แผนการดำเนินงานตามโครงการและงาน
จำแนกตาม กลุ่มบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
ชื่อโครงการ/
วัตถุประสงค์
สนอง
มฐ.รร.
ข้อที่
เป้าหมาย ตัวชี้วัด/เกณฑ์การประเมิน
โครงการ
ค่าใช้จ่าย
(บาท)
ขั้นตอนการดำเนินงาน
ของแต่ละกิจกรรม
ระยะเวลา
ดำเนินการ
ผู้รับผิดชอบ
พัฒนางานแผนงาน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ
2. เพื่อพัฒนางานแผนงานและเผยแพร่ข้อมูลงานแผนงาน
1,2, เชิงปริมาณ
 1. คณะครู และบุคลากร ร้อยละ 95 มีส่วนร่วมในการวางแผนด้านนโยบาย แผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการของโรงเรียน
2. คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้แทนชุมชน ผู้ปกครอง ร้อยละ 90 มีส่วนร่วมในการพัฒนา / ปรับปรุงแผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการของโรงเรียน
3. จัดทำรูปเล่มแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 จำนวน 20 เล่ม 4. จัดทำรูปเล่มแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปีงบประมาณ 2568-2572 จำนวน 10 เล่ม
เชิงคุณภาพ
 1. โรงเรียนมีแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ที่ถูกต้องสมบูรณ์
2. ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่าย มีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 อยู่ในระดับยอดเยี่ยม
วิธีการ
 -ทำแบบประเมิน
เครื่องมือ
 -ทำแบบสอบถาม

เงิน
อุดหนุนฯ
12,435.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : การจัดประชุมและทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พุทธศักราช 2568
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- จัดทำโครงการ
- เสนอกิจกรรมเพื่ออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง และออกคำสั่งการดำเนินงาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประชุมเชิงปฏิบิติการ จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2567

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการประเมินกิจกรรม

กิจกรรมที่ 2 : พัฒนานโยบายและแผนงาน
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- จัดทำโครงการ
- วางแผนการปฏิบัติงาน
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง และออกคำสั่งการดำเนินงาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- จัดทำแผนป้ายประชาสัมพันธ์ จัดทำรูปเล่มแผนพัฒนาคุณภาพ

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการประเมินกิจกรรม

1/10/2567 ถึง
30/9/2568

 

 

1/10/2567 ถึง
30/9/2568

 

 

นายกฤษดา เพียงลิ้ม





นายกฤษดา เพียงลิ้ม





การติดตามและประเมินผล

วัตถุประสงค์
1. ข้อความ....
2. ข้อความ....
2, เชิงปริมาณ
 1. เพื่อกำกับ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ 2568
2. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของบุคลากรในโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ในการกำกับ ติดตาม และประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานอย่างถูกต้องด้วยเครื่องมือและวิธีการที่มีคุณภาพ
3. เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม

เชิงคุณภาพ
 1. โรงเรียนมีข้อมูลผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2567 ใช้ในการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมสามารถรายงานผลการดำเนินงานโครงการและกิจกรรม ครบทุกตัวชี้วัดในกลยุทธ์ ตามกำหนดระยะเวลา และมีผลการประเมินในภาพรวมอยู่ในระดับดีเยี่ยม
วิธีการ
 ประเมินรูปเล่มฉบับสมบูรณ์
เครื่องมือ
 การประเมิน

เงิน
อุดหนุนฯ
2,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : การติดตาม ประเมินผลปีงบประมาณ 2568
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- จัดทำโครงการ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- การสร้างเครื่องมือการติดตามและประเมินผล

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- ประชุมวางแผนการติดตามและประเมินผลฯ
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- การติดตามและประเมินผลฯ แต่ละโครงการ/กิจกรรม

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- ผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ
- รายงานผลการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของสถานศึกษา

1/10/2567 ถึง
30/9/2568

 

 

นายก่อกิจ ธีราโมกข์





พัฒนาระบบการบริหารงานการเงินและงานบัญชี

วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้การบริหารงานการเงินรและการบัญชีของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเป็นที่พึงพอใจแก่ผู้รับบริการ ให้เป็นไปตามคำขวัญการปฏิบัติงาน ทันสมัย ทันใจ ทันเวลา โปร่งใส ยึดระเบียบ และเป็นระบบ 2.เพื่อจัดหาเครื่องมือ อุปกรณ์ที่ทันสมัยมาใช้ในการปฏิบัติงานให้เกิดคุณภาพ
1,2,4,6, เชิงปริมาณ
 1.การปฏิบัติงานด้านการเงินและบัญชีมีความถูกต้องคิดเป็นร้อยละ 100 2.การให้บริการแก่ครูและบุคลากรของโรงเรียนเป็นที่พึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 97
เชิงคุณภาพ
 1.งานการเงินดำเนินการในการรับ-จ่ายเงินทุกประเภทได้ถูกต้อง ตามระเบียบ มีหลักฐานชัดเจน ถูกต้องโปร่งใส ตรวจสอบได้ เป็นที่พึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องอย่างมีคุณภาพในระดับดีมาก 2.งานบัญชี ดำเนินการจัดทำระบบบัญชี รายงานข้อมูลบัญชีการเงินทุกประเภทได้ถูกต้องตามระเบียบ มีความเป็นปัจุบัน มีหลักฐานชัดเจนถูกต้อง โปร่งใส ตรวจสอบได้ เป็นที่พึงพอใจแก่ผู้เกี่ยวข้องอย่างมีคุณภาพในระดับดีมาก
วิธีการ
 1.การตรวจสอบเอกสารหลักฐาน ด้านการเงิน และบัญชีแยกประเภทเงินให้ถูกต้องตามระเบียบที่เกี่ยวข้อง 2.การส่งเบิกเงินค่ารักษาพยาบาล ค่าการศึกษาบุตร สัญญายืมเงิน การเบิกเงินค่าใช้สอยในการไปราชการของบุคลากรให้ทันเวลา และเป็นไปตามสิทธิ์ที่พึงจะได้รับ 3.การเบิกจ่ายเงินถูกต้องตามระเบียบที่เกี่ยวข้อง ถูกต้อง โปร่งใส ตรวจสอบได้
เครื่องมือ
 1.การตรวจสอบความเรียบร้อย ถูกต้องตามลำดับสายงาน 2. การตรวจสอบจากหน่วยตรวจสอบภายใน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาญจนบุรี

เงิน
อุดหนุนฯ
82,387.00


เงิน
ระดมทรัพย์
90,000.00

กิจกรรมที่ 1 : การพัฒนาระบบการปฏิบัติงานการเงินและบัญชี
ขั้นเตรียม
 1.ประชุมบุคลากรงานการเงินและงานบัญชี 2.สำรวจรายการเครื่องคอมพิวเตอร์ และเครื่องพิมพ์ ทดแทนเครื่องที่ชำรุด และไม่เพียงพอต่อการใช้งาน จำนวน 3 ชุด (ในปีงบประมาณ 2567 เคยเสนอขอไปแล้วแต่ยังไม่ได้รับการพิจารณา) 3.สำรวจรายการวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการปฏิบัติงานสำนักงาน
ขั้นดำเนินการ
 1.เขียนโครงการเสนอขออนุมัติงบประมาณในการดำเนินการตามโครงการ 2.ดำเนินการพัฒนาระบบบริหารงานการเงินและการบัญชี ด้านเครื่องมือ อุปกรณ์ และด้านการปฏิบัติงานให้เกิดความรวดเร็วเป็นปัจจุบัน เสนอรางานการปฏิบัติงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบตามลำดับขั้น
ขั้นสรุป  1.ประเมินผลการปฏิบัติงานการเงินและงานบัญชี 2. จัดทำรายงานผลการประเมินกิจกรรมที่ 1 การพัฒนาระบบการปฏิบัติงานการเงินและบัญชี

15/11/2567 ถึง
31/7/2568

 

 

นายไพรัชน์ จารุจิระวงศ์ ตำแหน่ง หัวหน้างานการเงิน





เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา

วัตถุประสงค์
1. เพื่อปลูกฝังให้ครูและบุคลากรทางการศึกษามีจิตสำนึกและพฤติกรรมที่สามารถแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตัว และผลประโยชน์ส่วนรวม ประพฤติตนเป็นพลเมืองดี มีคุณธรรม จริยธรรม
2. เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในกระบวนการทำงาน ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
2, เชิงปริมาณ
 1. ครูและบุคลากรทางการศึกษา ร้อยละ 90 ได้เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่เสริมสร้างจิตสำนึกและพฤติกรรมที่สามารถแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตัว และผลประโยชน์ส่วนรวม ประพฤติตนเป็นพลเมืองดี มีคุณธรรม จริยธรรม

เชิงคุณภาพ
 1. ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับความโปร่งใสในกระบวนการทำงาน ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
วิธีการ
 การลงลายมือชื่อของผู้เข้าร่วมกิจกรรม
เครื่องมือ
 การตอบแบบสอบถาม

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมการบูรณาการระบบการประเมินด้านคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1) - ประชุมวางแผนการดำเนินงาน ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2) - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการตามกลุ่มงาน
ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1) - บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม - ดำเนินกิจกรรมการบูรณาการระบบการประเมินด้านคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน ขั้นตอนการประสานงาน (M2) - ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล (V1) - สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2) - รายงานผลการประเมินกิจกรรม

7/10/2567 ถึง
7/10/2568

 

 

นายกิตติธัช ติ๊ดเหล็ง และคณะ





บริหารงานพัสดุและสินทรัพย์

วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนางานพัสดุและสินทรัพย์ให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 และกฎกระทรวงต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2. เพื่ออำนวยความสะดวกในการจัดหาพัสดุ (จัดซื้อจัดจ้าง) สนับสนุนนงานของทุกกลุ่มงาน / ฝ่ายตามแผนปฏิบัติการประจำปีและปฏิทินปฏิบัติงาน
2, เชิงปริมาณ
 ครูและบุคลากรงานพัสดุและสินทรัพย์ของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมทุกคน ทำงานได้ อย่างสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
เชิงคุณภาพ
 1. การปฏิบัติงานด้านการจัดซื้อจัดจ้าง ด้านบัญชีวัสดุและครุภัณฑ์เป็นระบบ รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
2. โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมมีระบบการบริหารจัดการคุณภาพสถานศึกษา
วิธีการ
 การประเมิน
เครื่องมือ
 สอบถามผู้เกี่ยวข้อง

เงิน
อุดหนุนฯ
62,480.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : จัดหาวัสดุและครุภัณฑ์สำนักงาน
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
4. จัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบพัสดุ
ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
5. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
4. จัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบพัสดุ
ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
5. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

1/10/2567 ถึง
30/9/2568

 

 

นางสาวณัฐชกานต์ วงศ์ศัย





งานธุรการ

วัตถุประสงค์
1. งานธุรการให้เป็นปัจจุบัน รวดเร็ว และทันสมัย
2. เพื่อบริการแก่ผู้มาติดต่อ
5, เชิงปริมาณ
 1. มีวัสดุอุปกรณ์ครบในการปฏิบัติงาน สามารถให้บริการแก่ผู้มาติดต่อ ร้อยละ 100

เชิงคุณภาพ
 1. เพื่อพัฒนางานธุรการให้เป็นปัจจุบัน รวดเร็ว และทันสมัย
2. มีสิ่งอำนวยความสะดวกบริการกับคณะครู บุคลากร นักเรียน และผู้มาติดต่องาน อยู่ในระดับดีขึ้นไป
วิธีการ
 แบบสอบถามความพึงพอใจ / การประเมินโครงการ
เครื่องมือ
 แบบประเมินความพึงพอใจ

เงิน
อุดหนุนฯ
105,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : พัฒนางานเอกสารงบประมาณสารบรรณ
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- แผนงาน/โครงการ ตรวจวัสดุ และสิ่งอำนวยความสะดวกอื่น ๆ ที่ต้องใช้
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- การกำหนดหน้าที่ภาระงาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- การดำเนินงาน ดำเนินการสั่งซื้อ ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประสานงาน

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- การประเมินผล รายงานผลการปฏิบัติงาน ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- การกำกับติดตาม

กิจกรรมที่ 2 : พัฒนางานธุรการ
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- แผนงาน/โครงการ ตรวจวัสดุ และสิ่งอำนวยความสะดวกอื่น ๆ ที่ต้องใช้
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- การกำหนดหน้าที่ภาระงาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- การดำเนินงาน ดำเนินการสั่งซื้อ ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประสานงาน

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- การประเมินผล รายงานผลการปฏิบัติงาน ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- การกำกับติดตาม

1/10/2567 ถึง
15/9/2568

 

 

1/10/2567 ถึง
15/9/2568

 

 

นางสาวณัฐชนก บุตรดาวงษ์ และนางสาวโชติรัตน์ วงษ์จันทร์ดี





นางสาวณัฐชนก บุตรดาวงษ์ และนางสาวโชติรัตน์ วงษ์จันทร์ดี





พัฒนางานควบคุมภายใน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้งานควบคุมภายในมีการดำเนินงานตามแผนการปรับรุงการควบคุมภายในและรายงานผลการควบคุมภายในต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2. เพื่อให้กลุ่ม/งาน/ฝ่ายมีการจัดวางระบบการควบคุมภายในตามมาตรฐานที่กำหนดและเป็นไปตามระเบียบการควบคุมภายใน
3. เพื่อพัฒนาการดำเนินงานของงานควบคุมภายในของโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
2, เชิงปริมาณ
 1.กลุ่ม/งาน/ฝ่าย วิเคราะห์ความเสี่ยง จัดทำแผนการควบคุมภายใน ติดตามและรายงานผลการควบคุมภายในจำนวน 5 กลุ่ม/งาน/ฝ่าย.

เชิงคุณภาพ
 1.ร้อยละ 85 ของงานควบคุมภายในมีการวิเคราะห์ความเสี่ยง จัดทำแผนการควบคุมภายใน ติดตามและรายงานผลการควบคุมภายในของกลุ่ม/งาน/ฝ่ายอย่างมีประสิทธิภาพ
วิธีการ
 1.ตรวจสอบ
2.สอบถาม

เครื่องมือ
 1.ตรวจสอบ
2.สอบถาม

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : พัฒนางานควบคุมภายใน
ขั้นเตรียม
 การวางแผนการทำงานเป็นทีม T1
1. ประชุมคณะกรรมการฝ่ายบริหารโรงเรียน
2. ขออนุมัติโครงการการกำหนดภาระหน้าที่งาน T2
3. แต่งตั้งคณะกรรมการและประชุมคณะกรรมการ

ขั้นดำเนินการ
 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่ M1
1. ติดตามการดำเนินงานตามแผนการควบคุมภายในการประสานงาน M2
2. วิเคราะห์ความเสี่ยงและวางแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน

ขั้นสรุป  การประเมินผล V1
1. รายงานผลการควบคุมภายในต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องการกำกับ ติดตาม V2
2. รายงานผลการปฏิบัติงาน

1/9/2568 ถึง
30/9/2568

 

 

นางอรอนงค์ ชัยประเสริฐ





สหกรณ์โรงเรียน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับหลักการและวิธีการของสหกรณ์
2. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีลักษณะนิสัยประหยัด รู้จักวางแผนการใช้จ่ายบนพื้นฐานของความพอเพียง
3. เพื่อจัดหาสินค้าอุปกรณ์การเรียนที่มีคุณภาพและมีราคาที่เหมาะสมมาให้บริการแก่นักเรียน
1,1, เชิงปริมาณ
 1. นักเรียนร้อยละ 100 เป็นสมาชิกสหกรณ์โรงเรียน
2. นักเรียนร้อยละ 80 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและวิธีการสหกรณ์
3. นักเรียนร้อยละ 80 มีการวางแผนการใช้จ่ายอย่างเหมาะสม
4. นักเรียนร้อยละ 80 ได้ซื้อสินค้าอุปกรณ์การเรียนที่มีคุณภาพในราคาที่เหมาะสม

เชิงคุณภาพ
 1. นักเรียนรู้และเข้าใจบทบาทการเป็นสมาชิกสหกรณ์และปฏิบัติตนเป็นสมาชิกสหกรณ์ที่ดีได้อย่างเหมาะสม
2. นักเรียนมีลักษณะนิสัยประหยัดและใช้จ่ายอย่างพอเพียง
วิธีการ
 ประเมินความพึงพอใจ
เครื่องมือ
 ประเมินความพึงพอใจ

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : สหกรณ์ร้านค้า
ขั้นเตรียม
 การวางแผนการทำงานเป็นทีม T1
เสนอโครงการ
การกำหนดภาระหน้าที่งาน T2
ออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน

ขั้นดำเนินการ
 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่ M1
คณะกรรมการดำเนินงานปฏิบัติหน้าที่ตามคำสั่งที่ได้รับมอบหมาย
การประสานงาน M2
ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน

ขั้นสรุป  การประเมินผล V1
1.สำรวจความพึงพอใจ
2.สรุปผลความพึงพอใจ
การกำกับติดตาม V2
จัดทำรายงานโครงการและติดตามการดำเนินโครงการ

15/10/2567 ถึง
15/10/2568

 

 

นางสาวรุจิเรข ฉอยทิม





ร้านค้าสวัสดิการโรงเรียน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้คณะครู-บุคลากรและนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมรู้จักเลือกซื้อสินค้า อุปโภคบริโภคที่ดีมีประโยชน์ต่อร่างกาย
2. เพื่อเป็นการฝึกฝนให้นักเรียนมีความรับผิดชอบ เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต
3. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4. เพื่อเป็นการฝึกฝนให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถทำงานเป็นทีม
3, เชิงปริมาณ
 1. มีสินค้าอุปโภคบริโภคที่หลากหลายและจำนวนที่เหมาะสม สำหรับการให้บริการ กับคณะครู บุคลากรและนักเรียน ของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมทุกคน อย่างน้อยร้อยละ80

เชิงคุณภาพ
 1. มีสินค้าอุปโภคบริโภคที่มีคุณภาพดีบริการให้กับคณะครู บุคลากร และนักเรียน ของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมทุกคน
วิธีการ
 ความพึงพอใจ
เครื่องมือ
 สอบถามความต้องการ

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : สวัสดิการร้านค้าโรงเรียน
ขั้นเตรียม
 T2 - Tabulation to organization (การกำหนดหน้าที่ภาระงาน) 1.แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน T1 - Team management to framework(การวางแผนและการทำงานเป็นทีม) 2.ประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
ขั้นดำเนินการ
 M1-(ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่) 1.ดำเนินงานตามแผนที่วางไว้ตามหลักการและวิธีการของสวัสดิการร้านค้าโรงเรียนโดยยึดหลักตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง M2- Making a correlation (การประสานงาน) 2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม
ขั้นสรุป  V1 - Validity to evaluation (การประเมินผล) 1.รายงานผลการดำเนินงาน V2- (ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม) 2.บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม

6/10/2567 ถึง
6/10/2568

 

 

นางสาวสุธานิธ์ แซ่เลี่ยว





งานประเมินผลการปฏิบัติงานด้านการบริหารงานงบประมาณ

วัตถุประสงค์
1. เพื่อประเมินผลการปฏิบัติงานด้านการบริหารงบประมาณให้เป็นไปตามที่โรงเรียนกำหนด
1,2,4, เชิงปริมาณ
 1.กลุ่มบริหารงานงบประมาณ สามารถประเมินผลการปฏิบัติงานของงานต่างๆ ตามขอบข่ายการปฏิบัติงานของกลุ่มบริหารงานงบประมาณได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95
เชิงคุณภาพ
 1. กลุ่มบริหารงานงบประมาณ มีการบริหารงานด้านงบประมาณได้เป็นที่พึงพอใจในระดับดีเยี่ยม
วิธีการ
  ตรวจสอบการใช้เงินงบประมาณตามโครงการ แล้วสรุปการใช้จ่ายเงินที่ได้รับอนุมัติในโครงการต่างๆ ของกลุ่มบริหารงานงบประมาณ
เครื่องมือ
 การสำรวจความคิดเห็นของหัวหน้างานในกลุ่มบริหารงานงบประมาณ

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : การประเมินผลการปฏิบัติงานด้านการบริหารงานงบประมาณ
ขั้นเตรียม
 1.ประชุมหัวหน้างานแต่ละงานของกลุ่มบริหารงานงบประมาณ 2.วางแผนการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานร่วมกับหัวหน้างานในกลุ่มบริหารงานงบประมาณ 3.จัดทำปฏิทินการปฏิบัติงานของกลุ่มบริหารงานงบประมาณ
ขั้นดำเนินการ
 1.แต่งตั้งคณะกรรมการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานของกลุ่มบริหารงานงบประมาณ 2. จัดทำแบบติดตามและแบบประเมินผลการปฏิบัติงาน 3. ประเมินผลการปฏิบัติงานด้านการบริหารงบประมาณ
ขั้นสรุป  1.นำผลการประเมินมาสรุปรวบรวม 2. รายงานผลการปฏิบัติงานของกลุ่มบริหารงานงบประมาณ

1/8/2568 ถึง
20/9/2568

 

 

นายไพรัชน์ จารุจิระวงศ์ ผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายงบประมาณ