุจำเป็นอื่น

 

 

รหัสโครงการ 1-20-5
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ชื่อโครงการ การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (วิชาดนตรีไทย)
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
ข้อที่ 5. การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 5. ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
ข้อที่ 6. มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 2. ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 2. ส่งเสริมให้นักเรียนและสนับสนุนให้นักเรียนมีทักษะในการประกอบอาชีพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 2. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนทุกคน
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 4. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 4. เป็นพลเมืองที่ดี
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวณัฐกาญจน์ จานแก้ว

1. หลักการและเหตุผล

           ตามแนวนโยบายของสถานศึกษาและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้ เป็น คน ที่สมบูรณ์ มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์และ สังคม สามารถ พัฒนาตนเองและร่วมมือกับผู้ อื่นได้ อย่างสร้างสรรค์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นการส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ มี จินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม สุนทรียภาพความมีคุณค่า ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์ การจัดการจัดการเรียนรู้ของ กลุ่มสาระศิลปะ สาระดนตรี เน้นกระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบปฏิบัติ ควบคู่กับ ทฤษฎี เพื่อการพัฒนากระบวนการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน การฝึกทักษะและช่วยพัฒนานักเรียนทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม ตลอดจนการ พัฒนาการเรียนการสอน ซึ่งจากการจัดทำโครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้ เรียนเป็นสำคัญ (วิชาดนตรีไทย) ประจำปี การศึกษา 2565 ที่ผ่านมา พบว่าผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการ จัดโครงการดังกล่าว โดยภาพรวมอยู่ใน ระดับมากที่สุด จึงทำให้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ตระหนักถึงความสำคัญของ โครงการดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการก พัฒนาการจัดการเรียนรู้ และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (วิชาดนตรีไทย) ขึ้น เพื่อพัฒนาผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้น จำเป็นต้องมีการเตรียมความพร้อมทั้งทางด้าน วัสดุ อุปกรณ์ เอกสารประกอบการ เรียน สื่อในการเรียนการสอน เพื่อใช้ในการสนับสนุนทางการศึกษา ตลอดจนการปฏิบัติ กิจกรรมหรือผลการจัดกิจกรรมต่างๆ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา และน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพียงของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน

กรณีต้องการย่อหน้าที่ 2


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - ร่วมรับผิดชอบสังคมโลก
-
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้ครูและผู้เรียนได้มีเครื่องดนตรีไทย ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เพียงพอต่อความต้องการ
2. เพื่อส่งเสริมทักษะความสามารถให้กับผู้เรียนที่มีความสนใจทางด้านดนตรีไทย
3. เพื่อให้ผู้เรียนได้แสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ เห็นคุณค่าของดนตรีและ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
4. เพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับผู้เรียนที่มีต่อการเรียนการสอนวิชาศิลปะ (ดนตรี )

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนทุกคนได้มีเครื่องดนตรีไทย ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เพียงพอต่อความต้องการ
2. ครูผู้สอน 1 คน มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะความสามารถให้กับนักเรียนที่มีความสนใจทางด้านดนตรีไทย
3. ร้อยละ 90 ของผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนวิชาศิลปะ (ดนตรี )
4. ข้อความ.......
  วิธีการประเมิน
   
  เครื่องมือ
   
  เชิงคุณภาพ
    1. ครูและผู้เรียนได้มีเครื่องดนตรีไทย ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เพียงพอต่อความต้องการ
2. มีกิจกรรมส่งเสริมทักษะความสามารถให้กับผู้เรียนมีความสนใจทางด้านดนตรีไทย
3. ผู้เรียนได้เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ เห็นคุณค่าของดนตรีและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
4. ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนวิชาศิลปะ (ดนตรี )
  วิธีการประเมิน
   
  เครื่องมือ
   

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 7/10/2567          ถึงวันที่ : 7/10/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ และ ซ่อมบำรุงสื่อการเรียนการสอนวิชาดนตรีไทย
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- ประชุมครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผน ดำเนินงาน
- สำรวจรายการวัสดุอุปกรณ์ และ สื่อการเรียนการสอนดนตรีไทยที่ต้องซ่อมแซม
- การเสนอโครงการเพื่ออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- มอบหมายให้คณะกรรมการสำรวจรายการวัสดุอุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอนดนตรีไทย
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
- คณะกรรมการกำหนดรายการที่จำเป็นต้องซื้อ และซ่อมบำรุงรักษา
ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- คณะกรรมการเขียนเอกสารดำเนินการจัดซื้อและซ่อมบำรุงรักษาเครื่องดนตรีไทย ประสานงานพัสดุในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ และร้านค้าซ่อมบำรุงเครื่องดนตรี
- งานพัสดุจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ , สื่อการเรียนการสอนดนตรีไทย และจัดจ้างซ่อมบำรุงเครื่องดนตรีไทย
- คณะทำงานเบิกวัสดุอุปกรณ์ไปใช้ในการจัดเรียนการสอนดนตรีไทย
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- สำรวจความเพียงพอในการให้บริการวัสดุอุปกรณ์
- สอบถามความพึงพอใจในการให้บริการวัสดุอุปกรณ์
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- จัดทำรายงานโครงการ พร้อมติดตามการดำเนินโครงการ นำเสนอผู้บริหารโรงเรียน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 61100 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ห้องดนตรีไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 9/12/2567     ถึงวันที่ 29/8/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวณัฐกาญจน์ จานแก้ว
    กิจกรรมที่ 2    การพัฒนาและส่งเสริมนักเรียนทางด้านดนตรีไทย
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- ประชุมคณะทำงานวางแผนการดำเนินงาน
- บันทึกขออนุมัติการดำเนินงานตามแผน
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- ประชุมแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- ประชุมคณะทำงานวางแผนการดำเนินงาน
- บันทึกขออนุมัติการดำเนินงานตามแผน
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- ประชุมแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- สำรวจผู้เรียนที่มีความสนใจทางด้านดนตรีไทย
- บันทึกขออนุญาตให้นักเรียนทำกิจกรรม
- ดำเนินการจัดกิจกรรมพัฒนา ส่งเสริมนักเรียนที่มีความสนใจทางด้านดนตรีไทย
- นำนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมทางด้านดนตรีไทย
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประสานงานกับทุกฝ่าย
- ดำเนินการติดต่อประสานงาน ผู้เชี่ยวชาญทางด้านดนตรีไทย มาให้ความรู้กับนักเรียน
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- สำรวจความเพียงพอในการจัดกิจกรรมส่งเสริมผู้เรียนทางด้านดนตรีไทย
- สอบถามความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมส่งเสริมผู้เรียนทางด้านดนตรีไทย
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- จัดทำรายงานโครงการ พร้อมติดตามการดำเนินโครงการ นำเสนอผู้บริหารโรงเรียน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ห้องดนตรีไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 9/12/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ 1. นางสาวณัฐกาญจน์ จานแก้ว
2. นางสาวชมพูนุช จูฑะเศษฐ์

   รวม 2 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 61,100.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 61,100.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1. โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
2. ผู้บริหาร คณะครู บุคลากร
3. นักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพสนองจุดมุ่งหมายของหลักสูตร นักเรียนมีความชื่นชมและมีสุนทรียภาพด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ และสามารถนำไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่าย มีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา มีส่วนร่วมในการวางแผนด้านนโยบาย แผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการของโรงเรียน
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
1. วัสดุอุปกรณ์ทางด้านดนตรีไทย มีราคาสูง
2. อุปกรณ์การเรียนมีน้อย อาจไม่เพียงพอต่อความต้องการของจำนวนผู้เรียน

 

 

รหัสโครงการ 1-06-4
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานนิเทศการศึกษา
ชื่อโครงการ งานนิเทศการศึกษา
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 10. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 1. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ
ข้อที่ 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
ข้อที่ 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 3. ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูสร้างและพัฒนางานวิจัย และนวัตกรรม ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน
ข้อที่ 6. ส่งเสริมกระบวนการการบริหารจัดการสถานศึกษาด้วยระบบคุณภาพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 3. ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 2. ส่งเสริมคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวภัททิรา เงาะลำดวน

1. หลักการและเหตุผล

           การนิเทศเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับหน่วยงานทุกระดับ โดยเฉพาะการนิเทศการสอนของครูให้มีการ พัฒนาและส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ให้ บรรลุ วัตถุประสงค์ เพราะการนิเทศมีความสำคัญต่อการจัดการเรียนการสอนเป็นอย่างยิ่ง เพราะในบางครั้งแม้ครูผู้สอนจะได้ใช้ความ สามารถใน การจัดกิจกรรมตามที่วางแผนไว้แล้วก็ตาม อาจจะมีบางสิ่งบางอย่างขาดตกบกพร่อง ทำให้การสอนขาดความสมบูรณ์ ดังนั้น หากมีบุคคล อื่นได้ชี้แนะ แนะนำให้ความช่วยเหลือ ก็ย่อมเกิดผลดี การนิเทศจึงเปรียบเหมือนกระจกเงาที่คอยส่องให้เห็นภาพ การสอน ของครูและ เป็นกระบวนการที่ช่วยเสริมสร้างการจัดการเรียนการสอนของครูให้มีประสิทธิภาพ เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนเพื่อการ พัฒนาการศึกษา การสร้างสื่อและนวัตกรรมการเรียนรู้ ให้เหมาะสมในการจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนได้อย่างถูกต้องตามจุดมุ่งหมายของ หลักสูตรสถานศึกษา โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และยังเป็นการสร้างความตระหนักให้กับครูถึงปัญหาเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์เรียนรู้ให้ สามารถแก้ไขปัญหาได้ และสร้างขวัญกำลังใจให้กับครูผู้สอนอีกด้วย นอกจากนี้ยังมุ่งให้เกิดความร่วมมือและประสานงานกันเป็นอย่างดี ภายใต้ระบบการบริหารงาน ของโรงเรียน เพื่อควบคุมมาตรฐานและพัฒนางานด้านการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

กล่าวโดยรวมคือ การ จัดการนิเทศการศึกษา เพื่อ หาแนวทางปรับปรุงพัฒนาการปฏิบัติงาน ด้านการสอนของครู การทำงานเป็นทีม การสร้างเจตคติที่ดีในการ ทำงาน ความร่วมมือในการ แก้ไขปัญหา ทั้งนี้เพื่อมุ่งสู่การพัฒนา คุณภาพการศึกษาโดยรวม ส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียนในที่สุด งาน นิเทศการศึกษา กลุ่มบริหารงาน วิชาการ จึงได้จัดโครงการนิเทศ ภายในขึ้น เพื่อให้ความช่วยเหลือแก่ครูโดยตรง ให้มีการปรับปรุงการ สอนด้วยตัวครูเองอย่างสม่ำเสมอ การพัฒนาทักษะการทำงานกลุ่ม การพัฒนาวิชาชีพ และศึกษาความพึงพอใจของครูที่มีต่อการนิเทศ ภายใน รวมถึงทำให้ทราบแนวทาง และรูปแบบการนิเทศภายในของ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อฝ่ายบริหารนำไปใช้ เป็นแนวทางปรับปรุงพัฒนาระบบการ นิเทศภายในโรงเรียน ซึ่งจะส่ง ผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพอย่าง ยั่งยืนตลอดไป


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้ครูได้รับการนิเทศ เพื่อพัฒนาคุณภาพและการจัดการเรียนการสอนสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรสถานศึกษา
2. เพื่อประเมินความพึงพอใจของครูที่ได้รับการนิเทศ

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. ครูร้อยละ 100 ได้รับการนิเทศ เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน อย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง
2. ครูร้อยละ 80 มีความพึงพอใจการดำเนินโครงการนิเทศการศึกษาในระดับดีขึ้นไป
  วิธีการประเมิน
    1. ดำเนินการนิเทศ
2. ประเมินความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    1. แบบบันทึกการนิเทศ
2. แบบประเมินความพึงพอใจ
  เชิงคุณภาพ
    1. ครูที่ได้รับการนิเทศ มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตร สถานศึกษา ระดับดีขึ้นไป
2. ครูที่ได้รับการนิเทศมีความพึงพอใจการดำเนินโครงการนิเทศการศึกษาในระดับดีขึ้นไป
  วิธีการประเมิน
    1. ดำเนินการนิเทศ
2. ประเมินความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    1. แบบบันทึกการนิเทศ
2. แบบประเมินความพึงพอใจ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 30/10/2567          ถึงวันที่ : 30/9/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การนิเทศแบบกัลยาณมิตร
  ขั้นเตรียมการ T1 : Team management to framework
1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินโครงการนิเทศการศึกษา เพื่อร่วมกันวิเคราะห์โครงการ และกำหนดทิศทางการดำเนินงาน
2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการนิเทศการจัดการเรียนรู้ ประจำปีการศึกษา 2566 ซึ่งประกอบด้วย การนิเทศโดยผู้บริหาร และคณะกรรมการดำเนินการนิเทศประจำกลุ่มสาระการเรียนรู้
T2 : Tabulation to organization
1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินการนิเทศการจัดการเรียนรู้ เพื่อชี้แจงสร้างความเข้าใจในบทบาท ภาระหน้าที่ ในการปฏิบัติการนิเทศตามแผนการนิเทศของสถานศึกษา
2. หัวหน้าโครงการนิเทศภายในสถานศึกษา ส่งมอบแบบบันทึกการนิเทศภายใน และแฟ้มรวบรวมผลการนิเทศภายในของกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อให้สามารถดำเนินกิจกรรมการนิเทศอย่างเป็นระบบ
  ขั้นดำเนินการ M1 : Management to command
1. คณะกรรมการนิเทศประจำกลุ่มสาระการเรียนรู้ ชี้แจงกระบวนการและขั้นตอนการดำเนินการกิจกรรมนิเทศให้ครูในกลุ่มสาระทราบ และร่วมกันกำหนดปฏิทินการนิเทศ
2. ผู้บริหาร และคณะกรรมการดำเนินการนิเทศประจำกลุ่มสาระการเรียนรู้ ดำเนินการกิจกรรมนิเทศ ตามปฏิทินการนิเทศที่กำหนดไว้
M2 : Making a correlation
1. คณะกรรมการดำเนินการนิเทศประจำกลุ่มสาระ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันกับครูผู้รับการนิเทศ เพื่อพูดคุยให้ข้อมูลป้อนกลับ (feedback) แก่ผู้รับการนิเทศ รับฟังสภาพปัญหาในการจัดการเรียนรู้ และหาแนวทางเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ร่วมกัน
2. หัวหน้าโครงการนิเทศภายในสถานศึกษา ประสานงานกับคณะกรรมการดำเนินการของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อสอบถามความต้องการในการสนับสนุน/ช่วยเหลือด้านต่างๆ รวมทั้งติดตามการดำเนินกิจกรรมการนิเทศของกลุ่มสาระ และรายงานความก้าวหน้าการดำเนินการนิเทศภายในให้ฝ่ายบริหารทราบตามลำดับ
  ขั้นสรุป V1 : Validity to valuation
1. คณะกรรมการดำเนินการนิเทศประจำกลุ่มสาระการเรียนรู้ ดำเนินการร่วมกันประเมินผลสรุปผลการนิเทศการจัดการเรียนรู้ของครูในกลุ่มสาระ และบันทึกลงในแบบฟอร์มที่ได้รับมอบ นำส่งหัวหน้าโครงการนิเทศภายในสถานศึกษา
2. ประเมินความพึงพอใจของผู้บริหาร และคณะครู ที่มีต่อการดำเนินกิจกรรมการนิเทศภายใน
3. หัวหน้าโครงการนิเทศภายในสถานศึกษารวบรวมผลการดำเนินกิจกรรมการนิเทศของทุกกลุ่มสาระ เพื่อสรุปและรายงานผลการนิเทศประจำภาคเรียน
V2 : Variation from supervising
1. หัวหน้าโครงการนิเทศภายในสถานศึกษา รายงานผลการดำเนินกิจกรรมการนิเทศให้ทุกฝ่ายทราบผลการดำเนินงาน เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนำผลการประเมินมาพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้
2. ผู้บริหารส่งเสริม สนับสนุน กำกับติดตามการนิเทศอย่างต่อเนื่องเป็นระบบ เสริมสร้างขวัญและกำลังใจแก่ครู โดยมอบเกียรติบัตรสำหรับครูผู้มีผลการประเมินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในระดับดีเยี่ยม และระดับดีมาก
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 4000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 30/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวภัททิรา เงาะลำดวน

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 4,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 4,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
งานนิเทศการศึกษา ฝ่ายวิชาการ ครู และบุคลากร โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.ครูทุกคนได้รับการนิเทศ คำแนะนำ เพื่อพัฒนาคุณภาพในการจัดการเรียนการสอน และมีการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรสถานศึกษา
2.ครูที่ได้รับการนิเทศมีความพึงพอใจการดำเนินโครงการนิเทศการศึกษา
3.โรงเรียนมีการนิเทศ ติดตาม อย่างเป็นระบบต่อเนื่อง นำผลการนิเทศมาใช้ในการปรับปรุงและ พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
การสร้างความเข้าใจในกระบวนการนิเทศแก่บุคลากรที่มาใหม่

 

 

รหัสโครงการ 1-20-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ชื่อโครงการ เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทย
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ -
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 7. จัดการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 2. ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 3. ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 1. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวภัททิรา เงาะลำดวน

1. หลักการและเหตุผล

           ในปัจจุบันสื่อและเทคโนโลยีรวมถึงวัฒนธรรมต่างชาติเข้ามีอิทธิพลและบทบาทอย่างมาก ทำให้เยาวชนรุ่นใหม่ละเลยด้าน ศาสนา ประเพณี และวัฒนธรรมไทยรวมถึงนาฏศิลป์ไทย จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องส่งเสริมให้นักเรียนรู้และเข้าใจ และมีส่วนร่วมใน กิจกรรมอนุรักษ์ ประเพณี ศิลปะ และวัฒนธรรมไทย ดังนั้นเพื่อมิให้ศิลปวัฒนธรรมด้านนาฏศิลป์ของไทยเราต้องสูญสลาย จึงควรส่ง เสริมและจัดกิจกรรม เกี่ยวกับ นาฏศิลป์ เพื่อถ่ายทอดความรู้ให้แก่เยาวชน และเปิดโอกาสให้เยาวชนได้นำศิลปะด้านนาฏศิลป์เผยแพร่สู่ ชุมชนของตน อันจะนำ มา ซึ่งเป้า หมายที่พึงประสงค์ คือเยาวชนได้เรียนรู้ เข้าใจ มีทัศนคติที่ดีต่อนาฏศิลป์ไทย เกิดความซาบซึ้ง ความภาคภูมิใจ รู้จักรักและ หวงแหน และ สืบทอดประเพณีและวัฒนธรรมไทยให้ดำรงอยู่ต่อไป

กรณีต้องการย่อหน้าที่ 2


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
- -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมให้นักเรียนมีศักยภาพด้านนาฏศิลป์ไทย
2. เพื่อให้นักเรียนได้มีโอกาสในการแสดงความสามารถทางด้านนาฏศิลป์ ในกิจกรรมของโรงเรียน และชุมชนตามโอกาสอันเหมาะสม
3. เพื่อให้นักเรียนมีความรัก หวงแหนและมีความภาคภูมิใจในการอนุรักษ์ และเผยแพร่นาฏศิลป์ไทย

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนร้อยละ 85 ที่เข้าร่วมโครงการได้รับการสนับสนุน ส่งเสริมให้มีทักษะความสามารถด้านนาฏศิลป์
2. นักเรียนเรียนร้อยละ 85 ที่เข้าร่วมโครงการได้แสดงความสามารถทางด้านนาฏศิลป์ ในกิจกรรมของโรงเรียน และชุมชน
  วิธีการประเมิน
    การเข้าร่วมกิจกรรมการแสดงนาฏศิลป์
  เครื่องมือ
    แบบประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมการแสดงนาฏศิลป์
  เชิงคุณภาพ
    นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีทักษะความสามารถด้านนาฏศิลป์ สามารถแสดงผลงานออกสู่สายตาประชาชนได้อย่างสร้างสรรค์และเหมาะสม มีความรัก หวงแหน และมีความภาคภูมิใจในการอนุรักษ์ และเผยแพร่นาฏศิลป์ไทย
  วิธีการประเมิน
    การเข้าร่วมกิจกรรมการแสดงนาฏศิลป์
  เครื่องมือ
    แบบประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมการแสดงนาฏศิลป์

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 30/10/2567          ถึงวันที่ : 30/9/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมภายในและภายนอกสถานศึกษา
  ขั้นเตรียมการ T1 : Team management to framework
ประชุมครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ จัดทำโครงการ เสนอกิจกรรมเพื่ออนุมัติ
T2 : Tabulation to organization
วางแผนการปฏิบัติงาน และบันทึกการประชุมกลุ่มสาระเพื่อมอบหมายการปฏิบัติงาน
  ขั้นดำเนินการ M1 : Management to command
บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม
M2 : Making a correlation
1. ดำเนินการฝึกซ้อมกิจกรรมการแสดง และร่วมแสดงนาฏศิลป์ในกิจกรรมต่างๆของโรงเรียนและชุมชน
2. ดำเนินการจัดซื้อชุดการแสดงนาฏศิลป์
  ขั้นสรุป V1 : Validity to valuation
ติดตามและประเมินผลโครงการ
V2 : Variation from supervising
สรุปและรายงานผลการดำเนินโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 50000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม และชุมชนใกล้เคียง
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 30/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวภัททิรา เงาะลำดวน

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 50,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 50,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผู้บริหาร คณะครู บุคลากร และนักเรียน โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนมีศักยภาพด้านนาฏศิลป์ไทย
2. นักเรียนได้มีโอกาสในการแสดงความสามารถทางด้านนาฏศิลป์ ในกิจกรรมของโรงเรียน และชุมชนตามโอกาสอันเหมาะสม
3. นักเรียนมีความรัก หวงแหนและมีความภาคภูมิใจในการอนุรักษ์ และเผยแพร่นาฏศิลป์ไทย
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินกิจกรรม ที่อาจมีการเปลี่ยนแปลง

 

 

รหัสโครงการ 1-20-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ชื่อโครงการ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (ทัศนศิลป์)
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
ข้อที่ 4. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 3. ปรับกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้ทันสมัยและหลากหลาย
ข้อที่ 7. จัดการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 3. มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
ข้อที่ 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
ข้อที่ 6. มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรูที่เอื้อต่อการเรียนรู้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ข้อที่ 2. ส่งเสริมให้นักเรียนและสนับสนุนให้นักเรียนมีทักษะในการประกอบอาชีพ
ข้อที่ 5. ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 2. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนทุกคน
ข้อที่ 3. ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
ข้อที่ 4. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 3. มีงานทำ-มีอาชีพ
ข้อที่ 4. เป็นพลเมืองที่ดี
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวกมลชณัฐ ฝนเมฆ

1. หลักการและเหตุผล

           หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนที่สมบูรณ์ มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ และสังคม สามารถพัฒนาตนเองและร่วมมือกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นการส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ มีจินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความ งาม สุนทรียภาพความมีคุณค่า ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์ ดังนั้นกิจกรรมศิลปะสามารถนำไปใช้ในการพัฒนา ผู้เรียนโดยตรงทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติ ปัญญา อารมณ์ และสังคม ตลอดจนนำไปสู่การพัฒนาสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมให้ผู้เรียน มีความเชื่อมั่นในตนเองและแสดงออกในเชิงสร้างสรรค์ อีกปัจจัยหนึ่งที่สำคัญคือสภาพแวดล้อมและอุปกรณ์ ทางการเรียนตามการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนสามารถพัฒนาได้เต็มตามศักยภาพและเอื้ออำนวย ต่อการเสริมสร้างศักยภาพของผู้เรียนนับว่าเป็นหัวใจสำคัญของการปฏิรูปการศึกษาซึ่งจะต้องตระหนักถึงความ แตกต่างและความสามารถของแต่ละบุคคล ดังนั้นโครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเพื่อพัฒนา ศักยภาพผู้เรียนทางด้านศิลปะในระดับชั้นมัธยมศึกษา เป็นโครงการที่จัดขึ้นเพื่อพัฒนาผู้เรียนในการใช้วัสดุและ อุปกรณ์ในการเรียนการสอนศิลปะให้เหมาะสมต่อการดำเนินการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและการทำกิจกรรมต่าง ๆ ทางด้านศิลปะ เช่น การจัดชื้อวัสดุและอุปกรณ์ในการเรียนการสอนศิลปะในชั้นเรียน การส่งเสริมงานประกวด ผลงานศิลปะ การพัฒนาสื่อการเรียนการสอนในวิชาศิลปะเพื่อให้สอดคล้องกับความสามารถของนักเรียนและพัฒนา ความสามารถทางด้านศิลปะของนักเรียนให้เต็มตามศักยภาพการเรียนรู้ต่อไป

กรณีต้องการย่อหน้าที่ 2


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- ล้ำหน้าทางความคิด
- ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
- ร่วมรับผิดชอบสังคมโลก
-
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้ครูและผู้เรียนได้มีวัสดุอุปกรณ์ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เพียงพอต่อความต้องการ
2. เพื่อส่งเสริมทักษะความสามารถให้กับผู้เรียนที่มีความสนใจทางด้านงานทัศนศิลป์
3. เพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับผู้เรียนที่มีต่อการเรียนการสอนวิชาศิลปะ (ทัศนศิลป์)

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. ร้อยละ 85 ครูและผู้เรียนได้มีมีวัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เพียงพอต่อความ ต้องการ
2. ร้อยละ 85 มีการส่งเสริมทักษะความสามารถให้กับผู้เรียนที่มีความสนใจทางด้านงานทัศนศิลป์
3. ร้อยละ 90 ของผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนวิชาศิลปะ (ทัศนศิลป์)
  วิธีการประเมิน
    สอบถามความคิดเห็นและความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    แบบประเมินความคิดเห็นและความพึงพอใจโครงการโครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ (ทัศนศิลป์)
  เชิงคุณภาพ
    1. เพื่อให้ครูและผู้เรียนได้มีวัสดุอุปกรณ์ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เพียงพอต่อความต้องการ
2. เพื่อส่งเสริมทักษะความสามารถให้กับผู้เรียนที่มีความสนใจทางด้านงานทัศนศิลป์
3. เพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับผู้เรียนที่มีต่อการเรียนการสอนวิชาศิลปะ (ทัศนศิลป์)
  วิธีการประเมิน
    สอบถามความคิดเห็นและความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    แบบประเมินความคิดเห็นและความพึงพอใจโครงการโครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ (ทัศนศิลป์)

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 7/10/2567          ถึงวันที่ : 30/9/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมทัศนศิลป์สู่ความเป็นเลิศ
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- ประชุมครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนดำเนินงาน
- สำรวจรายการวัสดุอุปกรณ์และสื่อการเรียนการสอนในวิชาทัศนศิลป์
- การเสนอโครงการเพื่ออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- มอบหมายให้คณะกรรมการสำรวจรายการวัสดุอุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอนวิชา ทัศนศิลป์
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
- คณะกรรมการกำหนดรายการที่จำเป็นต้องซื้อ
- ตรวจสอบราคา
- ดำเนินการจัดซื้อจัดซ่อมตามระเบียบพัสดุ
ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- ตรวจรับพัสดุ และรายงานผลการดำเนินงาน
- สำรวจความเพียงพอในการให้บริการวัสดุอุปกรณ์
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- จัดทำรายงานโครงการ พร้อมติดตามการดำเนินโครงการ นำเสนอผู้บริหารโรงเรียน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 51280 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 7/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวกมลชณัฐ ฝนเมฆ

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 51,280.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 51,280.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1. โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
2. ผู้บริหาร คณะครู บุคลากร
3. นักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพสนองจุดมุ่งหมายของหลักสูตร นักเรียนมีความชื่นชมและมีสุนทรียภาพด้าน ศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ และสามารถนำไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่าย มี ส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา มีส่วนร่วมในการวางแผนด้านนโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการของโรงเรียน
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
1. วัสดุอุปกรณ์และสื่อประกอบการเรียนทางด้านทัศนศิลป์มีราคาสูง
2. อุปกรณ์การเรียนมีน้อย อาจไม่เพียงพอต่อความต้องการของจำนวนผู้เรียน

 

 

รหัสโครงการ 1-20-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ชื่อโครงการ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (ดนตรีสากล)
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
ข้อที่ 4. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา
ข้อที่ 6. การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 1. ปลูกฝังความรักในสถาบันหลักของชาติ และน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติ
ข้อที่ 3. ปรับกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้ทันสมัยและหลากหลาย
ข้อที่ 4. ส่งเสริมการอ่าน เพื่อเป็นวิถีในการค้นหาความรู้และต่อยอดองค์ความรู้ที่สูงขึ้น
ข้อที่ 5. ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ข้อที่ 7. จัดการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 2. ความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา
ข้อที่ 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
ข้อที่ 6. มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 2. ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
ข้อที่ 3. การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
ข้อที่ 4. สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 3. ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย
ข้อที่ 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
ข้อที่ 2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรูที่เอื้อต่อการเรียนรู้
ข้อที่ 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
ข้อที่ 4. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
ข้อที่ 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ข้อที่ 2. ส่งเสริมให้นักเรียนและสนับสนุนให้นักเรียนมีทักษะในการประกอบอาชีพ
ข้อที่ 4. ส่งเสริมหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ข้อที่ 5. ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล
ข้อที่ 6. ส่งเสริมกระบวนการการบริหารจัดการสถานศึกษาด้วยระบบคุณภาพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 2. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนทุกคน
ข้อที่ 3. ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
ข้อที่ 2. ส่งเสริมคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
ข้อที่ 4. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 1. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
ข้อที่ 3. มีงานทำ-มีอาชีพ
ข้อที่ 4. เป็นพลเมืองที่ดี
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายวิชชุ สุภาพเสรีพงศ์

1. หลักการและเหตุผล

          

กรณีต้องการย่อหน้าที่ 2

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนที่ สมบูรณ์ มีความสมดุลทั้งด้าน ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ และ สังคม สามารถ พัฒนาตนเองและร่วมมือกับผู้อื่นได้อย่าง สร้างสรรค์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ เป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นการส่ง เสริม ให้ผู้ เรียนมีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ มี จินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม สุนทรียภาพความมีคุณค่า ซึ่งมีผลต่อคุณภาพ ชีวิต มนุษย์ ดังนั้น กิจกรรมศิลปะสามารถนำ ไปใช้ ในการพัฒนาผู้เรียนโดยตรงทั้ง ด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์และสังคม ตลอดจน นำไปสู่การ พัฒนาสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเชื่อมั่น ใน ตนเองและแสดงออกในเชิงสร้างสรรค์ การจัดการจัดการเรียนรู้กลุ่ม สาระศิลปะ ต้องการการมี ส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ผู้ เรียน ต้องเรียนรู้ ให้ครบถ้วนด้วยสมอง กาย ใจ ได้มีส่วนร่วมด้วยการลงมือ ปฏิบัติจริงทาง โรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นโดย น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลย เดช มาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- ล้ำหน้าทางความคิด
- ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
- ร่วมรับผิดชอบสังคมโลก
-
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้ครูและผู้เรียน ได้มีเครื่องดนตรีสากลในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เพียงพอต่อความต้องการ
2. เพื่อส่งเสริมทักษะความสามารถให้กับผู้เรียนที่มีความสนใจทางด้านดนตรีสากล
3. เพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับผู้เรียนที่มีต่อการเรียนวิชาดนตรี

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1.ร้อยละ 85 ครูและผู้เรียน ได้มีเครื่องดนตรีสากลในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เพียงพอต่อความต้องการ
2. ร้อยละ 85 มีการส่งเสริมทักษะความสามารถให้กับผู้เรียนที่มีความสนใจทางด้านดนตรีสากล
3.ร้อยละ 90 ของผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนิชาดนตรี
  วิธีการประเมิน
    ประเมินความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    แบบประเมินความพึงพอใจ
  เชิงคุณภาพ
    1. ครูและผู้เรียน ได้มีเครื่องดนตรีสากลในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เพียงพอต่อความต้องการ
2. มีการส่งเสริมทักษะความสามารถให้กับผู้เรียนที่มีความสนใจทางด้านดนตรีสากล
3. ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนิชาดนตรี
  วิธีการประเมิน
    ประเมินความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    แบบประเมินความพึงพอใจ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 9/10/2567          ถึงวันที่ : 8/8/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    จัดหาสื่อการเรียนการสอนดนตรีสากล
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
- เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- สอบราคา
- ดำเนินการจัดซื้อจัดซ่อมตามระเบียบพัสดุ
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- ตรวจรับพัสดุ และรายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 391025 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 9/10/2567     ถึงวันที่ 8/8/2568
  ผู้รับผิดชอบ นายวิชชุ สุภาพเสรีพงศ์
    กิจกรรมที่ 2    จัดซ่อมบำรุงเครื่องดนตรี
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
- เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- สอบราคา
- ดำเนินการจัดซื้อจัดซ่อมตามระเบียบพัสดุ
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- ตรวจรับพัสดุ และรายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 80000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 9/10/2567     ถึงวันที่ 8/8/2568
  ผู้รับผิดชอบ นายวิชชุ สุภาพเสรีพงศ์

   รวม 2 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 471,025.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 471,025.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ผู้บริหาร คณะครู บุคลากร และนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้แทนชุมชน และผู้ปกครอ
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพสนองจุดมุ่งหมายของหลักสูตร นักเรียนมีความชื่นชมและมีสุนทรียภาพด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ และสามารถนำไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่าย มีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา มีส่วนร่วมในการวางแผนด้านนโยบาย แผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการของโรงเรียน
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
ารดูแลรักษาอุปกรณ์ดนตรีของนักเรียน อาจเกิดความชำรุด เสียหาย

 

 

รหัสโครงการ 1-22-4
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ (เกษตร)
ชื่อโครงการ ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 4. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 3. ปรับกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้ทันสมัยและหลากหลาย
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
ข้อที่ 2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรูที่เอื้อต่อการเรียนรู้
ข้อที่ 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
ข้อที่ 4. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
ข้อที่ 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ข้อที่ 2. ส่งเสริมให้นักเรียนและสนับสนุนให้นักเรียนมีทักษะในการประกอบอาชีพ
ข้อที่ 4. ส่งเสริมหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ข้อที่ 5. ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 3. ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
ข้อที่ 4. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
ข้อที่ 3. มีงานทำ-มีอาชีพ
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายสัมฤทธิ์ พุ่มปรีชา

1. หลักการและเหตุผล

          สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ้งเน้นส่งเสริมการจัดการเรียนรู้อย่างหลากหลาย ให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามาถรจัดกระบวนการ เรียนรู้โดยการปฎิบัติจริงสอดคล้องกับความสามารถความถนัด มีทักษะ กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม มีเจตคติที่ดีต่องานแสวงหาความรู้จาก แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ซึ่งสอดคล้องกับพันธกิจของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมในการส่งเสริม และสนับสนุนใหเนักเรียนมีทักษะในการประกอบอาชีพ

กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ได้จัดทำโครงการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนการงานอาชีพ โดยจัดกิจกรรมการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอน การส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้านทักษะอาชีพ การสร้างผลงานเพื่ออาชีพ การส่งเสริมสนับสนุนทักษะทางวิชาการ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างยั่งยืน มีทักษะพื้นฐานในการประกอบอาชีพและเสริมสร้างให้ นักเรียนพึ่งตนเอง ตลอดจนมีการดำเนินชีวิตบนพื้นฐานแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
- -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1.เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการงานอาชีพระดับ 3 ขึ้นไปร้อยละ 89
2.เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะการทำงานและเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพ
3.เพื่อให้ครูมีวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือและสื่อนวัตกรรมหลากหลายรูปแบบมาดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างเพียงพอ

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1.นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการงานอาชีพระดับ 3 ขึ้นไปร้อยละ 89
2.นักเรียนร้อยละ 89 มีทักษะการทำงานและเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพ
3.ครูทุกคนมีวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือและสื่อนวัตกรรมหลากหลายรูปแบบมาดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างเพียงพอ
  วิธีการประเมิน
    1.สอบถาม
2.ตรวจสอบ
  เครื่องมือ
    1.แบบสอบถาม
2.แบบประเมิน
  เชิงคุณภาพ
    1.นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการงานอาชีพระดับ 3 ขึ้นไปร้อยละ 89
2.นักเรียนร้อยละ 89 มีทักษะการทำงานและเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพ
3.ครูทุกคนมีวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือและสื่อนวัตกรรมหลากหลายรูปแบบมาดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างเพียงพอ
  วิธีการประเมิน
    1.สอบถาม
3.ตรวจสอบ
  เครื่องมือ
    1.แบบสอบถาม 2.แบบประเมิน

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/11/2567          ถึงวันที่ : 15/8/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การผลิตปุ๋ยมูลไส้เดือน
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน(T1)
2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ(T2)
3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ 1.จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์(M1)
2. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง (M2)
  ขั้นสรุป 1.สรุปผลการดำเนินการ(V1)
2. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการ(V2)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 32000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2567
  ผู้รับผิดชอบ นายสัมฤทธิ์ พุ่มปรีชา
    กิจกรรมที่ 2    ไม้ดอกไม้ประดับ
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน(T1)
2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ(T2)
3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ 1.จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์(M1)
2. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง (M2)
  ขั้นสรุป 1.สรุปผลการดำเนินการ(V1)
2. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการ(V2)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 21000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นายสัมฤทธิ์ พุ่มปรีชา
    กิจกรรมที่ 3    การปลูกมะนาวในบ่อซีเมนต์
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน(T1)
2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ(T2)
3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ 1.จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์(M1)
2. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง (M2
  ขั้นสรุป 1.สรุปผลการดำเนินการ(V1)
2. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการ(V2)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 32300 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นายสัมฤทธิ์ พุ่มปรีชา
    กิจกรรมที่ 4    ส่งเสริมคุณภาพนักเรียนตามมาตรฐานสากล
  ขั้นเตรียมการ 1.ประชุมคณะครูกลุ่มสาระการงานอาชีพ เพื่อวางแผนการดำเนินงาน(T1)
2.ประสานงานกับกลุ่มงานที่เกี่ยวข้อง(T2)
  ขั้นดำเนินการ 1.ดำเนินการตามแผนโครงการ(M1)
2.รวบรวมข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ในระหว่างการปฏิบัติงาน(M2)
  ขั้นสรุป 1.ตรวจสอบ สอบถาม สัมภาษณ์ และรวบรวมข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง หลังการปฏิบัติงาน(V1)
2.ประเมินผลสัมฤทธิ์ จากการสังเกตุการปฏิบัติงานตามโครงการ(V2X
3.สรุปและรายงานโครงการ(V3)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 45320 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นายอนุรักษ์ ปลื้มจิตต์
    กิจกรรมที่ 5    การเสริมทักษะปฏิบัติการไฟฟ้าสำหรับนักเรียนตามมาตรฐานสากล
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน(T1)
2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ(T2)
3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ 1.จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์(M1)
2. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง (M2
  ขั้นสรุป 1.สรุปผลการดำเนินการ(V1)
2. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการ(V2)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 40500 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นายนฤเทพ ปัญญาลิขิต
    กิจกรรมที่ 6    จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์การจัดการเรียนการสอนการงานอาชีพคหกรรม
  ขั้นเตรียมการ 1.ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- ประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
2.ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- แบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละงาน
  ขั้นดำเนินการ 1.ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- กำหนดรายการจัดซื้อวัสดุ
- ขออนุมัติการจัดซื้อ
2.ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป 1.ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปผลการดำเนินการ
2.ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 6200 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 15/11/2567     ถึงวันที่ 30/7/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางอรอนงค์ ชัยประเสริฐ

   รวม 6 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 177,320.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 177,320.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการงานอาชีพระดับ 3 ขึ้นไปร้อยละ 89
2.นักเรียนร้อยละ 89 มีทักษะการทำงานและเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพ
3.ครูทุกคนมีวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือและสื่อนวัตกรรมหลากหลายรูปแบบมาดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างเพียงพอ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
1.การจัดซื้อวัสดุบางอย่างไม่ตรงตามที่กำหนดทำให้ต้องมีการเปลี่ยนคืน

 

 

รหัสโครงการ 1-24-8
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานคอมพิวเตอร์ศึกษา
ชื่อโครงการ การใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้และบำรุงรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 4. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 3. ปรับกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้ทันสมัยและหลากหลาย
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรูที่เอื้อต่อการเรียนรู้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 2. ส่งเสริมให้นักเรียนและสนับสนุนให้นักเรียนมีทักษะในการประกอบอาชีพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 2. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนทุกคน
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางนันทนา วิราศรี

1. หลักการและเหตุผล

           การยกระดับคุณภาพสถานศึกษาสู่มาตรฐานการศึกษาของชาติพัฒนาผู้เรียน สมรรถนะครูและบุคลากรอย่างเป็นระบบ เพิ่มประสิทธิภาพ ใน การบริหารหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผู้เรียนบรรลุมาตรฐานการ เรียนรู้ของหลักสูตรการ ศึกษา อย่างเต็มตามศักยภาพ ในการพัฒนาการศึกษานั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องจัดกิจกรรมส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนระดับการศึกษา ขั้นพื้น ฐาน มีความเป็นเลิศด้านวิชาการและมีศักยภาพในทุกด้าน และเป็นการเพิ่มพูนทักษะ ในการดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข ผู้ เรียน ต้องได้รับการสนับสนุนจัดการประกวดทักษะทางวิชาการและผลงาน ทั้ง การให้ ผู้เรียนศึกษาดูงาน เพื่อประกอบการเรียนการสอน นั้น จะ เป็นประโยชน์แก่ ผู้เรียนอย่างยิ่ง เนื่องจากจะเป็นการเพิ่มพูน ความรู้ และประสบการณ์ ให้ผู้เรียนโดยตรง อีกทั้ง ยังสอดคล้องกับ นโยบายใน การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่โรงเรียนได้ กำหนดไว้

เนื่องจากคอมพิวเตอร์สามารถแสดงผลในทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็น ภาพ เสียง ตลอดจนภาพ เคลื่อนไหว ซึ่งเราเรียกในทางสื่อว่า “สื่อ ผสม (Multimedia)” ดังนั้นจึงได้มีการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนใน โรงเรียนอย่างแพร่หลาย แต่จะมีจำนวน เท่าใดนั้น ขึ้นอยู่กับความสามารถของโรงเรียนนั้น ๆ ที่จะจัดหา แต่อย่างไรก็ตามสิ่งที่หลีกเลี่ยง ไม่ได้ในการใช้อุปกรณ์คือการชำรุด ซึ่ง คอมพิวเตอร์ ก็ไม่ได้แตกต่างและนอกเหนือจากจากอุปกรณ์อื่นๆ กรณีต้องการย่อหน้าที่ 2 มีหลายสาเหตุที่ทำให้คอมพิวเตอร์ชำรุด เช่น ชำรุดจากการใช้งาน ชำรุดจากการขาดการดูแล รักษา หรือชำรุดจากการเสื่อม สภาพ แต่ไม่ ว่าจะชำรุดจากกรณีใดก็ตาม สิ่งที่จะตามมา คือค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุงซึ่งค่อนข้างสูงและ เพื่อให้การปฏิบัติ กิจกรรมของโรงเรียน สามารถดำเนินไปได้อย่างต่อเนื่องบนพื้นฐานของ ความพึงพอใจของทุกฝ่ายจึงจำเป็นต้องมีการจัด ซื้อ เปลี่ยนอุปรณ์ และซ่อมบำรุงเพิ่มเติม


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อซ่อมบำรุงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการใช้สื่อการสอนของครู
3. เพื่อจัดซื้ออุปกรณ์เทคโนโลยีเพื่อจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. ผู้เรียนร้อยละ 80 มีอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พอเพียง
2. ครูร้อยละ 80 ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาการใช้สื่อการสอน
3. มีอุปกรณ์เทคโนโลยีร้อยละ 80 ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
  วิธีการประเมิน
    สำรวจอุปกรณ์เทคโนโลยี
  เครื่องมือ
    แบบสำรวจอุปกรณ์เทคโนโลยี
  เชิงคุณภาพ
    1. ผู้เรียนมีความพึงพอใจในการใช้อุปกรณ์
2. ครูมีความพึงพอใจในการได้รับการส่งเสริมและพัฒนาการใช้สื่อการสอน
3. ครูและนักเรียนมีความพึงพอใจในการมีอุปกรณ์และเทคโนโลยีในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
  วิธีการประเมิน
    ประเมินความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    แบบประเมินความพึงพอใจ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2567          ถึงวันที่ : 30/9/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การซ่อมบำรุงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการ
- ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม
- ดำเนินกิจกรรม
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 33000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/11/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางนันทนา วิราศรีและคณะ
    กิจกรรมที่ 2    ส่งเสริมและพัฒนาการใช้สื่อการสอนของครู
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการ
- ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม
- ดำเนินกิจกรรม
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 85700 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์1-5
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/11/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางนันทนา วิราศรีและคณะ
    กิจกรรมที่ 3    จัดซื้อวัสดุ-ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) - จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการ - ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) - บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม - ดำเนินกิจกรรม ขั้นตอนการประสานงาน(M2) - ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) - สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) - รายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 3105000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์1-5
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/11/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางนันทนา วิราศรีและคณะ

   รวม 3 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 3,223,700.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 3,223,700.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
โรงเรียนมีวัสดุอุปกรณ์ทางด้านเทคโนโลยีมีคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์พร้อมใช้งานเพื่อใช้ในการเรียนการสอนและการพัฒนางานต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 1-29-5
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (กิจกรรมชุมนุม)
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 1. การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ
ข้อที่ 4. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 5. ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 1. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ข้อที่ 5. ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 2. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนทุกคน
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวนุจรีย์ รอดประสิทธิ์

1. หลักการและเหตุผล

           ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติมปี 2545 กำหนดให้ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ โดย จัด กิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล อยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า มี ศักดิ์ศรี มี ความสุขบนพื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนั้นครูควรการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงตามมาตรฐานการ เรียนรู้ ตัวชี้วัด ของหลักสูตรสถานศึกษา มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถนำไปจัดกิจกรรมได้จริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิต ประจำวันได้ มีนวัต กรรมในการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กำหนดโครงสร้างโดยมุ่งส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียนเพิ่มเติมจากกลุ่ม สาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม ให้ผู้เรียนค้นพบความสามารถความถนัดของตนเอง โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมได้จัดโครงการส่งเสริมกิจกรรม พัฒนาผู้เรียนอย่าง ต่อเนื่องมา โดยตลอด ผลการประเมินโครงการพบว่าสามารถบรรลุวัตถุประสงค์อยู่ในระดับดีเลิศ แต่ต้องปรับรูปแบบ การจัดกิจกรรมชุมนุมให้นักเรียน สามารถเลือกเรียนได้อย่างหลากหลาย ทางกลุ่มสาระการเรียนรู้กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจึงจัดทำโครงการ พัฒนาคุณภาพกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ขึ้น และได้น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนินงานและสอดแทรกความรู้ ความเข้าใจให้กับนักเรียน
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- เป็นเลิศวิชาการ
- สื่อสาร 2 ภาษา
- -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้ครูจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
2. เพื่อให้นักเรียนสามารถเลือกเรียนชุมนุมได้ตามความถนัดและความสนใจ

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. ครูผู้สอนร้อยละ 100 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ให้กับนักเรียนในชุมนุม
2. นักเรียนร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรมชุนุมตามความถนัดและความสนใจ
  วิธีการประเมิน
    การจัดการเรียนการสอนกิจกรรมชุมนุม และตรวจสอบรายชื่อนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมชุมนุม
  เครื่องมือ
    สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม และ รายชื่อนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมชุมนุม
  เชิงคุณภาพ
    1. ครูผู้สอนจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ให้กับนักเรียนในชุมนุมทุกคน
2. นักเรียนมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมชุมนุมตามความถนัดและความสนใจ อยู่ในระดับ ดี ขึ้นไป
  วิธีการประเมิน
    ประเมินความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    แบบประเมินความพึงพอใจ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/12/2567          ถึงวันที่ : 30/12/2567

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมชุมนุมนักเรียน
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4. ดำเนินกิจกรรมชุมนุมตามแผนที่วางไว้ ประชาสัมพันธ์ ประสานงานผู้เกี่ยวข้อง และดำเนินกิจกรรมตามวันและเวลาที่กำหนด ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6. สรุปผลการดำเนินการ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
7. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 1580 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/12/2567     ถึงวันที่ 30/12/2567
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวนุจรีย์ รอดประสิทธิ์

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 1,580.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 1,580.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1. นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
2. กลุ่มสาระการเรียนรู้ กลุ่มบริหารงานวิชาการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผู้เรียนได้เลือกเรียนกิจกรรมชุมนุมที่ตอบสนองความต้องการ ความสามารถความถนัด และความสนใจของผู้เรียน
2. ครูได้จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงตามมาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถนำไปจัดกิจกรรมได้จริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ชีวิตประจำวันได้ มีนวัตกรรมในการจัดการเรียน
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 1-18-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 2. การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
จุดเน้น กระทรวงฯ -
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 1. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ
ข้อที่ 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรูที่เอื้อต่อการเรียนรู้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 3. ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูสร้างและพัฒนางานวิจัย และนวัตกรรม ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 3. ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
ข้อที่ 2. ส่งเสริมคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
ข้อที่ 4. เป็นพลเมืองที่ดี
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวนุจรีย์ รอดประสิทธิ์

1. หลักการและเหตุผล

           ปัจจุบันนี้สื่อการเรียนการสอนถือเป็นองค์ประกอบสำคัญอย่างหนึ่งที่จะส่งผลให้ผู้เรียนประสบ ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของการ เรียนรู้ เนื่องจากสื่อการเรียนการสอนเป็นตัวกลางในการถ่ายทอดองค์ความรู้ต่างๆจากครูผู้สอนไป ยังผู้เรียนทำให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการ ทำกิจกรรม เกิดความกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้หรือรับรู้เรื่องราวต่างๆ นอกจากนี้สื่อการเรียนรู้ยัง ช่วยกระตุ้นความสนใจของผู้เรียนและเกิด การเรียนรู้ได้ อย่างรวดเร็ว ดังนั้นการนำสื่อมาจัดการเรียนการสอนในแต่ละรายวิชาทำให้ นักเรียนเกิดการพัฒนาตนเองครูผู้สอนสามารถ จะ ประยุกต์หรือ ปรับเปลี่ยนกิจกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสม ทำให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้อย่างถาวรมีประสิทธิภาพและมีคุณภาพมาก ยิ่ง ขึ้นการสนับสนุน ให้ครูได้ผลิตสื่อ/นวัตกรรม การสอนที่มีเนื้อหาสอดคล้องกับ หลักสูตรและได้มาตรฐานจึงมีความจำเป็น และเพื่อให้ ครูมี สื่อการเรียนรู้ที่มี คุณภาพสำหรับใช้ประกอบการจัดการเรียนการสอน อีกทั้ง การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการศึกษาที่มี คุณภาพ นับว่าเป็นปัจจัย สำคัญประการหนึ่งที่จะเป็นปัจจัยเสริมให้การบริหารงานได้มีประสิทธิภาพ ห้อง SEAR ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ มีความ จำเป็นต้องมีการปรับปรุงในด้านสภาพแวดล้อม ภายในห้อง ทำงานให้แลดูสะอาดตาพร้อมทั้งจัดหาสื่อการ เรียนการสอนที่มีความเหมาะสม และทันสมัยพร้อมให้บริการแก่คณะครูและ บุคลากรของ โรงเรียนซึ่งเป็นการสนับสนุนและส่งเสริมให้ผู้ เรียนใฝ่เรียนรู้ แสวงหาความรู้และ เรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัยอย่างกว้าง ขวางและต่อ เนื่องเป็นการเสริมสร้างให้ผู้เรียนเกิด กระบวนการเรียนรู้และเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และการจัดทำโครงการนี้ คณะผู้จัด ทำได้น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ใช้ในการดำเนินงานอีกด้วย
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- เป็นเลิศวิชาการ
- สื่อสาร 2 ภาษา
- -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศผลิตสื่อ/นวัตกรรมที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2. เพื่อปรับปรุงอุปกรณ์และสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ของห้อง SEAR

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศร้อยละ 100 ผลิตสื่อ/นวัตกรรมที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2. ห้อง SEAR ได้รับการปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆและปรับปรุงด้านสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
  วิธีการประเมิน
    ตรวจสอบรายชื่อครูที่ผลิตสื่อและนวัตกรรมที่ใช้ในการจัดการเรียนการเรียนสอน
  เครื่องมือ
    ทะเบียนสื่อ
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูกลุ่มสาระภาษาต่างประเทศโดยใช้สื่อ/นวัตกรรมที่ผลิต อยู่ในระดับ ดี
2. ห้อง SEAR ได้รับการปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆและปรับปรุงด้านสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
  วิธีการประเมิน
    ประเมินความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    แบบประเมินความพึงพอใจ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 7/10/2567          ถึงวันที่ : 7/10/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    ปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆในห้อง SEAR
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4.ดำเนินงานตามโครงการกิจกรรมผลิตสื่อ/นวัตกรรมการสอนภาษาต่างประเทศ
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6.ประเมินผล สรุป และจัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
7.บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 5000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/1/2568     ถึงวันที่ 31/1/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวนุจรีย์ รอดประสิทธิ์
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมผลิตสื่อ/นวัตกรรมการสอนภาษาต่างประเทศ
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4.ดำเนินงานตามโครงการกิจกรรมผลิตสื่อ/นวัตกรรมการสอนภาษาต่างประเทศ
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6.ประเมินผล สรุป และจัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
7.บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 5105 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/1/2568     ถึงวันที่ 31/1/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวนุจรีย์ รอดประสิทธิ์

   รวม 2 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 10,105.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 10,105.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1. นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
2. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
3. กลุ่มบริหารงานวิชาการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ครูผลิตสื่อ/นวัตกรรมที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย
2. นักเรียนได้รับการจัดการเรียนการสอนจากสื่อ/นวัตกรรมที่ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศผลิตขึ้น
3. ห้อง SEAR ได้รับการปรับปรุงอุปกณ์และมีสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 1-29-4
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ชื่อโครงการ ทัศนศึกษานอกสถานที่
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 5. ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 2. ความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรูที่เอื้อต่อการเรียนรู้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 5. ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 2. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนทุกคน
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
ข้อที่ 4. เป็นพลเมืองที่ดี
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวนุจรีย์ รอดประสิทธิ์

1. หลักการและเหตุผล

           การจัดการศึกษายุคใหม่นั้น มุ่งพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะทางวิชาการ ส่งเสริมผู้เรียนให้มีทักษะพิสัย พุทธิพิสัย จิตพิสัยที่สมบูรณ์ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมได้เน้นการจัดกระบวนการเรียนรู้หลากหลายและเล็งเห็นความสำคัญในการจัดกระบวนการเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญที่สุด ดังนั้นโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมจึงจัดโครงการทัศนศึกษานอกสถานที่ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่มุ่งเน้นผู้เรียนให้เกิดการ เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติด้วยตนเอง ให้คิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น สามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง และให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ ตลอดจนกล้าคิด กล้าทำ กล้าตัดสินใจ เพื่อให้ผู้เรียนรู้ข่าวสารสนเทศ เป็นคนหูตากว้างไกล มีวิสัยทัศน์ ก้าวทันเทคโนโลยี สมัยใหม่ต่อไปในอนาคตข้างหน้า มีความรอบรู้จากแหล่งการเรียนรู้และแหล่งวิทยาการภายนอกประเภทต่างๆ จากความสำคัญและความ จำเป็นดังกล่าวช่วยส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้ตรงตามศักยภาพและความต้องการของผู้เรียน โดยมีการน้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมาใช้ในการดำเนินโครงการทัศนศึกษานอกสถานที่ให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- เป็นเลิศวิชาการ
- -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

เพื่อให้นักรียนได้รับความรู้และประสบการณ์ตรงจากการเข้าร่วมกิจกรรมทัศนศึกษานอกสถานที่

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    นักเรียนร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรมทัศนศึกษานอกสถานที่
  วิธีการประเมิน
    สังเกต ตรวจสอบรายชื่อ
  เครื่องมือ
    แบบตรวจสอบรายชื่อนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม
  เชิงคุณภาพ
    นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมทัศนศึกษานอกสถานที่ อยู่ในระดับ ดี ขึ้นไป
  วิธีการประเมิน
    ประเมินความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    แบบประเมินความพึงใจ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/12/2567          ถึงวันที่ : 28/2/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมทัศนศึกษานักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1.ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2.เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4. ดำเนินกิจกรรมตามแผนที่วางไว้ ติดต่อสถานที่ ประชาสัมพันธ์สถานที่ทัศนศึกษาให้นักเรียนทราบ ทำหนังสือขออนุญาตผู้ปกครองนักเรียน เตรียมเอกสารและอุปกรณ์ และดำเนินการจัดกิจกรรมทัศนศึกษาตามวันเวลาที่กำหนด
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6.ประเมินผล สรุป และจัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
7.บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 115200 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ แหล่งเรียนรู้นอกสถานศึกษา
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/12/2567     ถึงวันที่ 28/2/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวณัฐกาญจน์ จานแก้ว
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมทัศนศึกษานักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1.ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2.เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4. ดำเนินกิจกรรมตามแผนที่วางไว้ ติดต่อสถานที่ ประชาสัมพันธ์สถานที่ทัศนศึกษาให้นักเรียนทราบ ทำหนังสือขออนุญาตผู้ปกครองนักเรียน เตรียมเอกสารและอุปกรณ์ และดำเนินการจัดกิจกรรมทัศนศึกษาตามวันเวลาที่กำหนด
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6.ประเมินผล สรุป และจัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
7.บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 104100 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ แหล่งเรียนรู้นอกสถานศึกษา
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/12/2567     ถึงวันที่ 28/2/2568
  ผู้รับผิดชอบ ว่าที่ร้อยตรีหญิงทิพย์มาศ สำแดง
    กิจกรรมที่ 3    กิจกรรมทัศนศึกษานักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1.ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2.เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4.ดำเนินกิจกรรมตามแผนที่วางไว้ ติดต่อสถานที่ ประชาสัมพันธ์สถานที่ทัศนศึกษาให้นักเรียนทราบ ทำหนังสือขออนุญาตผู้ปกครองนักเรียน เตรียมเอกสารและอุปกรณ์ และดำเนินการจัดกิจกรรมทัศนศึกษาตามวันเวลาที่กำหนด
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6.ประเมินผล สรุป และจัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร
ขั้นตอนการกำกับติดตาม(V2)
7.บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 96000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ แหล่งเรียนรู้นอกสถานศึกษา
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/12/2567     ถึงวันที่ 28/2/2568
  ผู้รับผิดชอบ นายมนตรี แต่งจันทร์
    กิจกรรมที่ 4    กิจกรรมทัศนศึกษานักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1.ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2.เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4.ดำเนินกิจกรรมตามแผนที่วางไว้ ติดต่อสถานที่ ประชาสัมพันธ์สถานที่ทัศนศึกษาให้นักเรียนทราบ ทำหนังสือขออนุญาตผู้ปกครองนักเรียน เตรียมเอกสารและอุปกรณ์ และดำเนินการจัดกิจกรรมทัศนศึกษาตามวันเวลาที่กำหนด
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6.ประเมินผล สรุป และจัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร
ขั้นตอนการกำกับติดตาม(V2)
7.บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 123900 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ แหล่งเรียนรู้นอกสถานศึกษา
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/12/2567     ถึงวันที่ 28/2/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวนิติยา จันทะสี
    กิจกรรมที่ 5    กิจกรรมทัศนศึกษานักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1.ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2.เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4.ดำเนินกิจกรรมตามแผนที่วางไว้ ติดต่อสถานที่ ประชาสัมพันธ์สถานที่ทัศนศึกษาให้นักเรียนทราบ ทำหนังสือขออนุญาตผู้ปกครองนักเรียน เตรียมเอกสารและอุปกรณ์ และดำเนินการจัดกิจกรรมทัศนศึกษาตามวันเวลาที่กำหนด
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6.ประเมินผล สรุป และจัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร
ขั้นตอนการกำกับติดตาม(V2)
7.บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 112500 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ แหล่งเรียนรู้นอกสถานศึกษา
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/12/2567     ถึงวันที่ 28/2/2568
  ผู้รับผิดชอบ นายประณต ฉัฐมะ
    กิจกรรมที่ 6    กิจกรรมทัศนศึกษานักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1.ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2.เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4.ดำเนินกิจกรรมตามแผนที่วางไว้ ติดต่อสถานที่ ประชาสัมพันธ์สถานที่ทัศนศึกษาให้นักเรียนทราบ ทำหนังสือขออนุญาตผู้ปกครองนักเรียน เตรียมเอกสารและอุปกรณ์ และดำเนินการจัดกิจกรรมทัศนศึกษาตามวันเวลาที่กำหนด
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6.ประเมินผล สรุป และจัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร
ขั้นตอนการกำกับติดตาม(V2)
7.บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 101100 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ แหล่งเรียนรู้นอกสถานศึกษา
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/12/2567     ถึงวันที่ 28/2/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวชมพูนุท คำธารา

   รวม 6 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 652,800.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 652,800.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม หน่วยงานอื่นๆ และแหล่งเรียนรู้ภายนอก
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนได้เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่มแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
2. นักเรียนมีความสุข สนุกสนาน เพลิดเพลิน จากการเข้าร่วมกิจกรรมทัศนศึกษา
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 1-18-8
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ชื่อโครงการ โครงการการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (HCEC) โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
ข้อที่ 4. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 10. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 4. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 4. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 5. ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 2. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนทุกคน
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 2. ส่งเสริมคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 4. เป็นพลเมืองที่ดี
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวนุจรีย์ รอดประสิทธิ์

1. หลักการและเหตุผล

           โลกก้าวไกล การศึกษาไทยต้องก้าวให้ทัน กระทรวงศึกษาธิการในฐานะหน่วยงานดูแลด้านการศึกษาของประเทศให้มีศักยภาพ ทัดเทียมสากล จึงมุ่งมั่นนำพาการศึกษาไทยสู่ยุคใหม่ เป็นการศึกษายกกำลังสองที่มีความยืดหยุ่น สามารถตอบโจทย์ความต้องการ ของ สังคมและตลาด โดยมุ่งเน้นการสร้างระบบนิเวศทางการศึกษา (Thailand Education Eco-System : TE2S) ที่เอื้อต่อการ พัฒนา ศักยภาพคนสู่ความเป็นเลิศผ่าน 3 กลไกขับเคลื่อนหลัก คือ ศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลด้วยความเป็นเลิศ (Human Capital Excellence Center : HCEC) แพลตฟอร์มด้านการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ (Digital Education Excellence Platform : DEEP) และ แผนพัฒนารายบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (Excellence Individual Development Plan : EIDP)ซึ่งทำงาน ประสาน เชื่อมโยงกันในการ ปลดล็อก ปรับเปลี่ยน เปิดกว้างให้การศึกษาไทยเป็นการศึกษายกกำลังสองอย่างแท้จริง

ศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (Human Capital Excellence Center : HCEC) ใน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ จัด ตั้งขึ้นเพื่อเป็นศูนย์กลางในการฝึก อบรมพัฒนา ครูและบุคลากรทางการศึกษาแบบออนไลน์และแบบห้องเรียนเสมือนจริง (Virtual Classroom) โดยมุ่งหวังให้เป็นศูนย์ พัฒนา ศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถในทักษะต่างๆที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 ในเขตพื้นที่การ ศึกษาที่สอนและจัดอบรมโดยผู้ เชี่ยวชาญ เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา

ทั้งนี้สำนักงานคณะกรรมการการ ศึกษาขั้นพื้นฐานมีนโยบายใน การจัดตั้งศูนย์พัฒนา ศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (Human Capital Excellence Center : HCEC) ในทุกจังหวัดทั่วประเทศ รวม 185 ศูนย์ โดย ใช้ศูนย์พัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ (English Resources Information Center : ERIC) เดิม ที่ตั้งอยู่ในโรงเรียน ประจำจังหวัดและโรงเรียน ประจำอำเภอเป็นที่ตั้งของศูนย์ ดังนั้น โรงเรียน ท่ามะกาวิทยาคม จึงได้ดำเนินการ ตั้งศูนย์พัฒนาศักยภาพ บุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (Human Capital Excellence Center : HCEC) ประจำเขตอำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี เพื่อทำ หน้าที่เป็นศูนย์ในการอบรมพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งในด้าน สมรรถนะพื้นฐานและสมรรถนะ วิชาชีพ เป็นศูนย์การทดสอบ (Testing Center) โดยใช้พื้นที่เป็นฐาน และเป็นศูนย์ในการตรวจสอบ รับรองคุณสมบัติในด้านต่าง ๆ ตามนโยบายของสำนักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- เป็นเลิศวิชาการ
- สื่อสาร 2 ภาษา
- -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อปรับปรุงอุปกรณ์และตกแต่งห้องคอมพิมเตอร์ของศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ(HCEC)โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
2. เพื่อเป็นสถานที่สำหรับให้บริการด้านการสอบหรือการอบรมให้กับข้าราชครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน และชุมชนที่อยู่ในเขตพื้นที่บริการ

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. ห้องคอมพิวเตอร์ของศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (HCEC) โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมพร้อมให้บริการกับข้าราชครูและบุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนในเขตพื้นที่บริการ ร้อยละ 100
2. ข้าราชครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน และชุมชนที่อยู่ในเขตพื้นที่บริการเข้าร่วมการสอบหรือการอบรมร้อยละ 80
  วิธีการประเมิน
    ประเมินจากจำนวนผู้เข้าใช้ห้องห้องคอมพิวเตอร์ของศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (HCEC) โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  เครื่องมือ
    แบบบันทึก/รายงานการใช้ห้องคอมพิวเตอร์ของศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (HCEC) โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  เชิงคุณภาพ
    1. ข้าราชครูและบุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนในเขตพื้นที่บริกามีความพึงพอใจในการใช้ห้องคอมพิวเตอร์ของศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (HCEC) โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม อยู่ในระดับ ดีมาก
2. ข้าราชครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน และชุมชนที่อยู่ในเขตพื้นที่บริการเข้าร่วมการสอบหรือการอบรมมีความพึงพอใจต่อการให้บริการ อยู่ในระดับ ดี
  วิธีการประเมิน
    ประเมินความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    แบบประเมินความพึงพอใจ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/11/2567          ถึงวันที่ : 30/9/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมปรับปรุงอุปกรณ์และตกแต่งห้องคอมพิมเตอร์ของศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (HCEC)โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1. จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการ
2. ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4. บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม
5. ดำเนินกิจกรรม
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
6. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
7. สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
8. รายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 30000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (HCEC) โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/11/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นายเคบอย สินสุพรรณ์ และคณะ
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมการจัดสอบหรือการอบรมให้กับข้าราชครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน และชุมชนที่อยู่ในเขตพื้นที่บริการ
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4. ดำเนินการจัดกิจกรรมตามแผนที่วางไว้
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6. สรุปผลการดำเนินการ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
7. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 20000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (HCEC) โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/11/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นายเคบอย สินสุพรรณ์ และคณะ

   รวม 2 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 50,000.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 50,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1. ข้าราชครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียนเรียน โรงเรียนท่ามะากวิทยาคม
2. ข้าราชครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียนเรียนในเขตพื้นที่บริการ
3. ชุมชน และหน่วยงานอื่นๆ ภายนอก
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ห้องคอมพิวเตอร์ของศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (HCEC) โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม พร้อมใช้งานและให้บริการแก่ครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน และชุมชนที่อยู่ในและนอกเขตพื้นที่บริการ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 1-29-4
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ชื่อโครงการ ส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรม (ลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด)
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 1. ปลูกฝังความรักในสถาบันหลักของชาติ และน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติ
ข้อที่ 5. ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 2. ความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 3. การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 2. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนทุกคน
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 1. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
ข้อที่ 4. เป็นพลเมืองที่ดี
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวนุจรีย์ รอดประสิทธิ์

1. หลักการและเหตุผล

           หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กำหนดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนไว้ 3 กิจกรรม คือ 1. กิจกรรม แนะแนว 2. กิจกรรมนักเรียน ซึ่งได้แก่ กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์ นักศึกษาวิชาทหาร และกิจกรรมชุมนุม ชมรม และ 3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ กิจกรรมดังกล่าวมุ่งให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบ ด้านเพื่อ ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝังและ สร้างจิตสำนึกของการทำประโยชน์เพื่อสังคม สามารถจัดการตนเองได้และอยู่ร่วมกับ้อื่นอย่างมีความสุข กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนมุ่ง พัฒนาผู้ เรียนให้ใช้องค์ความรู้ ทักษะและเจตคติจากการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และประสบการณ์ของผู้เรียนมาปฏิบัติกิจกรรม เพื่อช่วยให้ผู้ เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ ได้แก่ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการ ใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ซึ่งจะส่งผลในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ได้แก่ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ เกิดทักษะกาทำงาน และอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก

โดยโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมได้ จัดให้นักเรียนทุกคนเข้าร่วมกิจกรรม โดยมีแนวการจัด กิจกรรม ดังนี้ 1.ให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ 2.ให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมผ่านประสบการณ์ที่หลากหลาย ฝึกการทำงานที่ สอดคล้องกับชีวิตจริง ตลอดจนสะท้อนความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ของผู้เรียน 3.จัดกิจกรรมอย่างสมดุลทั้ง 3 ลักษณะ คือ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียนและกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์โดยจัดกิจกรรมรายบุคคล กิจกรรมกลุ่ม ทั้งในและนอก สถานศึกษาอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง 4.จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเป็นผู้ดำเนินการโดยการศึกษาและใช้ข้อมูลประกอบการวางแผนอย่างเป็น ระบบ เน้นการคิดวิเคราะห์และใช้ ความคิดสร้างสรรค์ในการดำเนินกิจกรรม 5.ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้แบบร่วมมือมากกว่า เน้นการแข่งขันบนพื้นฐานการปฏิบัติตามวิถีประชาธิปไตย 6.จัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่กิจกรรม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจึง เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่ช่วยให้ผู้เรียนได้นำองค์ความรู้ ทักษะจากการเรียนรู้และ ประสบการณ์ของผู้เรียนมาปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาตนเองเพื่อเป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย และมีจิตสำนึกสาธารณะที่ดีงาม เป็นคน มีปัญญาในการใช้ทักษะชีวิต การคิดการสื่อสารการแก้ปัญหา และการใช้เทคโนโลยี และเป็นคนมีความสุขในการดำเนินชีวิต โดยการ น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจำวันและการทำงาน และอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างสร้าง


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - ร่วมรับผิดชอบสังคมโลก
-
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมวันสำคัญของลูกเสือและกิจกรรมต่างๆของลูกเสือ
2. เพื่อการจัดซื้อและจัดจ้างและอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอนลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด
3. เพื่อส่งเสริมให้ลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด มีจิตอาสา 4. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมการอยู่ค่ายพักแรมของลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรมวันสำคัญของลูกเสือและกิจกรรมต่างๆของลูกเสือ
2. ครูร้อยละ 100 มีอุปกรณ์ที่ใช้การจัดการเรียนการสอนลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด
3. นักเรียนร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรมยุวอาสา
4. นักเรียนร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรมการอยู่ค่ายพักแรมของลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด
  วิธีการประเมิน
    สังเกต สัมภาษณ์ และ ตรวจสอบรายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  เครื่องมือ
    แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ และ รายชื่อของผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมวันสำคัญของลูกเสือและกิจกรรมต่างๆของลูกเสือ อยู่ในระดับ ดี ขึ้นไป
2. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด อยู่ในระดับ ดี ขึ้นไป
3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมยุวอาสา อยู่ในระดับ ดี ขึ้นไป
4. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมการอยู่ค่ายพักแรมของลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด อยู่ในระดับ ดี ขึ้นไป
  วิธีการประเมิน
    ประเมินความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    แบบประเมินความพึงพอใจ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2567          ถึงวันที่ : 28/2/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมการจัดซื้อจัดจ้างและอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอนลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4. ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ สำรวจความต้องการใช้วัสดุ อุปกรณ์ ประสานงานผู้เกี่ยวข้อง และดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6. สรุปผลการดำเนินการ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
7. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 3500 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/11/2567     ถึงวันที่ 31/12/2567
  ผู้รับผิดชอบ นายจีระศักดิ์ กลมวง
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมวันสำคัญของลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4. ดำเนินกิจกรรมวันสำคัญของลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6. สรุปผลการดำเนินการ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
7. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 4500 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/11/2567     ถึงวันที่ 31/12/2567
  ผู้รับผิดชอบ นายจีระศักดิ์ กลมวง
    กิจกรรมที่ 3    กิจกรรมยุวอาสา
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4. ดำเนินการกิจกรรมยุวอาสา
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6. สรุปผลการดำเนินการ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
7. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 3400 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมและชุมชน
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/11/2567     ถึงวันที่ 28/2/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางกันหา อินจีน
    กิจกรรมที่ 4    กิจกรรมลูกเสืออาสา กกต.
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4. ดำเนินการกิจกรรมลูกเสือ กกต.
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6. สรุปผลการดำเนินการ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
7. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมและชุมชน
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/11/2567     ถึงวันที่ 28/2/2568
  ผู้รับผิดชอบ นายจีระศักดิ์ กลมวง
    กิจกรรมที่ 5    กิจกรรมอยู่ค่ายพักแรมของลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4. ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ ประสานงานผู้เกี่ยวข้อง และจัดกิจกรรมค่ายพักแรม สถานที่เข้าค่าย คือ ค่ายท่าเสด็จ จ.กาญจนบุรี
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6. สรุปผลการดำเนินการ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
7. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 115200 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ค่ายท่าเสด็จ จ.กาญจนบุรี
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 17/1/2568     ถึงวันที่ 18/1/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวณัฐกาญจน์ จานแก้ว
    กิจกรรมที่ 6    กิจกรรมอยู่ค่ายพักแรมของลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4. ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ ประสานงานผู้เกี่ยวข้อง และจัดกิจกรรมค่ายพักแรม สถานที่เข้าค่าย คือ ค่ายเสือกินผัก อ.ด่านมะขามเตี้ย จ.กาญจนบุรี
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6. สรุปผลการดำเนินการ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
7. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 104100 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ค่ายเสือกินผัก อ.ด่านมะขามเตี้ย จ.กาญจนบุรี
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 23/1/2568     ถึงวันที่ 24/1/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวปวีณา ปูชะพันธ์
    กิจกรรมที่ 7    กิจกรรมอยู่ค่ายพักแรมของลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) 1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน 2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) 3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) 4. ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ ประสานงานผู้เกี่ยวข้อง และจัดกิจกรรมค่ายพักแรม สถานที่เข้าค่าย คือ ค่ายอนุสรณ์ศุภมาศ อ.โพธาราม จ.ราชบุรี ขั้นตอนการประสานงาน(M2) 5. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) 6. สรุปผลการดำเนินการ ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) 7. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 96000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ค่ายอนุสรณ์ศุภมาศ อ.โพธาราม จ.ราชบุรี
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 23/1/2568     ถึงวันที่ 24/1/2568
  ผู้รับผิดชอบ นายอรรถพล ศรัทธาผล

   รวม 7 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 326,700.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 326,700.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ชุมชน และผู้อื่นที่เกี่ยวข้องในการจัดกิจกรรม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนมีความรับผิดชอบ มีวินัย มีภาวะผู้นำและมีจิตอาสา
2. นักเรียนเรียนรู้อยู่ร่วมกันและการทำงานเป็นทีม
3. นักเรียนเป็นผู้มีทัศนคติที่ดี มีหลักคิดที่ถูกต้อง มีคุณธรรมจริยธรรม เป็นพลเมืองที่ดีของชาติและเพลเมืองโลกที่ดี
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 1-18-9
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ชื่อโครงการ พัฒนาและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 1. การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ
ข้อที่ 2. การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
ข้อที่ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
ข้อที่ 4. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา
ข้อที่ 5. การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 1. ปลูกฝังความรักในสถาบันหลักของชาติ และน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติ
ข้อที่ 3. ปรับกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้ทันสมัยและหลากหลาย
ข้อที่ 4. ส่งเสริมการอ่าน เพื่อเป็นวิถีในการค้นหาความรู้และต่อยอดองค์ความรู้ที่สูงขึ้น
ข้อที่ 5. ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ข้อที่ 6. จัดการศึกษาแบบเรียนรวม
ข้อที่ 7. จัดการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 1. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ
ข้อที่ 2. ความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา
ข้อที่ 3. มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
ข้อที่ 4. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ข้อที่ 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
ข้อที่ 6. มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 2. ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
ข้อที่ 3. การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
ข้อที่ 4. สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 1. มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน
ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
ข้อที่ 4. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
ข้อที่ 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
ข้อที่ 6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและจัดการเรียนรู้
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรูที่เอื้อต่อการเรียนรู้
ข้อที่ 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
ข้อที่ 4. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
ข้อที่ 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ข้อที่ 2. ส่งเสริมให้นักเรียนและสนับสนุนให้นักเรียนมีทักษะในการประกอบอาชีพ
ข้อที่ 3. ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูสร้างและพัฒนางานวิจัย และนวัตกรรม ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน
ข้อที่ 6. ส่งเสริมกระบวนการการบริหารจัดการสถานศึกษาด้วยระบบคุณภาพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความปลอดภัยจากภัยทุกรูปแบบ
ข้อที่ 2. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนทุกคน
ข้อที่ 3. ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
ข้อที่ 4. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
ข้อที่ 2. ส่งเสริมคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
ข้อที่ 4. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 1. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
ข้อที่ 3. มีงานทำ-มีอาชีพ
ข้อที่ 4. เป็นพลเมืองที่ดี
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางเฉิดโฉม ลอยพโยม

1. หลักการและเหตุผล

           "ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ. 2545 มาตร 22 การจัดการ ศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนสำคัญที่สุดกระบวนการจัดการ ศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ การจัดการเรียนการสอนตาม มาตรา 22 พระ ราชบัญญัติการ ศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 เป็นการจัดการศึกษาต้องยึดผู้เรียนเป็น สำคัญ ซึ่งผู้เรียนแต่ละคนมีความสามารถและความถนัดหรือความสนใจที่แตกต่างกัน ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้ การเปิดโอกาส ให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนและพัฒนาตนเองในด้านที่ถนัดหรือมีความสามารถ เพื่อเพิ่มพูนศักยภาพของตนเอง

จากการทดสอบวัดผลการศึกษาในปี 2564 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศยังอยู่ในระดับ น่าพึงพอใจตามนโบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้าประสงค์ของสำนักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ กำหนดให้ผู้ เรียนทุกคนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและพัฒนาสู่ความเป็น หนึ่งในสองของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ให้ครูและบุคลากรสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเต็มศักยภาพ และนโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์ของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมที่กำหนดให้นักเรียนเป็นพลโลกที่มีความเป็น เลิศทางวิชาการ ทุกคนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นหนึ่งในสามของจังหวัดกาญจนบุรี และกำหนดจุดเน้นให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ต้องเพิ่มสูงขึ้น ครูกลุ่มสาระภาษาต่างประเทศตระหนัก เห็นความสำคัญและจำเป็นต้องพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณสมบัติตามเป้าหมายและพัฒนาการเรียนการสอนให้มีผู้เรียนมีคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นเป็นไปตามค่าเป้าหมายของโรงเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ ร้อยละ 72 ของนักเรียน ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับ 2.5 จึงจัดทำโครงการนี้ขึ้นโดยบูรณาการหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลักสูตรท้องถิ่นมาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- เป็นเลิศวิชาการ
- สื่อสาร 2 ภาษา
- ล้ำหน้าทางความคิด
- ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
- ร่วมรับผิดชอบสังคมโลก
-
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อพัฒนาและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ให้สูงขึ้น.
2. เพื่อให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ผ่านเกณฑ์ตามเป้าหมายของโรงเรียน

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ร้อยละ 72 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษได้เกรด 2.5 ขึ้นไป
2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ร้อยละ 50 มีผลการทดสอบวิชาภาษาอังกฤษผ่านเกณฑ์ตามเป้าหมายของโรงเรียน
  วิธีการประเมิน
    การสำรวจ/การสังเกต
  เครื่องมือ
    แบบทดสอบ
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษตั้งแต่เกรด 2.5 ขึ้นไป
2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีผลการทดสอบวิชาภาษาอังกฤษผ่านเกณฑ์ตามเป้าหมายของโรงเรียน
  วิธีการประเมิน
    ทดสอบ
  เครื่องมือ
    แบบทดสอบ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/12/2567          ถึงวันที่ : 28/2/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมติวเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์วิชาภาษาอังกฤษมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) 1.ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน 2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) 3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) 4. ดำเนินการจัดกิจกรรมติวเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์วิชาภาษาอังกฤษให้กับมัธยมศึกษาปีที่ 6 ขั้นตอนการประสานงาน(M2) 5.ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป 6. สรุปผลการดำเนินการ ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) 7.รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/12/2567     ถึงวันที่ 28/2/2568
  ผู้รับผิดชอบ นายเคบอย สินสุพรรณ์ และคณะ

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. เพื่อพัฒนาและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ให้สูงขึ้น 2. เพื่อให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ผ่านเกณฑ์ตามเป้าหมายของโรงเรียน
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 1-18-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 4. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 5. ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ข้อที่ 9. เพิ่มโอกาสและสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 3. การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 3. ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
ข้อที่ 2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรูที่เอื้อต่อการเรียนรู้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 5. ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 2. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนทุกคน
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวพิมพ์พิชชา เจียประเสริฐ

1. หลักการและเหตุผล

           กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้าน ร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกใน ความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา กษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องราวและ วัฒนธรรมอันหลากหลายของประชาคมโลกและสามารถถ่ายทอดความคิดและ วัฒนธรรมไทยไปยังสังคมโลกได้อย่างสร้างสรรค์มีความรู้และทักษะพื้นฐาน ในการใช้ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษา ญี่ปุ่น) ทั้ง 4 ทักษะ ได้แก่ ทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียน รวมทั้งเจตคติที่จำเป็นต่อการศึกษาต่างประเทศ แนวทาง การ ประกอบ อาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ เต็มตาม ศักยภาพความ จำเป็น/ความเร่งด่วน ในการเรียนภาษาต่างประเทศนั้น ผู้เรียนต้องเรียนรู้วัฒนธรรมและประเพณีต่างๆของเจ้าของ ภาษา ควบคู่ไปจะช่วยให้การเรียนรู้สมบูรณ์ดียิ่งขึ้น กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศจึงเห็นควรจัดงานวันคริสต์มาสเชิงวิชาการ เพื่อ ให้ผู้เรียน เข้าใจในความจริงของวัฒนธรรมการฉลองเทศกาลวันคริสต์มาส มี วิจารณญาณในการเข้าถึงวัฒนธรรมต่างประเทศอย่างถูกต้อง ให้นักเรียน ได้เข้าร่วมกิจกรรมที่แสดงความสามารถด้านทักษะต่างๆทางภาษา เพื่อเป็นการส่งเสริม ทักษะความรู้ของภาษาต่างประเทศ และเปิดโอกาส ให้ทุกคนทำงานเป็นทีมและร่วมกันทำงานอย่างรับผิดชอบเป็นลำดับขั้นตอน และส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และกล้า แสดงออกในเรื่อง ที่ดีอีกด้วย จากการจัดกิจกรรมวันคริสต์มาสเชิงวิชาการในปีที่ผ่านมานั้น จะเห็นได้ว่านักเรียนได้ให้ความสนใจและเข้า ร่วมแข่งกัน กิจกรรม ต่างๆเป็นอย่างมากมาก นักเรียนมีความสุขสนุกสนานทีได้เข้าร่วมกิจกรรม และสิ่งที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งการจัดทำ โครงการนี้คณะผู้จัดทำได้ น้อมนำหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนินงานอีกด้วย
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- สื่อสาร 2 ภาษา
- -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจถึงประเพณีวัฒนธรรมเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับวัฒนธรรมไทย
2. เพื่อให้นักเรียนฝึกทักษะทางภาษาในด้านการฟัง พูด อ่าน และเขียน โดยใช้แหล่งเรียนรู้และสื่อที่หลากหลาย
3. เพื่อให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมวันคริสต์มาสเชิงวิชาการ

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนร้อยละ 100 มีความรู้ความเข้าใจถึงประเพณีวัฒนธรรมเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับวัฒนธรรมไทย
2. นักเรียนร้อยละ 100 ฝึกทักษะทางภาษาในด้านการฟัง พูด อ่าน และเขียน โดยใช้แหล่งเรียนรู้และสื่อที่หลากหลาย
3. นักเรียนร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรมวันคริสต์มาสเชิงวิชาการ
  วิธีการประเมิน
   
  เครื่องมือ
   
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจถึงประเพณีวัฒนธรรมเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับวัฒนธรรมไทย
2. นักเรียนได้ฝึกทักษะทางภาษาในด้านการฟัง พูด อ่าน และเขียน โดยการเข้าร่วมกิจกรรมวันคริสมาสต์เชิงวิชาการ
3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมวันคริสต์มาสเชิงวิชาการ อยู่ในระดับ ดี ขึ้นไป
  วิธีการประเมิน
   
  เครื่องมือ
   

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/12/2567          ถึงวันที่ : 30/12/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมคริสมาสต์เชิงวิชาการ
  ขั้นเตรียมการ ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) 1.ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน 2.เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) 3.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
  ขั้นดำเนินการ ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) 4.ดำเนินการจัดกิจกรรมวันคริสต์มาสเชิงวิชาการ ขั้นตอนการประสานงาน(M2) 5.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) 6.ประเมินผล สรุป และจัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) 7.บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 10377 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มสารการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/12/2567     ถึงวันที่ 30/12/2567
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวพิมพ์พิชชา เจี่ยประเสริฐ

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 10,377.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 10,377.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ กลุ่มบริหารงานวิชาการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมวันคริสต์มาสเชิงวิชาการอย่างมีความสุข 2. นักเรียนได้แสดงความสามารถทางภาษาและกล้าแสดงออกอย่างเต็มที่ 3. นักเรียนเข้าใจวัฒธนธรรมของเจ้าของภาษา 4. นักเรียนได้ทำงานร่วมกันเป็นทีม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
งบประมาณไม่เพียงพอ

 

 

รหัสโครงการ 1-26-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน โครงการห้องเรียนภาษาจีน ญี่ปุ่น
ชื่อโครงการ พัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 3. ปรับกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้ทันสมัยและหลากหลาย
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 1. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 3. การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 3. ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 5. ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 3. ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 3. มีงานทำ-มีอาชีพ
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางกิติยา พันธ์ครุฑ

1. หลักการและเหตุผล

           สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ประกาศนโยบายด้านการปฏิรูปการเรียนรู้โดยเน้นนักเรียนเป็นสำคัญเพื่อพัฒนา กระบวนการเรียนรู้และพัฒนาคุณลักษณะอย่างหลากหลายให้มีความรู้ ความคิด ทักษะปฏิบัติค่านิยมที่ดีอย่างสมดุล และ สอดคล้อง กับ การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศจึงดำเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ภาษาจีน เพื่อให้ นักเรียนได้ศึกษาเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมจีน อย่างมีประสิทธิภาพและกล้าแสดงออกในสิ่งที่ดีงาม พัฒนา คุณลักษณะอันพึง ประสงค์และ สามารถฝึกและพัฒนานักเรียนในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านการเรียนรู้ คุณธรรม จริยธรรม และมุ่งเน้นให้นักเรียนได้พัฒนาทักษะ ทั้ง 4 ทางภาษา กับเจ้าของภาษา ทักษะการคิดวิเคราะห์ การทำงาน ร่วมกัน และการเรียนรู้นอกสถานที่เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ใน สถานการณ์จริง

เนื่องจากโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ได้จัดการเรียนการ สอนหลักสูตรวิชาเลือกภาษาจีน ดังนั้น กลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศได้ตระหนักถึงความสำคัญและเล็งเห็นถึงประโยชน์อัน จะเกิดต่อผู้เรียน และสถานศึกษาจึงได้ จัด กิจกรรมค่ายภาษาจีน กิจกรรมเสริมสร้างวัฒนธรรมจีน กิจกรรมพัฒนาทักษะสู่ความเป็นเลิศทางภาษาจีน และกิจกรรมปรับปรุงวัสดุ- อุปกรณ์ต่างๆในห้องศูนย์วิชาภาษาจีน เพื่อพัฒนาทักษะของผู้เรียนในด้านภาษาให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ที่ผ่านมานักเรียนที่เข้าร่วม กิจกรรมต่างๆของภาษาจีน มีความพึงพอใจเป็นอย่างมาก นักเรียนได้รับความรู้ ทักษะทางภาษา ความ สนุกสนานจากการเข้าค่าย ภาษา และยังเป็นการเสริมสร้างความรู้และเจตคติที่ดีต่อวัฒนธรรมจีน ให้นักเรียนมีประสิทธิภาพในการเรียนสูงขึ้นและในการจัด กิจกรรมและ โครงการต่างๆ คณะผู้ดำเนินการได้น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพล อดุลยเดชมาเป็น แนวทางในการดำเนินงาน


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- สื่อสาร 2 ภาษา
- -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความสามารถในทักษะการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ทางด้านวิชาภาษาจีน
2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ และเจตคติที่ดีต่อศิลปวัฒนธรรมจีน
3. เพื่อส่งเสริมให้ครู ผลิตสื่อ/นวัตกรรมที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
4. เพื่อปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆและปรับปรุงด้านสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องศูนย์ภาษาจีน

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนร้อยละ ๘๐ ได้รับการพัฒนาทางด้านการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ทางด้านวิชาภาษาจีน
2. นักเรียนร้อยละ ๘๐ มีความรู้ และเจตคติที่ดีต่อศิลปวัฒนธรรมจีน
3. ครูที่สอนในรายวิชาภาษาจีน ร้อยละ 100 ผลิตสื่อ/นวัตกรรมที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
4. ห้องศูนย์ภาษาจีน ได้รับการปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆและปรับปรุงด้านสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
  วิธีการประเมิน
    ครูนักเรียนและผู้เกี่ยวข้องทำแบบสอบถาม
  เครื่องมือ
    แบบสอบถาม
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนได้รับการพัฒนาทางด้านการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ทางด้านวิชาภาษาจีนอยู่ในระดับดีขึ้นไป
2. นักเรียนมีความรู้ และเจตคติที่ดีต่อศิลปวัฒนธรรมจีนอยู่ในระดับดีขึ้นไป
3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูที่สอนในรายวิชาภาษาจีน โดยใช้สื่อ/นวัตกรรมที่ผลิต อยู่ในระดับ ดี
4. ห้องศูนย์ภาษาจีนได้รับการปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆและปรับปรุงด้านสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกให้เป็นบรรยากาศแห่งการเรียนรู้
  วิธีการประเมิน
    ครูนักเรียนและผู้เกี่ยวข้องทำแบบสอบถาม
  เครื่องมือ
    แบบสอบถาม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2567          ถึงวันที่ : 30/9/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมค่ายภาษาจีน
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
- เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- ประชุมคณะกรรมการเพื่อเตรียมดำเนินการและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- เตรียมเนื้อหาเอกสารในการจัดกิจกรรม
- ดำเนินการจัดกิจกรรมค่ายภาษาจีน
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประชาสัมพันธ์รับสมัครนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม
- ติดต่อประสานงานวิทยากรชาวต่างประเทศและติดต่อประสานงานแหล่งเรียนรู้ต่างๆ
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- ประเมินผลการจัดกิจกรรม
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ
- นำผลการปฏิบัติมาปรับปรุงกิจกรรม
- นำกิจกรรมที่ปรับปรุงแล้ว ใช้เป็นต้นแบบของโครงการต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 75000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/6/2568     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางกิติยา พันธ์ครุฑ
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมปรับปรุงวัสดุ-อุปกรณ์ต่างๆในห้องศูนย์วิชาภาษาจีน
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- สำรวจวัสดุอุปกรณ์ต่างในห้องศูนย์ภาษาจีน
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการเพื่อขออนุมัติ
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- ดำเนินงานตามโครงการกิจกรรมพัฒนาปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆในห้องศูนย์วิชาภาษาจีน
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปผลการดำเนินการ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการดำเนินการตามโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 30000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ห้องภาษาจีน โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางกิติยา พันธ์ครุฑ นางสาวมนัชญา กาติ๊บ และ นางสาวณัฐชฎา ทองเอีย
    กิจกรรมที่ 3    กิจกรรมเสริมสร้างวัฒนธรรมจีน
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
- เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- ประชุมคณะกรรมการเพื่อเตรียมดำเนินการและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- เตรียมเนื้อหาเอกสารและวัสดุอุปกรณืในการจัดกิจกรรมวันตรุษจีน
- ดำเนินการจัดกิจกรรมวันตรุษจีน
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประชาสัมพันธ์รับสมัครนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมและการแข่งขันต่างๆ
- ติดต่อประสานงานระหว่างคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายบริหาร เพื่อให้กิจกรรมดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) - ประเมินผลการจัดกิจกรรม ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ
- นำผลการปฏิบัติมาปรับปรุงกิจกรรม
- นำกิจกรรมที่ปรับปรุงแล้ว ใช้เป็นต้นแบบของโครงการต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 25000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2567     ถึงวันที่ 31/3/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวมนัชญา กาติ๊บ

   รวม 3 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 130,000.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 130,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1. วิทยากรทางด้านภาษาจีนจากหน่วยงานต่างๆ
2. ผู้บริหาร คณะครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ และนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนได้รับการพัฒนาทางด้านการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ทางด้านวิชาภาษาจีน
2. นักเรียนมีความรู้ และเจตคติที่ดีต่อศิลปวัฒนธรรมจีน
3. ครูผลิตสื่อ/นวัตกรรมที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย
4. นักเรียนได้รับการจัดการเรียนการสอนจากสื่อ/นวัตกรรมที่ครูทผู้สอนในรายวิชาภาษาจีนจัดทำขึ้น
5. ห้องศูนย์ภาษาจีน ได้รับการปรับปรุงอุปกรณ์และมีสภาพแวดล้อมทางกายภาพให้มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
1. การดำเนินงานโครงการไม่เป็นไปตามระยะเวลาที่โครงการกำหนด
2. การบริหารจัดการงบประมาณไม่เป็นไปตามงบประมาณ

 

 

รหัสโครงการ 1-26-5
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน โครงการห้องเรียนภาษาจีน ญี่ปุ่น
ชื่อโครงการ พัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 3. ปรับกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้ทันสมัยและหลากหลาย
ข้อที่ 4. ส่งเสริมการอ่าน เพื่อเป็นวิถีในการค้นหาความรู้และต่อยอดองค์ความรู้ที่สูงขึ้น
ข้อที่ 10. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 1. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 3. ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย
ข้อที่ 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
ข้อที่ 2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรูที่เอื้อต่อการเรียนรู้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 2. ส่งเสริมให้นักเรียนและสนับสนุนให้นักเรียนมีทักษะในการประกอบอาชีพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 3. ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
ข้อที่ 2. ส่งเสริมคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวณัฐชนก บุตรดาวงษ์

1. หลักการและเหตุผล

           สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ประกาศนโยบายด้านการปฏิรูปการเรียนรู้โดยเน้นนักเรียนเป็นสำคัญเพื่อ พัฒนา กระบวนการ เรียนรู้และพัฒนาคุณลักษณะอย่างหลากหลายให้มีความรู้ ความคิด ทักษะปฏิบัติค่านิยมที่ดีอย่าง สมดุล และสอดคล้อง กับ การเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศจึงดำเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาการ เรียนรู้ ภาษาญี่ปุ่นเพื่อ ให้นักเรียนมี ความสนใจในการศึกษาภาษาญี่ปุ่นอย่างมีประสิทธิภาพและกล้าแสดงออกในสิ่งที่ดีงาม พัฒนา คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ และกิจกรรมหนึ่ง ที่สามารถฝึกและพัฒนานักเรียนในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านการเรียนรู้ คุณธรรม จริยธรรมคือ กิจกรรมเข้าค่าย ภาษาญี่ปุ่นที่มุ่ง เน้นให้นักเรียนได้ พัฒนาทักษะทั้ง 4 ทางภาษากับเจ้าของภาษา ทักษะการคิดวิเคราะห์ การทำงาน ร่วมกัน และการออก ไปเรียนรู้นอก สถานที่เพื่อ พัฒนาการเรียนรู้ในสถานการณ์จริง

เนื่องจากโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ได้จัดการเรียนการสอน ภาษาญี่ปุ่น ดัง นั้นกลุ่ม สาระการ เรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ ได้ตระหนักถึงความสำคัญและเล็งเห็นถึงประโยชน์อันจะเกิดต่อผู้เรียนและสถาน ศึกษา จึงได้ จัดค่ายทางภาษาได้แก่ ค่ายภาษาญี่ปุ่น เพื่อพัฒนาทักษะของผู้เรียนในด้านภาษาให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้น นักเรียนได้รับความ รู้ ทักษะทางภาษาและความ สนุกสนาน จากการเข้าค่ายภาษา และยังเป็นการเสริมสร้างทักษะ ทางด้านภาษาให้นักเรียนมี ประสิทธิภาพสูง ขึ้นและในการจัดโครงการ กิจกรรมค่าย ภาษาคณะผู้ดำเนินการได้น้อมนำหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมา เป็นแนวทางในการดำเนินงานต่าง ๆ


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- เป็นเลิศวิชาการ
- สื่อสาร 2 ภาษา
- ล้ำหน้าทางความคิด
- ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
- -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการฟัง พูดอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคำนวณด้านภาษาญี่ปุ่นและตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม
2. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพด้านภาษาญี่ปุ่น

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนที่เข้าค่ายภาษาร้อยละ 70 มีความสามารถในการฟัง พูดอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคำนวณด้านภาษาญี่ปุ่นและตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม
2. นักเรียนที่เข้าค่ายภาษาร้อยละ 70 มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพด้านภาษาญี่ปุ่น
  วิธีการประเมิน
    ถามตอบกับนักเรียนเพื่อวัดความรู้
  เครื่องมือ
    แบบทดสอบ
การถามตอบคำถาม
แบบสังเกตุ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารด้านภาษาญี่ปุ่นและตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมอยู่ในระดับดีขึ้นไป
2. นักเรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพด้านภาษาญี่ปุ่นอย่ในระดับดีขึ้นไป
  วิธีการประเมิน
    แบบประเมินความพึงพอใจ
แบบสอบถาม
แบบสังเกตุ
  เครื่องมือ
    แบบประเมินความพึงพอใจ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2567          ถึงวันที่ : 15/9/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมค่ายภาษาญี่ปุ่น
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- ประชุมคณะกรรมการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ และนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพภาษาต่างประเทศดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงานกิจกรรม
- เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
- ออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ และนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพภาษาญี่ปุ่น
- ประชุมคณะกรรมการเพื่อเตรียมดำเนินการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ และนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพภาษาญี่ปุ่น
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- เตรียมเนื้อหาเอกสารในการจัดกิจกรรม
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประชาสัมพันธ์รับสมัครนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม
- ติดต่อประสานงานวิทยากรชาวต่างประเทศหรือวิทยากรภาษาญี่ปุ่น และติดต่อประสานงานแหล่งเรียนรู้ต่างๆ
- ดำเนินการเข้าค่ายภาษาญี่ปุ่น
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- ประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่เข้าค่าย
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- นำผลการปฏิบัติมาปรับปรุงกิจกรรม
- นำกิจกรรมที่ปรับปรุงแล้ว ใช้เป็นต้นแบบของโครงการในปีถัดต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 70000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2567     ถึงวันที่ 15/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวณัฐชนก บุตรดาวงษ์ และนางสาวกัญญารัตน์ เรือนอินทร์
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมพัฒนาทักษะสู่ความเป็นเลิศทางภาษาญี่ปุ่น
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) - ประชุมวางแผนการ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) - แจ้งกิจกรรมและหลักเกณฑ์การประกวดแข่งขัน - ดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) - ดำเนินการประกวด แข่งขันกิจกรรมต่างๆ ในระดับเขต ระดับภาค ระดับประเทศ ขั้นตอนการประสานงาน(M2) - คณะครู เเละ นักเรียนเบิกวัสดุอุปกรณ์ไปใช้ในการฝึกซ้อม
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) - สรุปผลการแข่งขัน ระดับเขต ระดับภาค ระดับประเทศ ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) - สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 10000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2567     ถึงวันที่ 15/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวณัฐชนก บุตรดาวงษ์ และนางสาวกัญญารัตน์ เรือนอินทร์
    กิจกรรมที่ 3    กิจกรรมปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆในห้องศูนย์วิชาภาษาญี่ปุ่น
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- ดำเนินงานตามโครงการกิจกรรมพัฒนาปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆในห้องศูนย์วิชาภาษาญี่ปุ่น
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปผลการดำเนินการ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อฝ่ายบริหาร
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 50000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2567     ถึงวันที่ 15/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวณัฐชนก บุตรดาวงษ์ และนางสาวกัญญารัตน์ เรือนอินทร์

   รวม 3 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 130,000.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 130,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
2 คณะผู้บริหาร คณะครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ และนักเรียนแผนการเรียนภาษาญี่ปุ่นโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1 นักเรียนที่ได้รับการเข้าค่ายภาษามีทักษะ ภาษาญี่ปุ่น ทั้ง 4 ทักษะสูงขึ้น ร้อยละ 80 ขึ้นไป
2 นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมค่ายภาษาญี่ปุ่น ได้มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน ทั้ง 4 ทักษะ และมีเจตคติที่ดีต่อวัฒนธรรม ประเพณี และวิชาภาษาญี่ปุ่นมากขึ้น ร้อยละ 80 ขึ้นไป
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 1-01-5
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานจัดการเรียนการสอน
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ กิจกรรมส่งเสริมระบบงานแนะแนว
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
ข้อที่ 4. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 4. ส่งเสริมการอ่าน เพื่อเป็นวิถีในการค้นหาความรู้และต่อยอดองค์ความรู้ที่สูงขึ้น
ข้อที่ 5. ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 6. มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 1. มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 1. มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน
ข้อที่ 4. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ข้อที่ 2. ส่งเสริมให้นักเรียนและสนับสนุนให้นักเรียนมีทักษะในการประกอบอาชีพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 2. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนทุกคน
ข้อที่ 3. ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
ข้อที่ 3. มีงานทำ-มีอาชีพ
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายยุทธิชัย อวยชัย

1. หลักการและเหตุผล

           ตามที่งานแนะแนวได้ดำเนินการตามโครงการในปีงบประมาณ 2564 ผลปรากฏว่าการดำเนินงานเป็นไปด้วยดีจึงเห็น สมควร ดำเนินการ ในปี งบประมาณ 2565 ตามเหตุผลดังนี้ ด้วยปัจจุบันสภาพสังคมมีการเปลี่ยนแปลงหลาย ๆ ด้าน จึงทำให้ นักเรียน มี ปัญหาที่สำคัญคือเรื่องการ ศึกษาต่อเพื่อการประกอบอาชีพ ตลอดจนปัญหาด้านความประพฤติซึ่งมีผลทำให้มี พฤติกรรมที่มี ปัญหามากขึ้น ดังนั้นการให้ความช่วยเหลือ นักเรียนให้รู้จักเข้าใจตนเอง รู้จักโลกกว้างทางการศึกษา โลกกว้างทาง อาชีพ โลก ของงานและสิ่งแวดล้อม รู้จักเลือกตัดสินใจและนำวิธี การแนะแนวมาใช้ในการ วางแผนชีวิตจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ที่จะ ต้อง พัฒนา ระบบการบริหารงานแนะแนวอย่างเป็นระบบเพื่อเป็นแนวทาง ในการช่วยเหลือนักเรียนต่อไป งานแนะแนวจึงได้ จัด ทำ โครงการนี้ขึ้นโดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มาเป็น แนวทาง ในการดำเนินงาน
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- เป็นเลิศวิชาการ
- ล้ำหน้าทางความคิด
- -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมปัจฉิมนิเทศ
2. เพื่อให้นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีความประสงค์จะศึกษาต่อในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ได้สมัครเข้าเรียนตามเกณฑ์การรับนักเรียนโควตาของโรงเรียน
3. เพื่อให้นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 ทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมปฐมนิเทศ
4. เพื่อให้นักเรียนที่ได้รับทุนการศึกษาของโรงเรียนทุกคนได้เข้าร่วมพิธีมอบทุนการศึกษา
5. เพื่อให้นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนเขตพื้นที่บริการของโรงเรียนได้รับการประชาสัมพันธ์การรับสมัครเรียน
6. เพื่อส่งเสริมนักเรียนเพชรท่ามะกา ให้ได้รับการยกเว้นค่าบำรุงการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1
7. เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมตลาดนัดอาชีพ เพื่อค้นหาความถนัด และความสนใจเกี่ยวกับอาชีพ

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมปัจฉิมนิเทศ
2. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ไม่น้อยกว่า 150 คน ผ่านเกณฑ์การรับสมัครนักเรียนโควตา
3. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 ทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมปฐมนิเทศ
4. นักเรียนที่ได้รับทุนการศึกษาของโรงเรียนทุกคนได้เข้าร่วมพิธีมอบทุนการศึกษา
5. นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนเขตพื้นที่บริการของโรงเรียน จำนวน 300 คน ได้รับการประชาสัมพันธ์การรับสมัครเรียน
6. นักเรียนระดับชั้น ม.3 ที่มีผลการเรียนดีเด่น (นักเรียนเพชรท่ามะกา) จำนวน 10 คน ได้รับการยกเว้นค่าบำรุงการศึกษาทั้งปีการศึกษา(ได้รับยกเว้นตอน ม.4 ภาคเรียนที่ 2 และ ม.5 ภาคเรียนที่ 1)
7. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ทุกคน มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมตลาดนัดอาชีพ และค้นหาความถนัดตามความสนใจเกี่ยวกับอาชีพ
  วิธีการประเมิน
    วัดความพึงพอใจผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  เครื่องมือ
    แบบสอบถามความพึงพอใจ
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ทุกคน มีความพึงพอใจต่อกิจกรรมปัจฉิมนิเทศ
2. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีความพึงใจต่อกิจกรรมการรับสมัครนักเรียนโควตา
3. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 ทุกคน พึงพอใจต่อกิจกรรมปัจฉิมนิเทศ
4. นักเรียนที่ได้รับทุนการศึกษาของโรงเรียน มีความพึงพอใจที่ได้เข้าร่วมพิธีมอบทุนการศึกษา
5. นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนเขตพื้นที่บริการของโรงเรียน มีความพึงพอใจต่อการประชาสัมพันธ์การรับสมัครเรียน
6. นักเรียนที่มีผลการเรียนดีเด่น 10 อันดับแรก หลังสำเร็จการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และต้องได้เกรดเฉลี่ย 3.80 ขึ้นไป ได้รับยกเว้นค่าบำรุงการศึกษา (ได้รับยกเว้นตอน ม.4 ภาคเรียนที่ 2 และ ม.5 ภาคเรียนที่ 1)
7. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ทุกคน มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมตลาดนัดอาชีพ
  วิธีการประเมิน
    วัดความพึงพอใจผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  เครื่องมือ
    แบบสอบถามความพึงพอใจ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2567          ถึงวันที่ : 30/9/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    ปัจฉิมนิเทศ
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
-ประชุมคณะกรรมการงานแนะแนวเพื่อเตรียมเสนอแผนโครงการ
-ส่งบันทึกการประชุมให้ฝ่ายบริหารรับทราบ เพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
-ดำเนินการแต่งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบการปฏิบัติกิจกรรมโครงการ
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
-บันทึกขออนุญาตฝ่ายบริหารเพื่อดำเนินกิจกรรมตามแผน ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
-ประสานงานแจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องที่รับผิดชอบตามคำสั่งดำเนินการตามกิจกรรม
-ลงชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม และถ่ายภาพระหว่างดำเนินกิจกรรม
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
-ใช้แบบวัดความพึงพอใจประเมินผลการจัดกิจกรรม
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
-สรุปผลการประเมินกิจกรรมให้ฝ่ายบริหารรับทราบ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 28500 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/2/2568     ถึงวันที่ 28/2/2568
  ผู้รับผิดชอบ นายยุทธิชัย อวยชัย
    กิจกรรมที่ 2    รับนักเรียนโควตา
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
-ประชุมคณะกรรมการงานแนะแนวเพื่อเตรียมเสนอแผนโครงการ
-ส่งบันทึกการประชุมให้ฝ่ายบริหารรับทราบ เพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
-ดำเนินการแต่งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบการปฏิบัติกิจกรรมโครงการ
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
-บันทึกขออนุญาตฝ่ายบริหารเพื่อดำเนินกิจกรรมตามแผน
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
-ประสานงานแจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องที่รับผิดชอบตามคำสั่งดำเนินการตามกิจกรรม
-ลงชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม และถ่ายภาพระหว่างดำเนินกิจกรรม
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
-ใช้แบบวัดความพึงพอใจประเมินผลการจัดกิจกรรม
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
-สรุปผลการประเมินกิจกรรมให้ฝ่ายบริหารรับทราบ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/12/2567     ถึงวันที่ 28/12/2567
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวณัฐชกานต์ วงศ์ศัย
    กิจกรรมที่ 3    ปฐมนิเทศนักเรียนใหม่
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
-ประชุมคณะกรรมการงานแนะแนวเพื่อเตรียมเสนอแผนโครงการ
-ส่งบันทึกการประชุมให้ฝ่ายบริหารรับทราบ เพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
-ดำเนินการแต่งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบการปฏิบัติกิจกรรมโครงการ
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
-บันทึกขออนุญาตฝ่ายบริหารเพื่อดำเนินกิจกรรมตามแผน
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
-ประสานงานแจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องที่รับผิดชอบตามคำสั่งดำเนินการตามกิจกรรม
-ลงชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม และถ่ายภาพระหว่างดำเนินกิจกรรม
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
-ใช้แบบวัดความพึงพอใจประเมินผลการจัดกิจกรรม
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
-สรุปผลการประเมินกิจกรรมให้ฝ่ายบริหารรับทราบ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 17500 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/5/2568     ถึงวันที่ 30/5/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวณัฐชกานต์ วงศ์ศัย
    กิจกรรมที่ 4    มอบทุนการศึกษา
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
-ประชุมคณะกรรมการงานแนะแนวเพื่อเตรียมเสนอแผนโครงการ
-ส่งบันทึกการประชุมให้ฝ่ายบริหารรับทราบ เพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
-ดำเนินการแต่งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบการปฏิบัติกิจกรรมโครงการ
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
-บันทึกขออนุญาตฝ่ายบริหารเพื่อดำเนินกิจกรรมตามแผน
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
-ประสานงานแจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องที่รับผิดชอบตามคำสั่งดำเนินการตามกิจกรรม
-ลงชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม และถ่ายภาพระหว่างดำเนินกิจกรรม
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
-ใช้แบบวัดความพึงพอใจประเมินผลการจัดกิจกรรม
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
-สรุปผลการประเมินกิจกรรมให้ฝ่ายบริหารรับทราบ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 12000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/8/2568     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นายยุทธิชัย อวยชัย
    กิจกรรมที่ 5    แนะแนวสัญจร
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
-ประชุมคณะกรรมการงานแนะแนวเพื่อเตรียมเสนอแผนโครงการ
-ส่งบันทึกการประชุมให้ฝ่ายบริหารรับทราบ เพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
-ดำเนินการแต่งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบการปฏิบัติกิจกรรมโครงการ
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
-บันทึกขออนุญาตฝ่ายบริหารเพื่อดำเนินกิจกรรมตามแผน
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
-ประสานงานแจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องที่รับผิดชอบตามคำสั่งดำเนินการตามกิจกรรม
-ลงชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม และถ่ายภาพระหว่างดำเนินกิจกรรม
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
-ใช้แบบวัดความพึงพอใจประเมินผลการจัดกิจกรรม
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
-สรุปผลการประเมินกิจกรรมให้ฝ่ายบริหารรับทราบ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 4000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/12/2567     ถึงวันที่ 30/12/2567
  ผู้รับผิดชอบ นายยุทธิชัย อวยชัย
    กิจกรรมที่ 6    นักเรียนเพชรท่ามะกา (ม.3 เรียนต่อ ม.4)
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
-ประชุมคณะกรรมการงานแนะแนวเพื่อเตรียมเสนอแผนโครงการ
-ส่งบันทึกการประชุมให้ฝ่ายบริหารรับทราบ เพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
-ดำเนินการแต่งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบการปฏิบัติกิจกรรมโครงการ
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
-บันทึกขออนุญาตฝ่ายบริหารเพื่อดำเนินกิจกรรมตามแผน
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
-ประสานงานแจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องที่รับผิดชอบตามคำสั่งดำเนินการตามกิจกรรม
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
-ใช้แบบวัดความพึงพอใจประเมินผลการจัดกิจกรรม
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
-สรุปผลการประเมินกิจกรรมให้ฝ่ายบริหารรับทราบ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2568     ถึงวันที่ 1/11/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวณัฐชกานต์ วงศ์ศัย
    กิจกรรมที่ 7    ตลาดนัดอาชีพ
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
-ประชุมคณะกรรมการงานแนะแนวเพื่อเตรียมเสนอแผนโครงการ
-ส่งบันทึกการประชุมให้ฝ่ายบริหารรับทราบ เพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
-ดำเนินการแต่งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบการปฏิบัติกิจกรรมโครงการ
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
-บันทึกขออนุญาตฝ่ายบริหารเพื่อดำเนินกิจกรรมตามแผน
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
-ประสานงานแจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องที่รับผิดชอบตามคำสั่งดำเนินการตามกิจกรรม
-ลงชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม และถ่ายภาพระหว่างดำเนินกิจกรรม
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
-ใช้แบบวัดความพึงพอใจประเมินผลการจัดกิจกรรม
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
-สรุปผลการประเมินกิจกรรมให้ฝ่ายบริหารรับทราบ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/2/2568     ถึงวันที่ 28/2/2568
  ผู้รับผิดชอบ นายยุทธิชัย อวยชัย

   รวม 7 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 62,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 62,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมปัจฉิมนิเทศ
2. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีความประสงค์จะศึกษาต่อในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ได้สมัครเข้าเรียนตามเกณฑ์การรับนักเรียนโควตาของโรงเรียน
3. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 ทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมปัจฉิมนิเทศ
4. นักเรียนที่ได้รับทุนการศึกษาของโรงเรียนทุกคนได้เข้าร่วมพิธีมอบทุนการศึกษา
5. นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนเขตพื้นที่บริการของโรงเรียนได้รับการประชาสัมพันธ์การรับสมัครเรียน
6. นักเรียนเพชรท่ามะกา ได้รับการยกเว้นค่าบำรุงการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1
7. นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมตลาดนัดอาชีพ เพื่อค้นหาความถนัด และความสนใจเกี่ยวกับอาชีพ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 1-01-9
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานจัดการเรียนการสอน
ชื่อโครงการ สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 4. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา
ข้อที่ 5. การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
จุดเน้น กระทรวงฯ -
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 5. ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 2. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนทุกคน
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางนิชนันท์ จันหอม

1. หลักการและเหตุผล

          

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ได้บัญญัติสาระสำคัญในหมวด ๕ หน้าที่ของรัฐด้านการศึกษา โดยมาตรา ๕๔ รัฐ ต้องดำเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษา เป็นเวลาสิบสองปีตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย และบัญญัติเกี่ยวกับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายว่าในการดำเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนา หรือให้ประชาชนได้ รับการศึกษา รัฐต้องดำเนินการให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รับการสนับสนุน ค่าใช้จ่ายในการศึกษาตามความถนัดของตน

ปัจจุบันมีเด็กที่ประสบปัญหาขาดแคลนทุนทรัพย์ ปัจจัยในการศึกษาต่อในระดับการศึกษาภาคบังคับ ซึ่งมีจำนวนมาก จึงทำให้ไม่ได้รับการศึกษาอย่างต่อเนื่อง และทำให้ขาดบุคลากรที่มีคุณภาพอันเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ ชาติ

โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม เล็งเห็นถึงความสำคัญของการศึกษาและการพัฒนากำลังของประเทศ ชาติ จึงดำเนินการตามนโยบายที่รัฐจัดสรร เพื่อให้เด็กได้มีโอกาสได้ศึกษาอย่างต่อเนื่องจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพ


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- เป็นเลิศวิชาการ
- -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

นักเรียนได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายหนังสือเรียนในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน จนจบการศึกษาภาคบังคับ

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    ร้อยละ 100 นักเรียน ได้รับหนังสือเรียนตามที่รัฐจัดสรร
  วิธีการประเมิน
    การสอบถาม
  เครื่องมือ
    แบบประเมิน
  เชิงคุณภาพ
    นักเรียนมีความพึงพอใจในการได้รับจัดสรรหนังสือเรียนอยู่ในระดับดีขึ้นไป
  วิธีการประเมิน
    การสอบถาม
  เครื่องมือ
    แบบประเมิน

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2567          ถึงวันที่ : 30/9/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การจัดซื้อหนังสือเรียน ชั้น ม.1-6 (รายวิชาพื้นฐาน)
  ขั้นเตรียมการ T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมดำเนินการพิจารณาหนังสือเรียน
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการดำเนินการตามหน้าที่ได้รับผิดชอบ
  ขั้นดำเนินการ M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการดำเนินการประชุมภาคี 4 ผ่าย
M2 การประสานงาน ในการจัดซื้อหนังสือเรียน
4. คณะกรรมการประสานงานพัสดุในการจัดซื้อหนังสือเรียน
5. งานพัสดุจัดซื้อหนังสือเรียน
6.นักเรียนทุกระดับชั้น มีหนังสือเรียนครบตามรายวิชาที่กำหนด
  ขั้นสรุป V1 การประเมินผล
7. สำรวจความเพียงพอใจ
8. สอบถามความพึงพอใจ
V2 การกำกับติดตาม
9. จัดทำรายงานโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 2605371 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางนิชนันท์ จันหอม

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 2,605,371.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 2,605,371.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มบริหารงานวิชาการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายหนังสือเรียนในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน จนจบการศึกษาภาคบังคับ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 1-29-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ชื่อโครงการ ส่งเสริมวิชาการความรู้ความสามารถและทักษะของนักเรียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ -
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 5. ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ข้อที่ 7. จัดการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 3. มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 4. ส่งเสริมหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กลยุทธ์โรงเรียน -
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 2. ส่งเสริมคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
ข้อที่ 3. มีงานทำ-มีอาชีพ
ข้อที่ 4. เป็นพลเมืองที่ดี
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางนิชนันท์ จันหอม

1. หลักการและเหตุผล

          

ตามพระราชบัญการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ.2545 มาตรา 22 การ จัดการศึกษต้องยึดหลักว่าผู้ เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือผู้เรียนสำคัญที่สุดกระบวนการจัดการศึกษา ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนา ตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพการจัดการเรียนการสอน ตามาตรา 22 พระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่ม เติม (ฉบับที่ 22) พ.ศ.2545 เป็นการจัดการศึกษาต้องยึดผูัเรียนเป็นสำคัญซึงผู้เรียนแต่ละคนมีความ สามารถและความถนัดหรือความ สนใจที่แตกต่างกัน ผู้เ้รียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้การเปิดโอกาสให้เรียนได้ฝึกฝนและ พัฒนาตนเอง ในด้านที่ถนัดหรือมี ความสามารถเพื่อเพิ่มพูนศักยภาพของตนเอง

ปัจจุบันการเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี ได้เปลี่ยนแปลงไปอย่าง รวดเร็ว และเกี่ยวข้องกับ วิถีชีวิต ของ ประชาชนทั่วไปมากยิ่งขึ้น ส่งผลให้การดำเนินชีวิตของทุกๆ คน มีการพัฒนา และปรับตัวให้ เหมาะสมกับ สภาวการณ์ที่เปลี่ยนไปอยู่ ตลอดเวลา ดังนั้น การจัดการศึกษา จึงจำเป็นต้องสร้างเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ความ สามารถที่เปลี่ยนแปลงตามสภาวการณ์ใน ปัจจุบัน การจัดกิจกรรมส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความ เป็นเลิศด้านวิชาการ วิชาชีพ และมีสุนทรียภาพ ด้านดนตรี กีฬา ศิลปะการแสดง รวมถึงการประดิษฐ์ คิดค้น นวัตกรรมใหม่ๆ ในการเตรี ยมพร้อมให้เด็ก และเยาวชนเป็นกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนประเทศในอนาคต

โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเล็งเห็นถึงความสำคัญในการจัดการศึกษาให้แก่เด็ก และ เยาวชน ให้ เป็นผู้ที่มีพร้อมด้วยคุณลักษณะอันพึงประสงค์ จึงสร้างโอกาสให้แก่เด็กและเยาวชนได้แสดงออกซึ่งศักยภาพ และสุนทรียภาพ กิจกรรมสร้างสรรค์ ตลอดจนสนับสนุนส่งเสริมให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้ใช้ความรู้ ความสามารถในการพัฒนาการเรียนการ สอนอย่าง เต็มตามความสามารถ โดยส่งเสริมความรู้ความสามารถและทักษะทางวิชาการ เพื่อนำทักษะ ต่างๆ ไปใช้ในชีวิตประจำวัน และเข้าร่วมการแข่งขันทักษะทางวิชาการ เช่น งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนทั้งในระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับภาค และระดับ ประเทศ การจัดนิทรรศการ วิชาการ โดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลย เดชมา เป็นแนวทาง ในการดำเนิน งาน และให้สอดคล้องกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- เป็นเลิศวิชาการ
- -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1.เพื่อให้นักเรียนได้แสดงความรู้ความสามารถทางทักษะวิชาการ
2.เพื่อให้นักเรียนได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันอันจะนำไปสู่การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้
3.เพื่อเป็นการนำเสนอและเผยแพร่ผลงานของนักเรียน ครู และสร้างความมั่นใจด้านวิชาการ ความรู้แก่นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน สังคม

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียน ร้อยละ 80 ได้แสดงความรู้ความสามารถทางทักษะวิชาการทั้งในโรงเรียนเเละนอกโรงเรียน
2. นักเรียน ร้อยละ 85 ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในกิจกรรมนิทรรศการวิชาการของโรงเรียน
3. ผู้ปกครอง ชุมชน และ หน่วยงานภายนอก มีความพึงพอใจกิจกรรมนิทรรศการวิชาการของโรงเรียนในระดับดี ร้อยละ 80 ขึ้นไป
  วิธีการประเมิน
    การเข้าร่วมการแข่งขัน กิจกรรมต่างๆ
  เครื่องมือ
    แบบสอบถาม
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมทักษะวิชาการทั้งในโรงเรียนเเละนอกโรงเรียนเเละกิจกรรมนิทรรศการวิชาการของโรงเรียนในระดับดีขึ้นไป
2. ผู้ปกครอง ชุมชน และ หน่วยงานภายนอก มีความพึงพอใจกิจกรรมนิทรรศการวิชาการของโรงเรียนในระดับดีขึ้นไป
  วิธีการประเมิน
    การเข้าร่วมการแข่งขัน กิจกรรมต่างๆ
  เครื่องมือ
    แบบสอบถาม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2567          ถึงวันที่ : 30/9/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    ค่ายเตรียมความพร้อมเพื่อก้าวสู่มัธยมศึกษาตอนปลาย และมหาวิทยาลัย
  ขั้นเตรียมการ T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานจัดค่ายเตรียมความพร้อมฯ
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการดำเนินงานจัดเตรียมความพร้อมฯ
  ขั้นดำเนินการ M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
M2 การประสานงาน
4. คณะกรรมการดำเนินงานประสานงานกับผู้เกี่ยวข้องในการดำเนินกิจกรรม
5. งานพัสดุจัดซื้อวัสดุเเละอุปกรณ์ต่าง ๆ
6. นักเรียน เข้าค่ายเตรียมความพร้อมฯ
  ขั้นสรุป V1 การประเมินผล
7. รายงานผลการดำเนินงานส่งเสริมงานวิชาการ
V2 การกำกับติดตาม
8. ติดตามผลการดำเนินส่งเสริมงานวิชาการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 15000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่าะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางนิชนันท์ จันหอม
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะ และการเรียนรู้ (กระดาษ)
  ขั้นเตรียมการ T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมการสำนักงานวิชาการ
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการสำนักงานวิชาการสำรวจจำนวนกระดาษA4
  ขั้นดำเนินการ M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการสำนักงานวิชาการกำหนดรายการที่ต้องซื้อ
M2 การประสานงาน
4. คณะกรรมการสำนักงานวิชาการเขียนเอกสารดำเนินการจัดซื้อเเละประสานงานพัสดุในการจัดซื้อกระดาษ A4 ขาว
5. งานพัสดุจัดซื้อกระดาษA4
6. คณะครู นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษา เบิกกระดาษ A4 ขาว ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน
  ขั้นสรุป 7. สำรวจความเพียงพอ
8. สอบถามความพึงพอใจ
V2 การกำกับติดตาม
9. จัดทำรายงานโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 400000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางนิชนันท์ จันหอม
    กิจกรรมที่ 3    การแข่งขันทักษะทางวิชาการงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน
  ขั้นเตรียมการ T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการดำเนินงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนฝึกซ้อมนักเรียน เเละเตรียมการแข่งขัน
  ขั้นดำเนินการ M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการดำเนินงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนดำเนินการฝึกซ้อมนักเรียนเเละเตรียมการแข่งขัน
M2 การประสานงาน
4. คณะกรรมการดำเนินงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนประสานงานแข่งขันในแต่ละรายการ
5. งานพัสดุจัดซื้อวัสดุเเละอุปกรณ์ต่าง ๆ
6. คณะครู เเละ นักเรียนเบิกวัสดุอุปกรณ์ไปใช้ในการฝึกซ้อม
  ขั้นสรุป V1 การประเมินผล
7. รายงานผลการดำเนินงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน
V2 การกำกับติดตาม
8. ติดตามผลการดำเนินงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 550300 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ศูนย์การแข่งขัน โรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ โรงเรียนวิสุทธรังษี โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯ กาญจนบุรี
ศูนย์การแข่งขันศิลปหัตกรรมนักเรียน ระดับภาค/ชาติ
หน่วยงานอื่นๆ
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางนิชนันท์ จันหอม
    กิจกรรมที่ 4    นิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการ
  ขั้นเตรียมการ T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการ
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการสำรวจรายการวัสดุอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอน
  ขั้นดำเนินการ M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการกำหนดรายการที่จำเป็นต้องซื้อ
M2 การประสานงาน
4. คณะกรรมการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการเขียนเอกสารดำเนินการจัดซื้อเเละประสานงานพัสดุในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
5. งานพัสดุจัดซื้อวัสดุเเละอุปกรณ์ต่าง ๆ
6. ครู เเละ นักเรียนเบิกวัสดุอุปกรณ์ไปใช้ในการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการ
  ขั้นสรุป V1 การประเมินผล
7. รายงานผลการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการ
V2 การกำกับติดตาม
8. จัดทำรายงานโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 200000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2567     ถึงวันที่ 30/6/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางนิชนันท์ จันหอม
    กิจกรรมที่ 5    กิจกรรมพัฒนาทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศ
  ขั้นเตรียมการ T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศ
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการดำเนินงานทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศฝึกซ้อมนักเรียน เเละเตรียมการแข่งขัน
  ขั้นดำเนินการ M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการดำเนินงานทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศฝึกซ้อมนักเรียนเเละเตรียมการแข่งขัน
M2 การประสานงาน
4. คณะกรรมการดำเนินงานทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศประสานงานแข่งขันในแต่ละรายการ
5. งานพัสดุจัดซื้อวัสดุเเละอุปกรณ์ต่าง ๆ
6. คณะครู เเละ นักเรียนเบิกวัสดุอุปกรณ์ไปใช้ในการฝึกซ้อม
  ขั้นสรุป V1 การประเมินผล
7. รายงานผลการดำเนินงานทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศ
V2 การกำกับติดตาม
8. ติดตามผลการดำเนินงานทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 370000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ศูนย์การแข่งขันต่างๆ
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางนิชนันท์ จันหอม
    กิจกรรมที่ 6    งเสริมงานวิชาการด้านการพัฒนาแหล่งเรียนรู้
  ขั้นเตรียมการ T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานส่งเสริมงานวิชาการ
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการดำเนินงานส่งเสริมงานวิชาการ
  ขั้นดำเนินการ M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการดำเนินงานส่งเสริมงานวิชาการฝึกซ้อมนักเรียนเเละเตรียมการแข่งขัน
M2 การประสานงาน
4. คณะกรรมการดำเนินงานส่งเสริมงานวิชาการประสานงานแข่งขันในแต่ละรายการ
5. งานพัสดุจัดซื้อวัสดุเเละอุปกรณ์ต่าง ๆ
6. คณะครู เเละ นักเรียนเบิกวัสดุอุปกรณ์ไปใช้ในการฝึกซ้อม
  ขั้นสรุป V1 การประเมินผล
7. รายงานผลการดำเนินงานส่งเสริมงานวิชาการ
V2 การกำกับติดตาม
8. ติดตามผลการดำเนินส่งเสริมงานวิชาการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 172280 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางนิชนันท์ จันหอม

   รวม 6 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 1,707,580.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 1,707,580.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะทางวิชาการ
2. นักเรียนมีความรู้ความสามารถ เห็นคุณค่าในตนเอง และกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม
3. นักเรียนมีประสบการณ์ในการแข่งขันทักษะในระดับเขต ระดับภาค และระดับประเทศ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 1-01-8
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานจัดการเรียนการสอน
ชื่อโครงการ ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 1. การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 7. จัดการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 5. ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 2. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนทุกคน
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางนิชนันท์ จันหอม

1. หลักการและเหตุผล

          

ตามพระราชบัญการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ.2545 มาตรา 22 การจัดการศึกษต้องยึดหลักว่าผู้เรียน ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือผู้เรียนสำคัญที่สุดกระบวนการจัดการ ศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาตาม ธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพการจัดการเรียนการสอน ตามาตรา 22 พระราชบัญญัติการ ศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 22) พ.ศ.2545 เป็นการจัดการศึกษาต้องยึดผูัเรียนเป็นสำคัญซึงผู้เรียนแต่ละคนมี ความสามารถและความถนัดหรือความสนใจ ที่แตกต่างกัน ผู้เ้รียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้การเปิดโอกาสให้เรียนได้ฝึกฝน และพัฒนาตนเอง ในด้านที่ถนัดหรือมีความ สามารถเพื่อเพิ่มพูนศักยภาพของตนเอง

ตามแนวทางการจัดการศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในการพัฒนา กระบวนการจัดการเรียนการสอน และการนิเทศ พร้อมแนวทางการสร้างทักษะการดำรงชีวิตการพัฒนากระบวนการจัดประสบการณ์การ เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยครูผู้สอนจำเป็นต้องผลิตสื่อการสอน หรือนวัตกรรมเพื่อนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้กับ นักเรียนทุกคน เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

ดังนั้น โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมจึงต้องสนับสนุนด้านวัสดุ ครุภัณฑ์สื่อและเทคโนโลยีด้านต่างๆ เพื่อนำไปจัดการเรียน การสอนให้เพียงพอกับความต้องการของผู้เรียน อันเป็นการปรับปรุงคุณภาพการศึกษา ซึ่งจะเป็นแนวทางการ ยกระดับมาตรฐานการศึกษา ให้ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาพัฒนาสู่ความเป็นครูมืออาชีพ และนักเรียนมีศักยภาพและ ความสามารถเท่าเทียมกับโรงเรียนมัธยมศึกษาทั่วไป โดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชเป็น แนวทางในการดำเนินงาน และให้สอดคล้องกับปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- เป็นเลิศวิชาการ
- -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

เพื่อให้ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา เเละนักเรียน มีวัสดุอุปกรณ์ และสื่อการเรียนการสอนเพียงพอต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    ร้อยละ 100 ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา เเละนักเรียน ได้รับบริการวัสดุอุปกรณ์และสื่อการเรียนการสอน
  วิธีการประเมิน
    บันทีกการขอรับบริการบริการวัสดุอุปกรณ์ด้านวิชาการ
  เครื่องมือ
    แบบบันทีกการขอรับบริการบริการวัสดุอุปกรณ์ด้านวิชาการ
  เชิงคุณภาพ
    ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา เเละนักเรียนทุกคน มีความพึงพอใจในการให้บริการวัสดุอุปกรณ์ด้านวิชาการอยู่ในระดับดีขึ้นไป
  วิธีการประเมิน
    ประเมินความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    แบบประเมินความพึงพอใจ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2567          ถึงวันที่ : 30/9/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การซ่อมบำรุงเครืองถ่ายเอกสาร เครื่องโรเนียว เครื่อง copyprint color
  ขั้นเตรียมการ T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมการสำนักงานวิชาการ
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการสำนักงานวิชาการตรวจสอบการใช้งานของเครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องโรเนียว
  ขั้นดำเนินการ M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการสำนักงานวิชาการกำหนดรายการที่ดำเนินการจัดซ่อม จัดซื้อวัสดุ อะไหล่
M2 การประสานงาน
4. คณะกรรมการสำนักงานวิชาการเขียนเอกสารดำเนินการจัดซื้อ จัดจ้าง การซ่อม เเละประสานงานพัสดุในการจัดซื้อ จัดจ้าง การซ่อม กับบริษัท
5. งานพัสดุจัดดำเนินการจัดซื้อ จัดจ้างการซ่อมกับบริษัท 6. คณะครู บุคลากรทางการศึกษา สามารถใช้บริการการถ่ายเอกสารจากเครื่องถ่ายเอกสารสีได้
  ขั้นสรุป V1 การประเมินผล
7. สำรวจความเพียงพอ
8. สอบถามความพึงพอใจ
V2 การกำกับติดตาม
9. จัดทำรายงานโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 30000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางนิชนันท์ จันหอม
    กิจกรรมที่ 2    การจัดนิทรรศการวิชาการนอกสถานที่
  ขั้นเตรียมการ T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการ
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการสำรวจรายการวัสดุอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอน
  ขั้นดำเนินการ M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการกำหนดรายการที่จำเป็นต้องซื้อ
M2 การประสานงาน
4. คณะกรรมการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการเขียนเอกสารดำเนินการจัดซื้อเเละประสานงานพัสดุในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
5. งานพัสดุจัดซื้อวัสดุเเละอุปกรณ์ต่าง ๆ
6. ผู้บริหาร คณะครู เเละ นักเรียนเบิกวัสดุอุปกรณ์ไปใช้ในการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการ
  ขั้นสรุป V1 การประเมินผล
7. รายงานผลการดำเนินงาน
V2 การกำกับติดตาม
8. ติดตามผลการดำเนินงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 150000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา และหน่วยงานอื่นๆ
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางนิชนันท์ จันหอม
    กิจกรรมที่ 3    การจัดภูมิทัศน์ป้ายข้อมูลผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ขั้นเตรียมการ T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการดำเนินงานตามภาระงาน
  ขั้นดำเนินการ M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการจัดเตรียมข้อมูลข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
M2 การประสานงาน
4. คณะกรรมการเขียนเอกสารดำเนินการจัดซื้อ จัดจ้าง และประสานงานพัสดุในการจัดซื้อ จัดจ้าง
5. งานพัสดุดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง
6. มีป้าย บอร์ด ทำเนียบข้อมูลข้าราชการครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ขั้นสรุป v1 การประเมินผล
7. สำรวจความพีงพอใจ
8. สอบถามความพึงพอใจ
v2 การกำกับติดตาม
9. จัดทำรายงานโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 20000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางนิชนันท์ จันหอม
    กิจกรรมที่ 4    ศิลปหัตถกรรม (เบี้ยเลี้ยงครู)
  ขั้นเตรียมการ T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการดำเนินงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนฝึกซ้อมนักเรียน เเละเตรียมการแข่งขัน
  ขั้นดำเนินการ M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการดำเนินงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนดำเนินการฝึกซ้อมนักเรียนเเละเตรียมการแข่งขัน
M2 การประสานงาน
4. คณะกรรมการดำเนินงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนประสานงานแข่งขันในแต่ละรายการ
5. งานพัสดุจัดซื้อวัสดุเเละอุปกรณ์ต่าง ๆ
6. คณะครู เเละ นักเรียนเบิกวัสดุอุปกรณ์ไปใช้ในการฝึกซ้อม
  ขั้นสรุป V1 การประเมินผล
7. รายงานผลการดำเนินงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน
V2 การกำกับติดตาม
8. ติดตามผลการดำเนินงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 200000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ศูนย์การแข่งขัน โรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ โรงเรียนวิสุทธรังษี โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯ กาญจนบุรี
ศูนย์การแข่งขันศิลปหัตกรรมนักเรียน ระดับภาค/ชาติ หน่วยงานอื่นๆ
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 7/10/2567     ถึงวันที่ 6/11/2567
  ผู้รับผิดชอบ นางนิชนันท์ จันหอม
    กิจกรรมที่ 5    การจัดวัสดุอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอน
  ขั้นเตรียมการ T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมการสำนักงานวิชาการ
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการสำนักงานวิชาการสำรวจรายการวัสดุอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอน
  ขั้นดำเนินการ M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการสำนักงานวิชาการกำหนดรายการที่จำเป็นต้องซื้อ
M2 การประสานงาน
4. คณะกรรมการสำนักงานวิชาการเขียนเอกสารดำเนินการจัดซื้อเเละประสานงานพัสดุในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
5. งานพัสดุจัดซื้อวัสดุเเละอุปกรณ์ต่าง ๆ
6. ผู้บริหาร คณะครู เเละ นักเรียนเบิกวัสดุอุปกรณ์ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน
  ขั้นสรุป V1 การประเมินผล
7. สำรวจความเพียงพอในการให้บริการวัสดุอุปกรณ์
8. สอบถามความพึงพอใจในการให้บริการวัสดุอุปกรณ์ด้านวิชาการ
V2 การกำกับติดตาม
9. จัดทำรายงานโครงการ พร้อมติดตามการดำเนินโครงการ นำเสนอผู้บริหารโรงเรียน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 250782 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม และหน่วยงานอื่นๆ
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางนิชนันท์ จันหอม
    กิจกรรมที่ 6    ส่งเสริมความเป็นเลิศนักเรียน (เบี้ยเลี้ยงครู)
  ขั้นเตรียมการ T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศ
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการดำเนินงานทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศฝึกซ้อมนักเรียน เเละเตรียมการแข่งขัน
  ขั้นดำเนินการ M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่ 3. คณะกรรมการดำเนินงานทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศฝึกซ้อมนักเรียนเเละเตรียมการแข่งขัน M2 การประสานงาน 4. คณะกรรมการดำเนินงานทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศประสานงานแข่งขันในแต่ละรายการ 5. งานพัสดุจัดซื้อวัสดุเเละอุปกรณ์ต่าง ๆ 6. คณะครู เเละ นักเรียนเบิกวัสดุอุปกรณ์ไปใช้ในการฝึกซ้อม
  ขั้นสรุป V1 การประเมินผล 7. รายงานผลการดำเนินงานทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศ V2 การกำกับติดตาม 8. ติดตามผลการดำเนินงานทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 70000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ศูนย์การแข่งขันต่างๆ
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 7/10/2567     ถึงวันที่ 6/11/2567
  ผู้รับผิดชอบ นางนิชนันท์ จันหอม
    กิจกรรมที่ 7    การจัดนิทรรศการในโรงเรียน
  ขั้นเตรียมการ T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการ
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการสำรวจรายการวัสดุอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอน
  ขั้นดำเนินการ M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการกำหนดรายการที่จำเป็นต้องซื้อ
M2 การประสานงาน
4. คณะกรรมการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการเขียนเอกสารดำเนินการจัดซื้อเเละประสานงานพัสดุในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
5. งานพัสดุจัดซื้อวัสดุเเละอุปกรณ์ต่าง ๆ 6. ครู เเละ นักเรียนเบิกวัสดุอุปกรณ์ไปใช้ในการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการ
  ขั้นสรุป V1 การประเมินผล
7. รายงานผลการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการ
V2 การกำกับติดตาม
8. จัดทำรายงานโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 812000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางนิชนันท์ จันหอม
    กิจกรรมที่ 8    หมึกเครื่องถ่ายเอกสารและเครื่องโรเนียว
  ขั้นเตรียมการ T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมการสำนักงานวิชาการ
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการสำนักงานวิชาการสำรวจรายการหมึก ไข เครืองโรเนียว และหมึกเครื่องถ่ายเอกสารขาว ดำ และเครื่องถ่ายเอกสารสี ในการจัดการเรียนการสอน
  ขั้นดำเนินการ M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการสำนักงานวิชาการกำหนดรายการที่ต้องซื้อ
M2 การประสานงาน
4. คณะกรรมการสำนักงานวิชาการเขียนเอกสารดำเนินการจัดซื้อเเละประสานงานพัสดุในการจัดซื้อหมึก ไข เครื่องโรเนียว และหมึกเครื่องถ่ายเอกสารสี
5. งานพัสดุจัดซื้อซื้อหมึก ไข เครื่องโรเนียว และหมึกเครื่องถ่ายเอกสารสี
6. ผู้บริหาร คณะครู เเละ นักเรียน ใช้บริการการถ่ายเอกสารที่ห้องผลิตเอกสาร
  ขั้นสรุป V1 การประเมินผล
7. สำรวจความเพียงพอ
8. สอบถามความพึงพอใจ
V2 การกำกับติดตาม
9. จัดทำรายงานโครงการ พร้อมติดตามการดำเนินโครงการ นำเสนอผู้บริหารโรงเรียน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 700000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางนิชนันท์ จันหอม
    กิจกรรมที่ 9    กระดาษ A4 -ขาว และกระดาษคำตอบ
  ขั้นเตรียมการ T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมการสำนักงานวิชาการ
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการสำนักงานวิชาการสำรวจจำนวนกระดาษA4 และกระดาษคำตอบ
  ขั้นดำเนินการ M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการสำนักงานวิชาการกำหนดรายการที่ต้องซื้อ
M2 การประสานงาน
4. คณะกรรมการสำนักงานวิชาการเขียนเอกสารดำเนินการจัดซื้อเเละประสานงานพัสดุในการจัดซื้อกระดาษ A4 ขาว และกระดาษคำตอบ
5. งานพัสดุจัดซื้อกระดาษA4 และกระดาษคำตอบ
6. คณะครู นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษา เบิกกระดาษ A4 ขาว และกระดาษคำตอบ ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน
  ขั้นสรุป 7. สำรวจความเพียงพอ
8. สอบถามความพึงพอใจ
V2 การกำกับติดตาม
9. จัดทำรายงานโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 140040 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 7/10/2567     ถึงวันที่ 6/11/2567
  ผู้รับผิดชอบ นางนิชนันท์ จันหอม

   รวม 9 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 2,372,822.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 2,372,822.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา เเละนักเรียน มีวัสดุอุปกรณ์ และสื่อการเรียนการสอนเพียงพอต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 1-01-11
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2568
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานจัดการเรียนการสอน
ชื่อโครงการ สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน (รายวิชาเพิ่มเติม)
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 4. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ -
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 2. ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 4. ส่งเสริมหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 2. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนทุกคน
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 4. เป็นพลเมืองที่ดี
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางนิชนันท์ จันหอม

1. หลักการและเหตุผล

          

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ได้บัญญัติสาระสำคัญในหมวด ๕ หน้าที่ ของรัฐด้านการศึกษา โดยมาตรา ๕๔ รัฐ ต้องดำเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษา เป็นเวลาสิบสองปีตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการ ศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพ โดย ไม่เก็บค่าใช้จ่าย และบัญญัติเกี่ยวกับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายว่าในการดำเนินการให้เด็กเล็กได้รับ การดูแลและพัฒนา หรือให้ประชาชนได้ รับการศึกษา รัฐต้องดำเนินการให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รับการสนับสนุน ค่าใช้จ่ายในการ ศึกษาตามความถนัดของตนกรณีต้องการย่อหน้าที่ 2

ปัจจุบันมีเด็กที่ประสบปัญหาขาดแคลนทุนทรัพย์ ปัจจัยในการศึกษาต่อในระดับการศึกษาภาคบังคับ ซึ่งมีจำนวนมาก จึงทำให้ไม่ได้รับการศึกษาอย่างต่อเนื่อง และทำให้ขาดบุคลากรที่มีคุณภาพอันเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ ชาติ

โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม เล็งเห็นถึงความสำคัญของการศึกษาและการพัฒนากำลังของประเทศ ชาติ จึงสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการศึกษา และค่าใช้จ่ายในการศึกษาตามความถนัดของตน นอกเหนือจากที่รัฐจัดสรร


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- เป็นเลิศวิชาการ
- -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการศึกษา และค่าใช้จ่ายในการศึกษาตามความถนัดของตน โดยนักเรียนได้รับหนังสือเรียนครบตามรายวิชา และวัสดุอุปกรณ์ในการเรียน

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    นักเรียนร้อยละ 100 ได้รับหนังสือเรียนครบตามรายวิชา ที่จัดสรรให้
  วิธีการประเมิน
    แบบสอบถาม
  เครื่องมือ
    แบบสอบถาม
  เชิงคุณภาพ
    นักเรียนมีความพึงพอใจในการได้รับจัดสรรหนังสือเรียนอยู่ในระดับดีขึ้นไป
  วิธีการประเมิน
    แบบสอบถาม
  เครื่องมือ
    แบบสอบถาม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2567          ถึงวันที่ : 30/9/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การจัดซื้อหนังสือเรียน ชั้น ม.1-6 (รายวิชาเพิ่มเติม)
  ขั้นเตรียมการ T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมดำเนินการพิจารณาหนังสือเรียน
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการดำเนินการตามหน้าที่ได้รับผิดชอบ
  ขั้นดำเนินการ M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการดำเนินการประชุมภาคึ 4 ฝ่าย
M2 การประสานงาน ในการจัดซื้อหนังสือเรียน
4. คณะกรรมการประสานงานพัสดุในการจัดซื้อหนังสือเรียน
5. งานพัสดุจัดซื้อหนังสือเรียน
6.นักเรียนทุกระดับชั้น มีหนังสือเรียนครบตามรายวิชาที่กำหนด
  ขั้นสรุป V1 การประเมินผล
7. สำรวจความเพียงพอใจ
8. สอบถามความพึงพอใจ
V2 การกำกับติดตาม
9. จัดทำรายงานโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2567     ถึงวันที่ 30/9/2568
  ผู้รับผิดชอบ นางนิชนันท์ จันหอม

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มบริหารงานวิชาการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายหนังสือเรียนตามรายวิชาที่จัดสรร 2.นักเรียนได้รับการศึกษาต่ออย่างต่อเนื่องจนจบภาคบังคับ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-