รหัสโครงการ 5-01-1
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2567
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มกิจการนักเรียน
กลุ่มสาระ/งาน งานส่งเสริมประสิทธิภาพงานกิจการนักเรียน
ชื่อโครงการ งานส่งเสริมประสิทธิภาพงานกิจการนักเรียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 6. ส่งเสริมกระบวนการการบริหารจัดการสถานศึกษาด้วยระบบคุณภาพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 4. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายอุดมศักดิ์ นาคะพันธ์

1. หลักการและเหตุผล

           งานกิจการนักเรียนเป็นภาระงานหนึ่งที่สำคัญของสถานศึกษาเพื่อส่งเสริมประสบการณ์ของนักเรียน ให้กว้างขวางยิ่งขึ้นและบรรลุจุดมุ่ง หมายของหลักสูตรพัฒนานักเรียนให้เกิดความเจริญงอกงามในทุกด้าน ทั้ง ทางด้าน อารมณ์สังคม จิตใจ ช่วยให้เป็นคนที่สมบูรณ์ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างมีความสุข สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 โดย ให้ความสำคัญกับการพัฒนานักเรียนที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ มุ่งหวังให้นักเรียนมีพัฒนาการแบบองค์รวม กล่าวคือ ให้ เป็นคนดีคนเก่ง คนมีความสุข ดังนั้น ครูทุกคนจึงมีบทบาทหน้าที่ดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่าง ใกล้ชิดและมีประสิทธิภาพรู้จักผู้เรียนเป็น รายบุคคล มีข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับนักเรียนที่ครบถ้วนและเป็น ปัจจุบัน เพื่อช่วยให้ครูเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนานักเรียนโดยผ่าน กระบวนการวางแผน และการบริหารจัดการ เพื่อสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนสอดคล้องกับสภาวะเศรษฐกิจสังคม การเมือง สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้มีการส่งเสริมพัฒนานักเรียนให้มีคุณธรรมจริยธรรมมีระเบียบ วินัย ภาคภูมิใจในความเป็นชาติไทย เกิดการเรียนรู้ระบอบประชาธิปไตยผ่านกระบวนการและกิจกรรมต่างๆ ในโรงเรียน เทิดทูนและจงรักภักดี ต่อสถาบันชาติศาสนา พระมหากษัตริย์มีจิตสาธารณะใช้ชีวิตอย่างพอเพียง ปรับตัวมีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกัน สามารถ เลือกดาเนินชีวิต อย่างมีภูมิรู้และภูมิธรรม โดยมีมาตรการเชื่อมโยง กันอย่างเป็นระบบ ครูทุกคนเป็นคณะกรรมการกลุ่มบริหารงานกิจการนักเรียน สามารถ ว่ากล่าว ตักเตือน อบรมนักเรียนหวังที่จะ เห็นนักเรียนเป็นผู้มีความงดงามทั้งทางกายวาจา ใจ คือ แต่งกายถูกต้องตามระเบียบ สง่างาม สมวัย ประพฤติ ปฏิบัติถูกต้องตามระเบียบแบบแผนของโรงเรียน
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนานักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทาคม ทุกคนให้มีความเป็นนักเรียน มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย สุขภาพกาย สุขภาพจิตดีเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว และคนดีของสังคม สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข
2.เพื่อจัดซื้อจัดหาวัสดุครุภัณฑ์ให้เพียงพอต่อการบริหารจัดการภายในฝ่ายบริหารงานกิจการนักเรียน

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1.มีวัสดุครุภัณฑ์เพื่อใช้ในการบริหารจัดการภายในฝ่ายบริหารงานกิจการนักเรียนครอบคลุม 100 %
  วิธีการประเมิน
    -ประเมินผล
  เครื่องมือ
    -แบบประเมินผล
  เชิงคุณภาพ
    1.มีวัสดุครุภัณฑ์เพื่อใช้ในการบริการจัดการภายในโรงเรียนอย่างเพียงพอ
  วิธีการประเมิน
    -ประเมินผล
  เครื่องมือ
    -แบบประเมินผล

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2566          ถึงวันที่ : 30/9/2567

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    งานส่งเสริมประสิทธิภาพงานกิจการนักเรียน
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
-ประชุมวางแผนการทำงาน ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
-สำรวจรายการวัสดุอุปกรณ์
-กำหนดรายการที่จำเป็นต้องซื้อ
5.มอบหมายผู้ที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม
- กำหนดการทำกิจกรรม ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- จัดทำรายการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- แบบประเมินความพึงพอใจ
- แบบสรุปประเมินการทำกิจกรรม ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรมเสนอให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 25375 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2566     ถึงวันที่ 30/9/2567
  ผู้รับผิดชอบ นายจีระศักดิ์ กลมวง

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 25,375.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 25,375.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
-ฝ่ายงบประมาน -ฝ่ายพัสดุ -ฝ่ายงานกิจการนักเรียน
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.มีวัสดุครุภัณฑ์เพื่อใช้ในการบริการจัดการภายในฝ่ายบริหารงานกิจการนักเรียน
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 5-03-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2567
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มกิจการนักเรียน
กลุ่มสาระ/งาน งานผู้ปกครองเครือข่าย
ชื่อโครงการ ผู้ปกครองเครือข่ายนักเรียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 2. ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 6. ส่งเสริมกระบวนการการบริหารจัดการสถานศึกษาด้วยระบบคุณภาพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 4. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายอรรถพล ศรัทธาผล

1. หลักการและเหตุผล

           การศึกษาถือเป็นหัวใจสำคัญของการพัฒนาประเทศ ดังนั้นกระบวนการจัดการศึกษาเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาตนเองเป็น ทรัพยากร มนุษย์คุณภาพควบคู่กับการ มีคุณธรรม สามารถดำรงชีพอยู่ในสังคมและท้องถิ่นของตนเอง อันจะส่งผลให้ประเทศชาติเกิด การพัฒนา อย่าง มั่นคงและยั่งยืนต่อไป พระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติถือเป็นกลไกหลักที่จะผลักดันไปสู่การพัฒนาดังกล่าวได้ให้ ความสำคัญกับ การมี ส่วนร่วมของชุมชนและท้องถิ่นในการส่งเสริมการจัดการศึกษา ดังจะเห็น ได้จากสาระสำคัญของพระราชบัญญัติการ ศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 9(6) ให้จัดการศึกษาโดยยึดหลักการมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กร ชุมชน องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอื่น เข้ามามีบทบาท และมีส่วนร่วมในการ จัดการศึกษา พัฒนาสถานศึกษาในด้านต่างๆ เช่น ร่วมสนับสนุนกิจกรรมให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการ จัดการศึกษา โดยผ่าน ความเห็นของผู้ บริหารสถาน ศึกษานั้นๆ ทั้งนี้เพื่อให้การจัดการศึกษาสอดคล้องกับความหลากหลายทาง วัฒนธรรมและท้องถิ่นนั้นๆ ของตนเอง โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ในฐานะเป็นหน่วยงาน หลักรับผิดชอบการจัดการศึกษาของ โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาการญจนบุรี ซึ่งต้องนำแผนมาสู่การ ปฏิบัติให้เป็นรูปธรรมใน โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม รวมทั้งช่วยเหลือในการแก้ปัญหาต่าง ๆ เพื่อให้นักเรียนมีทักษะชีวิตที่ดี มีคุณภาพ และเติบโต เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์จึงได้จัด ทำโครงการ เครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนเพื่อพัฒนา โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม อันจะส่งผลให้ เกิดการพัฒนาการศึกษาของในจังหวัด กาญจนบุรีในรูปแบบที่มั่นคงและยั่งยืน
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1.เพื่อให้คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมและผู้เกี่ยวข้อง ได้รับความรู้ความเข้าใจบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน
2.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนมีสัมพันธภาพที่ดีโดยได้พบปะแลกเปลี่ยนทัศนคติ ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะและประสบการณ์ รวมถึงปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ภายในโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1.มีเครือข่ายผู้ปกครองทุกชั้น/ห้องเข้าร่วมประชุมทุกภาคเรียน ร้อยละ 100 ให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมประชุมผู้ปกครองเครือข่าย
2.มีเครือข่ายผู้ปกครองทุกห้องเรียน ห้องเรียนละ 5 คน
3.มีเครือข่ายผู้ปกครองโรงเรียน จำนวน 12 คน
  วิธีการประเมิน
    ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมผู็ปกครองเครือข่าย
  เครื่องมือ
    แบบลงทะเบียน
  เชิงคุณภาพ
    1.ผู้ปกครองเครือข่ายนักเรียน เข้ามาช่วยเหลือในการดูแลนักเรียนให้มีคุณภาพ ร่วมถึงมีส่วนช่วยในการจัดการศึกษา แก้ปัญหาและเสนอแนะจากกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน
  วิธีการประเมิน
    ทำแบบประเมินความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    แบบประเมินความพึงพอใจ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2566          ถึงวันที่ : 30/9/2567

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    ประชุมผู้ปกครองเครือข่ายนักเรียน ภาคเรียนที่ 2
  ขั้นเตรียมการ 1. ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินโครงการประชุมผู้ปกครองเครือข่ายนักเรียน เพื่อวิเคราะห์โครงการและกำหนดทิศทางการดำเนินงาน
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- จัดทำคำสั่งและแต่งตั้งผู้รับผิดชอบกิจกรรมประชุมผู้ปกครองเครือข่ายนักเรียน
  ขั้นดำเนินการ 3. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
- คณะกรรมการดำเนินกิจกรรมตามแผนที่วางไว้
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- มีการประสานงานร่วมกันระหว่างคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายบริหาร เพื่อให้กิจกรรมประชุมผู้ปกครองเครือข่ายนักเรียน ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  ขั้นสรุป 5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมประชุมผู้ปกครองเครือข่ายนักเรียน
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- สรุป รายงานผล ปรับปรุง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อนำผลการประเมินมาปรับปรุงกิจกรรมประชุมผู้ปกครองเครือข่ายนักเรียน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 7500 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2566     ถึงวันที่ 30/3/2567
  ผู้รับผิดชอบ นายอรรถพล ศรัทธาผล
    กิจกรรมที่ 2    ประชุมผู้ปกครองเครือข่ายนักเรียน ภาคเรียนที่ 1
  ขั้นเตรียมการ 1. ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินโครงการประชุมผู้ปกครองเครือข่ายนักเรียน เพื่อวิเคราะห์โครงการและกำหนดทิศทางการดำเนินงาน
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- จัดทำคำสั่งและแต่งตั้งผู้รับผิดชอบกิจกรรมประชุมผู้ปกครองเครือข่ายนักเรียน
  ขั้นดำเนินการ 3. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
- คณะกรรมการดำเนินกิจกรรมตามแผนที่วางไว้
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- มีการประสานงานร่วมกันระหว่างคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายบริหาร เพื่อให้กิจกรรมประชุมผู้ปกครองเครือข่ายนักเรียน ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  ขั้นสรุป 5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมประชุมผู้ปกครองเครือข่ายนักเรียน
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- สรุป รายงานผล ปรับปรุง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อนำผลการประเมินมาปรับปรุงกิจกรรมประชุมผู้ปกครองเครือข่ายนักเรียน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 7500 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/4/2567     ถึงวันที่ 30/9/2567
  ผู้รับผิดชอบ นายอรรถพล ศรัทธาผล

   รวม 2 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 15,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 15,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผู้ปกครองนักเรียน ครูและนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนทุกคนได้รับการดูแลช่วยเหลือให้มีคุณภาพที่ดียิ่งขึ้น
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 5-08-4
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2567
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มกิจการนักเรียน
กลุ่มสาระ/งาน งานกิจกรรมวันสำคัญ
ชื่อโครงการ กิจกรรมวันสำคัญ
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ -
จุดเน้น กระทรวงฯ -
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 1. มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด
ข้อที่ 2. ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
กลยุทธ์โรงเรียน -
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 4. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายณัฐพล กลีบสัตบุตร

1. หลักการและเหตุผล

          ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 6 การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีความเจริญรุ่งเรืองทางประเพณีและวัฒนธรรมมาตั้งแต่อดีต มีวันสำคัญต่าง ๆ มากมายที่ยึดถือปฏิบัติ สืบทอดกันมาช้านาน ในการปลูกฝังจิตสำนึกให้กับนักเรียนได้ตระหนักถึงความสำคัญของวันสำคัญต่าง ๆ ของไทย ทั้งยังเป็นการ ส่งเสริมให้นักเรียนประพฤติปฏิบัติตนตามหลักศาสนา และวัฒนธรรมอันดีงามได้อย่างถูกต้อง รู้จักรักษาอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีไทย สืบสานและเข้าร่วมประสานความสัมพันธ์ที่ดีต่อสังคม เช่น วันแม่แห่งชาติ วันพ่อแห่งชาติ เป็นต้น โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมตระหนักถึงความสำคัญของวันสำคัญต่าง ๆ นอกจากจัดกิจกรรมโดยสอดแทรกในการจัดการเรียนการสอนแล้ว จึงจัดโครงการกิจกรรมวันสำคัญขึ้น โดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน เพื่อให้นักเรียน และผู้ปกครอง ตลอดจนชุมชน มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ที่ทางโรงเรียนได้ดำเนินการจัดขึ้น
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และเห็นถึงความสำคัญของวันสำคัญต่าง ๆ ตามขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมของไทย
2. เพื่อให้นักเรียนได้รับการพัฒนาคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด
3. เพื่อให้ครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมวันสำคัญต่าง ๆ

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. ครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในกิจกรรมวันสำคัญต่าง ๆ
  วิธีการประเมิน
    การสำรวจ
  เครื่องมือ
    แบบสำรวจ
  เชิงคุณภาพ
    1. ครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของวันสำคัญต่าง ๆ ตามขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมของไทย
2. นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด
  วิธีการประเมิน
    การสำรวจ
  เครื่องมือ
    แบบสำรวจ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2566          ถึงวันที่ : 31/8/2567

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    วันสำคัญ
  ขั้นเตรียมการ การวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
1. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
2. ขออนุมัติโครงการ
3. ประชุมคณะกรรมการวางแผนการปฏิบัติงาน
การกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
1. จัดทำคำสั่งการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ การปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
1. จัดทำบันทึกขออนุญาตจัดกิจกรรม
2. จัดกิจกรรมวันสำคัญต่าง ๆ ตามปฏิทินประจำปี
การประสานงาน (M2)
1. ประสานงานกับทุกกลุ่มบริหารงานต่าง ๆ
  ขั้นสรุป การประเมินผล (V1)
1. จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจ
2. สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน
การกำกับติดตาม (V2)
1. บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 8000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมและหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2566     ถึงวันที่ 31/8/2567
  ผู้รับผิดชอบ นายณัฐพล กลีบสัตบุตร

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 8,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 8,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมและหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนเกิดความภาคภูมิใจในความเป็นไทย มีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และสามารถดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 5-02-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2567
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มกิจการนักเรียน
กลุ่มสาระ/งาน งานป้องกันและแก้ไขยาเสพติดในสถานศึกษา
ชื่อโครงการ โครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ -
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 1. การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 1. มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความปลอดภัยจากภัยทุกรูปแบบ
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางการะเกษ อ่อนแก้ว

1. หลักการและเหตุผล

           ตามที่รัฐบาลได้ประกาศให้การแก้ไขปัญหายาเสพติด เป็นวาระ แห่งชาติ ภายใต้แผนยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพ ติด พ.ศ. ๒๕๕๕ กำหนดกลยุทธ์ที่สำคัญในการดำเนินงาน ๗ แผน ๔ ปรับ ๓ หลัก ๖ เร่ง โดยมอบหมายให้แต่ละหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องรับผิด ชอบ ดำเนินการตามแผนงานตามยุทธศาสตร์ ที่กำหนด ซึ่ง กระทรวง ศึกษาธิการเป็นหน่วยงานหลักที่รับผิด ชอบงานในแผนงานที่ ๓ การ สร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติด (Potential Demand) สถาน ศึกษาในระดับมัธยมศึกษา ได้ ถูก

กำหนดให้เป็นเป้าหมายในการดำเนิน งานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เนื่องจากมี นักเรียนที่เป็นวัย เสี่ยง เพื่อ เป็นการ สนับสนุนการดำเนินงานดังกล่าว และขับเคลื่อนการ ดำเนินงานตามนโยบายของกระทรวง ศึกษาธิการ ตามโครงการ สถานศึกษา สีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข และโครงการห้องเรียนสี ขาว ให้มีความชัดเจน เกิดความเข้ม แข็ง และมีการ ดำเนินงาน อย่างต่อเนื่องเป็นรูปธรรม โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จึงได้จัดทำโครงการ สถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติด และ อบายมุข ขึ้น


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้ผู้เรียนป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษในสถานะการณ์โควิต
2.เพื่อให้ทราบข้อมูลนักเรียนที่มีความเสี่ยงและมีปัญหาการเสพสารเสพติดในสถานศึกษาในสถานะการณ์โควิต.
3. เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการป้องกันและแก้ไขปัญหาผู้เรียนในสถานศึกษา
4. เพื่อสร้างเครือข่ายนักเรียนแกนนำห้องเรียนสีขาวในการต่อต้านยาเสพติด
5.เตรียมการเพื่อรับการประเมินโรงเรียนสีขาวปี2566

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. ผู้เรียนร้อยละ 90 ป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษ
2. มีข้อมูลผู้เรียนที่เกี่ยวกับสารเสพติดในสถานศึกษาทุกห้องเรียน
3 .ข้อมูลผู้เรียนทุกคนที่เกี่ยวข้องกับสารเสพติดได้รับการดูแลช่วยเหลือ
4. ผู้เรียนกลุ่มเสี่ยงทุกคนได้รับการอบรมให้ความรู้และเสริมสร้างทักษะชีวิต
5.สร้างนักเรียนแกนนำห้องเรียนสีขาวในการต่อต้านยาเสพติด
  วิธีการประเมิน
    1.รายงานด้านการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด
2.ประเมินผลการดำเนินงาน
  เครื่องมือ
    1.แบบายงานด้านการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด
2.แบบประเมินผลการดำเนินงาน
  เชิงคุณภาพ
    1.ผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 อยู่ในระดับดี
2. สามารถผ่านการประเมินโรงเรียนสีขาว
  วิธีการประเมิน
    1.ประเมินความพึงพอใจของทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วม
2.สังเกตการเข้าร่วมกิจกรรม
  เครื่องมือ
    1.แบบประเมินความพึงพอใจของทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 8/10/2566          ถึงวันที่ : 7/10/2567

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    นวัตกรรม (Best Practice) ภูมิคุ้มกันดี สู่วิถี สถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
-ประชุมปรึกษาหารือผู้เกี่ยวข้อง
-จัดทำโครงการเสนอผู้อำนวยการเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
-คำสั่งการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
-บันทึกขออนุญาติทำกิจกรรม
-ปฎิทินปฎิบัติงาน
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
-ประสานวิทยากรและกรรมการตัดสิน / หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
-ดำเนินการจัดกิจกรรมตามโครงการคัดเลือกผลงานนักเรียนดีเด่น
-เผยแพร่ผลงานและสร้างเครือข่าย
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
b -แบบประเมินความพีงพอใจในการจัดกิจกรรม
ขั้นตอนการกำกับติดตาม(V2)
-สรุปและรายงานผลการดำเนินงานต่อโรงเรียนและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กาญจนบุรี
-ข้อเสนอแนะจากผู้บริหาร/คณะกรรมการประเมิน/ผู้รับผิดชอบกิจกรรม/ผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 27280 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 8/10/2566     ถึงวันที่ 7/11/2566
  ผู้รับผิดชอบ หัวหน้างานยาเสพติด
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดในสถานศึกษา 5 ด้านคือ สร้างภูมิคุ้มกัน ค้นหา รักษา เฝ้าระวัง และบริหารจัดการ
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
-ประชุมปรึกษาหารือผู้เกี่ยวข้อง
-จัดทำโครงการเสนอผู้อำนวยการเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
-คำสั่งการดำเนินงาน-ประชุมปรึกษาหารือผู้เกี่ยวข้อง
-จัดทำโครงการเสนอผู้อำนวยการเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
-คำสั่งการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
-บันทึกขออนุญาติทำกิจกรรม
-ปฎิทินปฎิบัติงาน
-ตารางการอบรม
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
-ประสานวิทยากรอบรม / หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
-ดำเนินการจัดกิจกรรมสร้างภูมิคุ้มกัน ค้นหา รักษา เฝ้าระวัง และบริหารจัดการด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพตืด
-ดำเนินการจัดกิจกรรม
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
-แบบประเมินความพีงพอใจในการจัดกิจกรรม ขั้นตอนการกำกับติดตาม(V2)
-สรุปและรายงานผลการดำเนินงานต่อโรงเรียนและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กาญจนบุรี
-ข้อเสนอแนะจากผู้บริหาร/คณะกรรมการประเมิน/ผู้รับผิดชอบกิจกรรม/ผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 52540 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 8/10/2566     ถึงวันที่ 7/11/2566
  ผู้รับผิดชอบ หัวหน้างานยาเสพติด

   รวม 2 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 79,820.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 79,820.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
6.1 สำนักงานสาธารณสุขอำเภอท่ามะกา
6.2 ที่ว่าการอำเภอท่ามะกา ุ6.3 โรงพยาบาลมะการักษ์ 6.4 สถานีตำรวจภูธรท่ามะกา 6.5 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาญจนบุรี 6.6 เทศบาลตำบลท่ามะกา
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
6.1 สำนักงานสาธารณสุขอำเภอท่ามะกา
6.2 ที่ว่าการอำเภอท่ามะกา ุ6.3 โรงพยาบาลมะการักษ์ 6.4 สถานีตำรวจภูธรท่ามะกา 6.5 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาญจนบุรี 6.6 เทศบาลตำบลท่ามะกา
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 5-05-4
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2567
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มกิจการนักเรียน
กลุ่มสาระ/งาน งานส่งเสริมประชาธิปไตยและสภานักเรียน
ชื่อโครงการ งานส่งเสริมกิจการสภานักเรียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 3. ผลิตและพัฒนากำลังคนรวมทั้งงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการของการพัฒนาประเทศ
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 1. การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 1. มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด
ข้อที่ 2. ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 3. ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 1. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวปัทวรรณ เชื้อชาย

1. หลักการและเหตุผล

           สภานักเรียนเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาศักยภาพ ของนักเรียนและพัฒนาสังคมโรงเรียนให้เข้ม แข็งตามหลัก ธรรมธร รมาภิ บาลและวิถีประชาธิปไตยในโรงเรียน โดยเปิด โอกาสให้นักเรียนได้นำเสนอวิธีการพัฒนาโรงเรียนด้วยความ รับผิดชอบอย่าง สมดุลย์ และเหมาะสม โดยน้อมนำหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มา เป็นแนวทางในการ ดำเนินงาน
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- ล้ำหน้าทางความคิด
- ร่วมรับผิดชอบสังคมโลก
-
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. ยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่าง
2. เพื่อสร้างองค์กรนักเรียนให้มีศักยภาพตามหลักธรรมาภิบาล

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. มีสภานักเรียนที่ได้รับการเลือกตั้ง 1 คณะ จำนวน 20 - 30 คน
2. รายงานผลการประเมิน จำนวน 1 เล่ม
  วิธีการประเมิน
    การประเมิน
  เครื่องมือ
    แบบประเมิน
  เชิงคุณภาพ
    1. สมาชิกสภานักเรียนและเครือข่ายที่มีศักยภาพร่วมคิดร่วมพัฒนา และร่วมรับผิดชอบโรงเรียน
2. สมาชิกสภานักเรียนและเครือข่ายที่มีความสามัคคี รักใคร่กลมเกลียว มีจิตสาธารณะและค่านิยมที่ดี
  วิธีการประเมิน
    การสัมภาษณ์
  เครื่องมือ
    แบบสัมภาษณ์

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 5/10/2566          ถึงวันที่ : 30/9/2567

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมการเลือกตั้งสภานักเรียน
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. สำรวจความต้องการ
2. ประชุมคณะกรรมการ เขียนโครงการ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน
1. จัดทำคำสั่งการดำเนินโครงการ
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่
1.ดำเนินงานกิจกรรมเลือกตั้งสภานักเรียน ขั้นตอนการประสานงาน
1.ประชาสัมพันธ์กิจกรรม
2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล
1.สำรวจความคิดเห็นและความพึงพอใจ
2.สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม
1.รายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 7535 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ หอประชุมสุทินศักดิ์ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/7/2567     ถึงวันที่ 31/7/2567
  ผู้รับผิดชอบ ครูปัทวรรณ เชื้อชาย
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมมุฑิตา อำลาครู
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. สำรวจความต้องการ
2. ประชุมคณะกรรมการ เขียนโครงการ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน
1. จัดทำคำสั่งการดำเนินโครงการ
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่
1.ดำเนินงานกิจกรรมมุฑิตา อำลาครู
ขั้นตอนการประสานงาน
1.ประชาสัมพันธ์กิจกรรม
2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล
1.สำรวจความคิดเห็นและความพึงพอใจ
2.สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม
1.รายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 4000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ อาคารอเนกประสงค์โพธารากุล (หลังคาโค้ง)
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/9/2567     ถึงวันที่ 30/9/2567
  ผู้รับผิดชอบ ปัทวรรณ เชื้อชาย
    กิจกรรมที่ 3    กิจกรรมปัจฉิม วันอำลาน้องพี่
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. สำรวจความต้องการ
2. ประชุมคณะกรรมการ เขียนโครงการ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน
1. จัดทำคำสั่งการดำเนินโครงการ
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่
1.ดำเนินงานกิจกรรมปัจฉิม วันอำลาน้องพี่
ขั้นตอนการประสานงาน
1.ประชาสัมพันธ์กิจกรรม
2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล
1.สำรวจความคิดเห็นและความพึงพอใจ
2.สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม
1.รายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 7990 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ หอประชุมสุทินศักดิ์
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/2/2567     ถึงวันที่ 30/4/2567
  ผู้รับผิดชอบ ปัทวรรณ เชื้อชาย

   รวม 3 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 19,525.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 19,525.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
งานกิจการนักเรียน, งานส่งเสริมประชาธิปไตยและสภานักเรียน, สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดกาญจนบุรี
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.มีสภานักเรียนที่ได้รับการเลือกตั้ง 1 คณะ จำนวน 20 - 30 คน
2.มีความสามัคคี รักใคร่กลมเกลียวในหมู่คณะ
3.มีความกตัญญูรู้คุญครู รักและเชิดชูในสภาบัน
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 5-09-5
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2567
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มกิจการนักเรียน
กลุ่มสาระ/งาน งานโรงเรียนคุณธรรม
ชื่อโครงการ งานโรงเรียนคุณธรรม
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 1. การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 2. ความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา
ข้อที่ 3. มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 2. ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
ข้อที่ 3. การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
ข้อที่ 4. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
ข้อที่ 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ข้อที่ 5. ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล
กลยุทธ์โรงเรียน -
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
ข้อที่ 4. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 1. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวอลิสา สุสุวรรณ

1. หลักการและเหตุผล

          “การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มี จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข” จากที่กล่าวมานั้นสถานศึกษานอกจากจะสอน วิชาการ ให้ได้ ดีแล้ว การสอนเกี่ยวกับเรื่องคุณธรรม จริยธรรมจะทำให้คนเป็นคนโดยสมบูรณ์ การปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ดังนั้น กิจกรรมหน้า เสาธงจึง เป็นกิจกรรมหนึ่งที่มีส่วนในการพัฒนาความสมบูรณ์ของมนุษย์ให้ได้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อส่งเสริม คุณธรรมอัต ลักษณ์ของ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม คือ ความมีวินัย ความพอเพียงและมีจิตสาธารณะ โดยใช้ศาสตร์พระราชาสู่พระ ราโชบายด้านการ ศึกษาเพื่อคิด หาแนวทางหรือวิธีในการแก้ปัญหาดังกล่าว จึงทำให้เกิดกิจกรรมวันพุธคือวันพระ และกิจกรรมต่อยอดคือ โรงบุญสู่โรงทาน โดยมีจุดประสงค์ เพื่อให้นักเรียนที่ไม่สนใจกิจกรรมหน้าเสาธง ให้ความสนใจและให้ความร่วมมือในกิจกรรมหน้าเสาธง สร้างความดีภายใน โรงเรียนท่ามะกา วิทยาคม ให้รู้จักการแบ่งปัน การให้(ทาน) การเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่รวมไปถึงการทำหน้าที่ของ พุทธศาสนิกชนที่ดีทำนุบำรุง พระพุทธศาสนาต่อ ไป เพื่อสร้างความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์และน้อมถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว โดย มุ่งเน้นพัฒนาคุณธรรม อัตลักษณ์ของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ดังนี้ 1.ความมีวินัย 2.ความพอเพียง 3.ความมีจิตสาธารณะ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
- ร่วมรับผิดชอบสังคมโลก
-
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมโรงเรียนคุณธรรม”บ้านคนดี” ตามแนววิถีพุทธและพระบรมราโชบายในหลวงรัชกาลที่10ของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม 2.นักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมมีคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม....

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    นักเรียน ของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ร้อยละ ๘๐ เข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียนคุณธรรม”บ้านคนดี” ตามแนววิถีพุทธและพระบรมราโชบายในหลวงรัชกาลที่10ของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม.......
  วิธีการประเมิน
   
  เครื่องมือ
   
  เชิงคุณภาพ
    นักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมที่เข้าร่วมกิจกรรมโครงการโรงเรียนคุณธรรม”บ้านคนดี” ตามแนววิถีพุทธและพระบรมราโชบายในหลวงรัชกาลที่10ของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมมีคุณธรรมตามวัตถุประสงค์ของโครงการ.......
  วิธีการประเมิน
   
  เครื่องมือ
   

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 4/6/2567          ถึงวันที่ : 4/6/2568

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    อบรมเยาวชนและครูแกนนำ
  ขั้นเตรียมการ 1.ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) 2.ประชุม/วางแผน ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) 3.เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ 4.ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) 5.อบรมเยาวชนและครูแกนนำ ขั้นตอนการประสานงาน(M2) ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป 6.ขั้นตอนการประเมินผล(V1) 7.ประเมินผล/รายงานผล ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) 8.รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 42960 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2566     ถึงวันที่ 30/9/2567
  ผู้รับผิดชอบ นางอลิสา สุสุวรรณ

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 42,960.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 42,960.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
.นักเรียนสามารถจัดทำโครงงานคุณธรรม ค่ายคนดี กิจกรรมจิตอาสาได้ 2.สามารถลดพฤติกรรมเสี่ยงต่าง ๆ หรือพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ได้ 3.นักเรียนสามารถแก้ปัญหาตามกระบวนการการทำโครงงานคุณธรรมได้ 4.นักเรียนสามารถนำหลักคุณธรรม/หลักคำสอนของรัชกาลที่9/การน้อมนำพระราโชบายของรัชกาลที่10 มาประยุกต์ใช้ได้ 5.นักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมนีแนวโน้มการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมเพิ่มขึ้น
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
ความเสี่ยงของโรงเรียนคุณธรรม”บ้านคนดี” ตามแนววิถีพุทธและพระบรมราโชบายในหลวงรัชกาลที่10ของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม คือ การจัดกิจกรรมในการเชิญพระวิทยากร อาจมีการเปลี่ยนแปลงกำหนดการได้

 

 

รหัสโครงการ 5-07-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2567
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มกิจการนักเรียน
กลุ่มสาระ/งาน งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ชื่อโครงการ งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 4. ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 1. การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ข้อที่ 2. การสร้างความสามารถในการแข่งขัน
ข้อที่ 3. การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา
ข้อที่ 4. การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ข้อที่ 5. การพัฒนาการศึกษาเพื่อความมั่นคง
ข้อที่ 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 1. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ
ข้อที่ 2. ความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา
ข้อที่ 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
ข้อที่ 6. มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 1. มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด
ข้อที่ 2. ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
ข้อที่ 3. การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 1. มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน
ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
ข้อที่ 3. ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย
ข้อที่ 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
ข้อที่ 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
ข้อที่ 4. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
ข้อที่ 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ข้อที่ 2. ส่งเสริมให้นักเรียนและสนับสนุนให้นักเรียนมีทักษะในการประกอบอาชีพ
ข้อที่ 3. ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูสร้างและพัฒนางานวิจัย และนวัตกรรม ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน
ข้อที่ 4. ส่งเสริมหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ข้อที่ 5. ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล
ข้อที่ 6. ส่งเสริมกระบวนการการบริหารจัดการสถานศึกษาด้วยระบบคุณภาพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความปลอดภัยจากภัยทุกรูปแบบ
ข้อที่ 2. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนทุกคน
ข้อที่ 3. ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
ข้อที่ 2. ส่งเสริมคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
ข้อที่ 4. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 1. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
ข้อที่ 3. มีงานทำ-มีอาชีพ
ข้อที่ 4. เป็นพลเมืองที่ดี
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวทิษฏิยา น้อยเกตุ

1. หลักการและเหตุผล

           งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ผ่านมานักเรียนทุกคนได้รับการดูแลช่วยเหลือให้มีคุณภาพดีเยี่ยม แต่ในปัจจุบันครอบครัวมีการ เปลี่ยนแปลงในด้านบทบาท และมีปัญหาด้านเศรษฐกิจ สังคมเพิ่มขึ้น ผู้ปกครองฝากบุตรหลานกับครูและโรงเรียน การดูแลนักเรียนใน ด้านการเรียน รวมทั้งช่วยเหลือในการแก้ปัญหาต่าง ๆ เพื่อให้นักเรียนมีทักษะชีวิตที่ดี มีคุณภาพและเติบโตเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์นั้น ครู จึง ต้องมีหน้าที่ดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยวิธีการที่หลากหลายและเป็นระบบอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นจึงมีความจำเป็นต้องดำเนินงานส่งเสริม ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างต่อเนื่อง โดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลย เดชมาเป็นแนวทางในการดำเนินงา
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- เป็นเลิศวิชาการ
- ล้ำหน้าทางความคิด
- ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
- ร่วมรับผิดชอบสังคมโลก
-
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

จัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนที่มีประสิทธิภาพและครอบคลุมถึงผู้เรียนทุกคน

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. จัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนที่มีประสิทธิภาพและครอบคลุมถึงผู้เรียนทุกคน 100%
2. ผู้แทนชุมชน ผู้ปกครองร่วมดูแลช่วยเหลือผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพและครอบคลุมผู้เรียนทุกคน 100 %
  วิธีการประเมิน
    -แบบสอบถาม
  เครื่องมือ
    -แบบสอบถาม
  เชิงคุณภาพ
    1. จัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนที่มีประสิทธิภาพและครอบคลุมถึงผู้เรียนทุกคนในระดับดีเยี่ยม
2. ผู้แทนชุมชน ผู้ปกครองมีความพึงพอใจในการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพและครอบคลุมผู้เรียนทุกคนในระดับดีเยี่ยม
  วิธีการประเมิน
    -แบบสอบถาม
  เครื่องมือ
    -แบบสอบถาม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2566          ถึงวันที่ : 30/9/2567

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- ประชุมชี้แจงและวางแผนการทำงาน
- จัดทำกิจกรรมเพื่อขออนุมัติจากผู้บริหารโรงเรียน
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- จัดทำคำสั่งการดำเนินกิจกรรม
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
- ดำเนินกิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียน
- ดำเนินกิจกรรมการคัดกรองนักเรียน
ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- รายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
- ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- สำรวจความคิดเห็นและความพึงพอใจ
- สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 50000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2566     ถึงวันที่ 30/9/2567
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวทิษฏยา น้อยเกตุ

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 50,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 50,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1. โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
2. ผู้บริหาร คณะครู บุคลากร และนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
3. คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้แทนชุมชนและผู้ปกครอง
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนทุกคนได้รับการดูแลช่วยเหลือให้มีคุณภาพดีเยี่ยม
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 5-10-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2567
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มกิจการนักเรียน
กลุ่มสาระ/งาน งานส่งเสริมกิจกรรม TO BE NUMBER ONE
ชื่อโครงการ กิจกรรม TO BE NUMBER ONE
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ -
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 2. การสร้างความสามารถในการแข่งขัน
ข้อที่ 1. การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 1. มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
ข้อที่ 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความปลอดภัยจากภัยทุกรูปแบบ
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
ข้อที่ 4. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวบุษรารัตน์ แก้วสะอาด

1. หลักการและเหตุผล

           โครงการ TO BE NUMBER ONE หรือ โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติด ในทูลกระหม่อมหญิงอุบล รัตนราช กัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี มีเป้าหมาย การพัฒนาเยาวชน วัยรุ่น ให้มีภูมิคุ้มกันทางด้านจิตใจ และเปิดโอกาสให้ผู้เสพ ผู้ติดยา เสพติด เปิดเผย ตัวเองเข้ารับการบำบัดรักษา ฟื้นฟู โดยสมัครใจ ภายใต้ กิจกรรม “ใครติดยายกมือขึ้น” โดยมี ยุทธศาสตร์และ วิธีการดำเนินโครงการที่ ยึดวัยรุ่น และเยาวชนเป็นศูนย์กลางบนพื้นฐานการเข้าถึงสาเหตุของปัญหา เข้าใจ ธรรมชาติ พฤติกรรมและความต้องการของเยาวชน วัยรุ่นและกลุ่มเสี่ยงอื่นๆ ทั้งวัยทำงาน ในสถานประกอบการ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มเสพ ใน สถานพินิจฯ เรือนจำ และสำนักงาน คุมประพฤติ โดยมีกลยุทธ์สำคัญคือการใช้สโลแกน “เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยา เสพติด”ก่อ ให้ เกิดความท้าทาย และจูงใจเยาวชนไม่ให้ยุ่งกับยาเสพติด แต่มุ่งค้นหาความเป็นหนึ่ง ของตนเอง แนวคิดและ กิจกรรมใน โครงการเน้นการให้โอกาสมากกว่าการปราบปราม โดยเพิ่มโอกาสให้ เยาวชนได้รับการพัฒนาและแสดงความ สามารถที่หลาก หลาย ใน ลักษณะส่งเสริมการแข่งกันทำความดี เป็นสิ่งจูงใจให้เยาวชนอยาก เข้าร่วมกิจกรรม อย่างต่อเนื่อง การออกแบบ กิจกรรมการเรียนรู้เป็นลักษณะ Play and Learn ใช้ กิจกรรมเป็นสื่อให้เยาวชนได้เรียนรู้ อย่างมีความสุขและ สนุกกับการเรียนรู้ โดยการ ประยุกต์กับองค์ความรู้สุขภาพจิตและมีแนวทางการดำเนินงานโดยใช้วิธีบูรณาการ ความร่วมมือ ระหว่างหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและเอกชนในทุกระดับ กิจกรรม ในโครงการส่วนใหญ่เป็นกิจกรรมที่มุ่งเน้นการให้ โอกาสและทางเลือกแก่ เด็กและ เยาวชนที่เท่าเทียมกัน เพื่อพัฒนาทักษะทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ และสังคม โดยใช้ กระบวนการ กลุ่ม เพื่อสร้าง การเปลี่ยนแปลงจาก “ภายใน” เช่น การค้นพบ ความสามารถของตนเอง การนับถือ ภาคภูมิใจ และเห็นคุณค่าใน ตนเอง ให้ เยาวชน เลือกทำกิจกรรมที่ตนเองสนใจและชื่นชอบ มีวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน และเป็น Idol ของเยาวชน ด้วย วิธีการสอน และฝึกทักษะแบบไม่กดดัน ซึ่งมี ความเหมาะสมสำหรับกลุ่มเป้าหมาย
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- เป็นเลิศวิชาการ
- -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้ร่วมกิจกรรม
2. เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงโทษของอบายมุขและยาเสพติดทุกประเภทและสามารถ ป้องกันตนเองได้
3. เพื่อให้นักเรียนได้แสดงออกตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจ
4 .นักเรียนมีภาวะผู้นำ สามารถแก้ปัญหา คิดริเริ่ม และสร้างสรรค์การนำเสนอผลงาน ของชมรมด้วยความภาคภูมิใจ

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนตระหนักถึงโทษของอบายมุขและยาเสพติดทุกประเภทและสามารถป้องกันตนเองได้
2. นักเรียนได้แสดงออกตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจ
3.นักเรียนมีภาวะผู้นำ สามารถแก้ปัญหา คิดริเริ่ม และสร้างสรรค์การนำเสนอผลงานของชมรมด้วยความภาคภูมิใจ
  วิธีการประเมิน
    ใช้แบบประเมินความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    แบบประเมินความพึงพอใจ
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนมีมีความตระหนักถึงโทษของอบายมุขและยาเสพติดทุกประเภทและสามารถป้องกันตนเองได้ในระดับดี
2. นักเรียนกล้าคิด กล้าทำ กล้าแสดงออก ตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจในระดับดี
3. นักเรียนสามารถแก้ปัญหา คิดริเริ่ม และสร้างสรรค์การนำเสนอผลงานของชมรมด้วยความภาคภูมิใจ
  วิธีการประเมิน
    ใช้แบบประเมินความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    แบบประเมินความพึงพอใจ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 9/10/2566          ถึงวันที่ : 30/9/2567

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรม TO BE NUMBER ONE
  ขั้นเตรียมการ 1.ประชุมชี้แจงรายละเอียดของโครงการ
2.เขียนโครงการ
3.เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการ
  ขั้นดำเนินการ 1. ติดต่อประสานงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2.ประกวดชมรมทูบีนัมเบอร์วันระดับจังหวัด
3.จัดอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำทูบีนัมเบอร์วัน
4.ส่งนักเรียนเข้าประกวดแกนนำเยาวชนเก่งและดี
  ขั้นสรุป 1.สอบถามความพึงพอใจในการ ดำเนินโครงการ
2.รายงานผลการจัดกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 15000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/11/2566     ถึงวันที่ 1/3/2567
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวบุษรารัตน์ แก้วสอาด

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 15,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 15,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1.งานอาคารสถานที่
2.งานกิจการนักเรียน
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนมีมีความตระหนักถึงโทษของอบายมุขและยาเสพติดทุกประเภทและสามารถ ป้องกันตนเองได้ในระดับดี
2. นักเรียนกล้าคิด กล้าทำ กล้าแสดงออก ตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจในระดับดี
3. นักเรียนสามารถแก้ปัญหา คิดริเริ่ม และสร้างสรรค์การนำเสนอผลงานของชมรมด้วยความ ภาคภูมิใจ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 5-11-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2567
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มกิจการนักเรียน
กลุ่มสาระ/งาน งานประเมินผลการปฏิบัติงานด้านบริหารงานกิจการนักเรียน
ชื่อโครงการ งานประเมินผลการปฏิบัติงานด้านบริหารงานกิจการนักเรียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 1. พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 1. มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 4. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 6. ส่งเสริมกระบวนการการบริหารจัดการสถานศึกษาด้วยระบบคุณภาพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 4. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 1. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวภัททิรา เงาะลำดวน

1. หลักการและเหตุผล

           กิจการนักเรียนเป็นอีกหนึ่งภาระงานที่สำคัญ สถานศึกษามีบทบาทหน้าที่จัดระบบการดูแล ช่วยเหลือนักเรียนอย่างชัดเจนและมี ประสิทธิภาพ รู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลมีข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับ ผู้เรียนที่ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน เพื่อช่วยให้ครูเข้าใจเข้าถึงและพัฒนา ผู้เรียน โดยผ่าน กระบวนการวางแผน และการบริหารจัดการอย่างมีคุณภาพเพื่อสร้างคุณลักษณะพึงประสงค์ของผู้เรียนให้สอดคล้องกับ สภาวะ เศรษฐกิจสังคม การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ ต้องพัฒนาผู้เรียน ให้มีคุณธรรม จริยธรรม มี ระเบียบวินัย ภาคภูมิใจ ในความเป็นชาติไทย เกิดการเรียนรู้ ระบอบประชาธิปไตยผ่านกระบวนการทำงานและ กิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน เทิดทูนและจงรักภักดีต่อ สถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ มีจิตสาธารณะ ใช้ชีวิตอย่างพอเพียง ปรับตัวมีเหตุผลและมีภูมิคุ้มกัน สามารถเลือกดำเนินชีวิตอย่างผู้มีภูมิรู้ มีภูมิธรรม และสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสมกับภาวะการ เปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วของสังคมโลก ดังนั้นกลุ่มบริหารงานกิจการนักเรียน มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องนำแนวคิดทฤษฎีการบริหารมาใช้ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล กล่าวได้ว่ากลุ่มบริหารกิจการนักเรียน จะต้องมีมาตรฐานในการทำงาน และ การครองตน ครองงาน อันจะนำ ไปพัฒนาผู้เรียนให้เก่ง ดี มีสุข ตามเจตนารมพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 (ฉบับ แก้ไขปรับปรุง 2545) ดังนั้น การดำเนินงานที่เป็นระบบ จะต้องมีการกำหนดโครงสร้าง สายงาน และกำหนดบุคคลากรสายงานชัดเจน เพื่อ ให้การทำงานเกิดประโยชน์ สูงสุด บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้ และดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติงานส่วนต่างๆ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการ ปฏิบัติ และพัฒนางานต่อ ไป
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อเป็นการแก้ไขและพัฒนางานในด้านบริหารงานกิจการนักเรียน

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. ผู้บริหาร คณะครู นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษาอื่น จำนวน 2,000 คน ทำแบบประเมินในกิจกรรมต่างๆ
  วิธีการประเมิน
    ประเมินกิจกรรมต่างๆ
  เครื่องมือ
    แบบประเมิน
  เชิงคุณภาพ
    1. การทำงานมีประสิทธิภาพดีเยี่ยม
  วิธีการประเมิน
    ประเมินกิจกรรมต่างๆ
  เครื่องมือ
    แบบประเมิน

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 8/10/2566          ถึงวันที่ : 7/10/2567

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    งานประเมินผลการปฏิบัติงานด้านบริหารงานกิจการนักเรียน
  ขั้นเตรียมการ 1. ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
1.1 ประชุม/จัดทำแบบประเมินให้กับคณะผู้บริหาร คณะครู และนักเรียน
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
2.1 จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
  ขั้นดำเนินการ 3.ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
3.1 แจกแบบประเมินกิจกรรมต่างๆ ของงานกิจการนักเรียน
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
4.1 ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม
  ขั้นสรุป 5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
5.1 ทำแบบประเมินความพึงพอใจ
5.2 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
6.1 บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินโครงการ
6.2 สรุปรูปเล่มรายงานโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกววิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 8/10/2566     ถึงวันที่ 30/9/2567
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวภัททิรา เงาะลำดวน

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผู้บริหาร คณะครู นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษาอื่นๆ
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
การทำงานของกลุ่มงานกิจการนักเรียนมีประสิทธิภาพมากขึ้น
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
ความเสถียรของระบบ Internet
การให้ความร่วมมือของผู้เข้าร่วมกิจกรรมในการตอบแบบสอบถาม

 

 

รหัสโครงการ 5-04-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2567
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน กลุ่มกิจการนักเรียน
กลุ่มสาระ/งาน งานส่งเสริมวินัยจราจร
ชื่อโครงการ อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับวินัยจราจร และ การขับขี่อย่างปลอดภัย
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ -
จุดเน้น กระทรวงฯ -
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 2. ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 1. มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 4. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
ข้อที่ 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความปลอดภัยจากภัยทุกรูปแบบ
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายอนุรักษ์ ปลื้มจิตต์

1. หลักการและเหตุผล

           จากสภาพการใช้รถใช้ถนนในปัจจุบัน มักมีปัญหาเกิดขึ้นหลายประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุบัติเหตุจากการใช้ใช้ถนน ซึ่งในแต่ละปี มี สถิติการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุมาเป็นอันดับหนึ่ง และเป็นการเสียชีวิตจำนวนมากสาเหตุสำคัญเกิดจากผู้ใช้ถนนส่วนใหญ่ ขาดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายจราจร ระเบียบข้อบังคับต่างๆ ขาดจิตสำนึกรับผิดชอบ ขาดมารยาทและวินัยในการขับขี่ ซึ่งการใช้มาตรการ ทางกฎหมายเพียงอย่างเดียว ไม่สามารถลดอัตราความสูญเสียที่เกิดขึ้นได้ จึงจำเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องทำการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ทุก รูป แบบ รวมทั้งการอบรม ให้ความรู้และปลูกฝังวินัยการจราจรแก่ เยาวชน นักเรียน อย่างจริงจังและต่อเนื่อง
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ กฎหมายจราจร การปฏิบัติตามกฎหมายจราจร
2. เพื่อให้นักเรียนสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติให้เกิดความปลอดภัยในการเดินทางและขยายผลไปยังบุคคลอื่นและกลุ่มเพื่อนนักเรียนด้วยกัน

3. เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความสำเร็จ

  เชิงปริมาณ
    1. .นักศึกษาวิชาทหารโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ปีที่ 1 ถึงปีที่ 2 จำนวน 100 คน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ กฎหมายจราจร การปฏิบัติตามกฎหมายจราจร
2.นักศึกษาวิชาทหารโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ปีที่ 1 ถึงปีที่ 2 จำนวน 100 คน นำความรู้ไปปฏิบัติให้เกิดความปลอดภัย สามารถปฏิบัติงานด้านการจราจรได้อย่างคล่องแคล่วถูกต้อง
  วิธีการประเมิน
    ประเมินความพึงพอใจ
  เครื่องมือ
    แบบประเมินความพึงพอใจ
  เชิงคุณภาพ
    1. นักศึกษาวิชาทหารโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ปีที่ 1 ถึงปีที่ 2 ร้อยละ 95 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ กฎหมายจราจร การปฏิบัติตามกฎหมายจราจรนำความรู้ไปปฏิบัติให้เกิดความปลอดภัย สามารถปฏิบัติงานด้านการจราจรได้อย่างคล่องแคล่วถูกต้อง
  วิธีการประเมิน
    ทดสอบความรู้
  เครื่องมือ
    แบบทดสอบ ก่อน - หลัง อบรม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 9/10/2566          ถึงวันที่ : 8/10/2567

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับวินัยจราจร และ การขับขี่อย่างปลอดภัย
  ขั้นเตรียมการ เขียนโครงการเสนอผู้บริหาร
  ขั้นดำเนินการ 1.ประชุมคณะทำงานวางแผนโครงการ
2.ประสานงานหน่วยงานที่เกียวข้อง
3.ดำเนินโครงการตามแผน
3.กำหนด วัน เวลา และ เนื้อหาความรู้ในการจัดอบรม
4.จัดอบรม ภาคทฤษฎี และ ภาคปฏิบัติ
  ขั้นสรุป 1.ติดตามประเมินผล
2.สรุปและรายงานโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 12000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 9/10/2566     ถึงวันที่ 30/9/2567
  ผู้รับผิดชอบ นายอนุรักษ์ ปลื้มจิตต์

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 12,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 12,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม สถานีตำรวจภูธรอำเภอท่ามะกา สัสดีอำเภอท่ามะกา
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการใช้รถใช้ถนนอย่างถูกต้อง
2. นักเรียนมีจิตสำนึกรับผิดชอบ ตระหนักถึงอุบัติภัยบนท้องถนน และมารยาทที่ดี ในการขับขี่ ยวดยาน พาหนะต่างๆ
3. นักเรียนที่เข้ารับอบรมทุกคนสามารถที่จะฝึกปฏิบัติงานด้านการจราจรใด้
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
โครงการไม่มีความเสี่ยง