ชื่อโครงการ/ วัตถุประสงค์ |
สนอง มฐ.รร. ข้อที่ |
เป้าหมาย | ตัวชี้วัด/เกณฑ์การประเมิน โครงการ |
ค่าใช้จ่าย (บาท) |
ขั้นตอนการดำเนินงาน ของแต่ละกิจกรรม |
ระยะเวลา ดำเนินการ |
ผู้รับผิดชอบ |
ป้ายประชาสัมพันธ์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารและกิจกรรมของโรงเรียนผ่านทางเว็บไซต์โรงเรียน วารสาร แผ่น พับและป้ายประชาสัมพันธ์โรงเรียนในโอกาสต่าง ๆ 2. <เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างโรงเรียน ชุมชนและหน่วยงานต่างๆ |
1, |
เชิงปริมาณ 1. โรงเรียนสามารถประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารและกิจกรรมผ่านทางเว็บไซต์โรงเรียน วารสารแผ่นพับและป้ายประชาสัมพันธ์โรงเรียนในโอกาสต่าง ๆ 2. โรงเรียนสามารถเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างโรงเรียน ชุมชนและหน่วยงานต่างๆ เชิงคุณภาพ 1. โรงเรียนประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารและกิจกรรมโรงเรียนที่ทันสมัย ทัน ต่อเหตุการณ์และเป็นปัจจุบัน ตลอดจนมีสื่อประชาสัมพันธ์ที่หลากหลายสามารถเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างโรงเรียน ชุมชนและหน่วยงานต่างๆ |
วิธีการ ประเมินความพึงพอใจ แบบประเมินโครงการ เครื่องมือ ประเมินความพึงพอใจ แบบประเมินโครงการ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมจัดทำ ป้ายประชาสัมพันธ์โรงเรียน ขั้นเตรียม การวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1) 1. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ 2. ขออนุมัติโครงการ 3. ประชุมคณะกรรมการวางแผนการปฏิบัติงาน การกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2) จัดทำคำสั่งการดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ การปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1) 1. จัดทำบันทึกขออนุญาตจัดกิจกรรม 2. จัดกิจกรรมวันสำคัญต่าง ๆ ตามปฏิทินประจำปี การประสานงาน (M2) ประสานงานกับทุกกลุ่มบริหารงานต่าง ๆ ขั้นสรุป การประเมินผล (V1) 1. จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจ 2. สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน การกำกับติดตาม (V2) |
1/10/2566 ถึง
|
นายอุดมศักดิ์ นาคะพันธ์
|
ธนาคารขยะรีไซเคิล วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรเข้าใจปัญหา และผลกระทบที่เกิดขึ้นจากขยะมูลฝอยที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัยของทุกคนในโรงเรียน 2. เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรมีความรู้ความเข้าใจประเภทของขยะและสามารถบอกวิธีการจัดการกับขยะได้อย่างถูกต้อง 3. เพื่อให้โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมสามารถลดและคัดแยกขยะมูลฝอยได้อย่างเป็นระบบ |
1,2, |
เชิงปริมาณ 1. เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรเข้าใจปัญหา และผลกระทบที่เกิดขึ้นจากขยะมูลฝอยที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัยของทุกคนในโรงเรียนร้อยละ 100 2. เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรมีความรู้ความเข้าใจประเภทของขยะและสามารถบอกวิธีการจัดการกับขยะได้อย่างถูกต้องร้อยละ 100 3. เพื่อให้โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมสามารถลดและคัดแยกขยะมูลฝอยได้อย่างเป็นระบบร้อยละ 100 เชิงคุณภาพ 1. โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมสามารถลดและคัดแยกขยะมูลฝอยได้อย่างเป็นระบบ 2. สิ่งแวดล้อมและภูมิทัศน์ดีขึ้น เนื่องจากขยะน้อยลง สิ่งแวดล้อมและภูมิทัศน์ก็จะต้องดีขึ้น สะอาดขึ้น ปลอดภัยต่อสุขภาพมากขึ้น เป็นผลประโยชน์ต่อทุกคนในโรงเรียน |
วิธีการ การสำรวจ เครื่องมือ การสำรวจ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : การคัดแยกขยะรีไซเคิล และกิจกรรมธนาคารขยะรีไซเคิล ขั้นเตรียม ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1) - ประชุมชี้แจงและวางแผนการทำงาน - จัดทำกิจกรรมเพื่อขออนุมัติจากผู้บริหารโรงเรียน ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2) - จัดทำคำสั่งการดำเนินกิจกรรม ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1) - จัดทำบันทึกขออนุญาตจัดกิจกรรม - จัดทำกำหนดการประชุม ขั้นตอนการประสานงาน (M2) - รายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม - ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล (V1) - สำรวจความคิดเห็นและความพึงพอใจ - สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2) - บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม - ข้อเสนอแนะจากผู้บริหาร / ผู้เข้าร่วมกิจกรรม |
6/10/2566 ถึง
|
นางสาวน้ำฝน ใจผ่อง คณะครูกลุ่มวิทยาศาสตร์
|
เพิ่มศักยภาพความปลอดภัยของสถานศึกษา ( สร้างรั้วโรงเรียน) วัตถุประสงค์ 1. สร้างรั้วทึบโดยรอบเขตพื้นที่โรงเรียนบริเวณแนวคันคลอง 2. สร้างความปลอดภัยในสถานศึกษา 3. ป้องกันเหตุต่างๆ |
3,4,5, |
เชิงปริมาณ 1. ข้าราชการครูและบุคลากร นักเรียน ร้อยละ 100 มีความปลอดภัยเมื่ออยู่ในสถานศึกษา อยู่ในระดีบดีมาก เชิงคุณภาพ 1. ข้าราชการครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน ร้อยละ 100 มีความมั่นใจในความปลอดภัยเมื่ออยู่ในสถานศึกษา ในระดับดีมาก |
วิธีการ แบบประเมินการดำเนินงานโครงการ เครื่องมือ แบบประเมินการดำเนินงานโครงการ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : สร้างรั้วทึบบริเวณแนวคันคลองในโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ขั้นเตรียม 1.สำรวจความต้องการ (T1) 2.ประชุมคณะกรรมการ 3.เขียนโครงการ 4.จัดทำคำสั่งการดำเนินงาน (T2) ขั้นดำเนินการ 1.สร้างรั้วทึบบริเวณแนวคันคลองในโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม (M1) 2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม (M2) ขั้นสรุป 1.ประเมินผล(V1) 2.รายงานผล(V2) |
6/10/2566 ถึง
|
นายอุดมศักดิ์ นาคะพันธ์ฺ
|
รักษ์โรงเรียนรักสิ่งแวดล้อม วัตถุประสงค์ 1.เพื่อปรับปรุง พัฒนา ระบบไฟฟ้า ปะปา เครื่องปรับอากาศ อาคารสถานที่ให้มีความปลอดภัย และพร้อมใช้งาน 2.ลดปริมาณพื้นที่ที่เป็นจุดอับ จุดบกพร่องและจุดเสื่อมโทรมให้เกิดความสะอาด ร่มรื่น สวยงาม น่าอยู่ปลอดภัย เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ดี เกิดมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ 3. เพิ่มและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 4. พัฒนาทักษะกระบวนการคิดและทักษะการทำงานเป็นทีมให้กับนักเรียนครูและบุคลากร 5. นักเรียน ครู บุคลากรและชุมชนเกิดความพึงพอใจในการใช้บริการ |
3,5, |
เชิงปริมาณ 1.ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในโรงเรียนร้อยละ 95 มีความพึงพอใจอาคารสถานที่ และสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน 2. ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคารเรียนร้อยละ 95 มีความสะอาด มั่นคง และปลอดภัย มีสิ่งอำนวยความสะดวก พอเพียง อยู่ในสภาพใช้การได้ดี สภาพแวดล้อมร่มรื่นและมีแหล่งเรียนรู้สำหรับผู้เรียน เชิงคุณภาพ 1.สถานศึกษาจัดบรรยากาศให้เหมาะแก่การจัดการศึกษาให้แก่นักเรียน จัดสถานที่ อาคารเรียน อาคารประกอบ และแหล่งเรียนรู้อื่นในสถานศึกษาได้เหมาะสมเป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงาม น่าอยู่ ปลอดภัยและเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ดี ทำให้เกิดความพึงพอใจแก่นักเรียน ครู ผู้ปกครอง และชุมชนที่มาใช้บริการโรงเรียน 2. ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคารเรียนมั่นคง สะอาดและปลอดภัย มีสิ่งอำนวยความสะดวก พอเพียง อยู่ในสภาพใช้การได้ดี สภาพแวดล้อมร่มรื่นและมีแหล่งเรียนรู้สำหรับผู้เรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95อยู่ในระดับดีเยี่ยม 3. ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่าย มีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 อยู่ในระดับดีเยี่ยม |
วิธีการ 1. สอบถามบุคลากรที่เกี่ยวข้อง 2. พิจารณาจากหลักฐานที่ปรากฏ / สภาพจริง เครื่องมือ 1. สอบถามบุคลากรที่เกี่ยวข้อง 2. พิจารณาจากหลักฐานที่ปรากฏ / สภาพจริง |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมปรับปรุงพัฒนา ดูแลรักษาระบบน้ำอุปโภคและบริโภค ขั้นเตรียม 1.สำรวจความต้องการ (T1) 2.ประชุมคณะกรรมการ 3.เขียนโครงการ 4.จัดทำคำสั่งการดำเนินงาน (T2) ขั้นดำเนินการ 1.ซ่อมบำรุงรักษาน้ำดื่มน้ำใช้ (M1) 2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม (M2) ขั้นสรุป 1.ประเมินผล(V1) 2.รายงานผล(V2) กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมปรับปรุงพัฒนาประสิทธิภาพการใช้งานระบบไฟฟ้า ขั้นเตรียม 1.สำรวจความต้องการ (T1) 2.ประชุมคณะกรรมการ 3.เขียนโครงการ 4.จัดทำคำสั่งการดำเนินงาน (T2) ขั้นดำเนินการ 1.ซ่อมบำรุงรักษาอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในโรงเรียน(M1) 2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม (M2) ขั้นสรุป 1.ประเมินผล(V1) 2.รายงานผล(V2) กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมปรับปรุงพัฒนาประสิทธิภาพในการใช้งานอาคารเรียนอาคารประกอบ ขั้นเตรียม 1.สำรวจความต้องการ (T1) 2.ประชุมคณะกรรมการ 3.เขียนโครงการ 4.จัดทำคำสั่งการดำเนินงาน (T2) ขั้นดำเนินการ 1.ซ่อมบำรุงรักษาอาคารเรียนอาคารประกอบ(M1) 2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม (M2) ขั้นสรุป 1.ประเมินผล(V1) 2.รายงานผล(V2) กิจกรรมที่ 4 : กิจกรรมปรับปรุงพัฒนา เพิ่มประสิทธิภาพในการดูแลรักษาความปลอดภัยในสถานศึกษา ขั้นเตรียม 1.สำรวจความต้องการ (T1) 2.ประชุมคณะกรรมการ 3.เขียนโครงการ 4.จัดทำคำสั่งการดำเนินงาน (T2) ขั้นดำเนินการ 1.ดำเนินการจัดซื้อ/จ้างเหมาในการดำเนินการ (M1) 2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม (M2) ขั้นสรุป 1.ประเมินผล(V1) 2.รายงานผล(V2) กิจกรรมที่ 5 : กิจกรรมซ่อมบำรุงรักษาเครื่องปรับอากาศ ขั้นเตรียม 1.สำรวจความต้องการ (T1) 2.ประชุมคณะกรรมการ 3.เขียนโครงการ 4.จัดทำคำสั่งการดำเนินงาน (T2) ขั้นดำเนินการ 1.ดำเนินการซ่อมบำรุงรักษาเครื่องปรับอากาศ(M1) 2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม (M2) ขั้นสรุป 1.ประเมินผล(V1) 2.รายงานผล(V2) กิจกรรมที่ 6 : กิจกรรมดูแลรักษาความสะอาด และสภาพแวดล้อมในสถานศึกษา ขั้นเตรียม 1.สำรวจความต้องการ (T1) 2.ประชุมคณะกรรมการ 3.เขียนโครงการ 4.จัดทำคำสั่งการดำเนินงาน (T2) ขั้นดำเนินการ 1.จัดซื้ออุปกรณ์ทำความสะอาดพัฒนาเขตรับผิดชอบ(M1) 2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม (M2) ขั้นสรุป 1.ประเมินผล(V1) 2.รายงานผล(V2) กิจกรรมที่ 7 : ปรับปรุง พัฒนา แหล่งเรียนรู้เพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพผู้เรียน ขั้นเตรียม 1.สำรวจความต้องการ (T1) 2.ประชุมคณะกรรมการ 3.เขียนโครงการ 4.จัดทำคำสั่งการดำเนินงาน (T2) ขั้นดำเนินการ 1.ดำเนินการปรับภูมิทัศน์จัดสวนหย่อมในโรงเรียนให้มีความสวยงาม (M1) 2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม (M2) ขั้นสรุป 1.ประเมินผล(V1) 2.รายงานผล(V2) กิจกรรมที่ 8 : กิจกรรมบำรุงรักษาห้องน้ำห้องส้วม ขั้นเตรียม 1.สำรวจความต้องการ (T1) 2.ประชุมคณะกรรมการ 3.เขียนโครงการ 4.จัดทำคำสั่งการดำเนินงาน (T2) ขั้นดำเนินการ 1.จัดซื้ออุปกรณ์ทำความสะอาด (M1) 2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม (M2) ขั้นสรุป 1.ประเมินผล(V1) 2.รายงานผล(V2) กิจกรรมที่ 9 : กิจกรรมซ่อมบำรุงโต๊ะเก้าอีัครู-นักเรียน ขั้นเตรียม 1.สำรวจความต้องการ (T1) 2.ประชุมคณะกรรมการ 3.เขียนโครงการ 4.จัดทำคำสั่งการดำเนินงาน (T2) ขั้นดำเนินการ 1.ซ่อมบำรุงโต๊ะเก้าอี้ครู-นักเรียน(M1) 2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม (M2) ขั้นสรุป 1.ประเมินผล(V1) 2.รายงานผล(V2) |
1/10/2566 ถึง
1/10/2566 ถึง
1/10/2566 ถึง
1/10/2566 ถึง
1/10/2566 ถึง
1/10/2566 ถึง
1/10/2566 ถึง
1/10/2566 ถึง
1/10/2566 ถึง
|
นายจีระศักดิ์ กลมวง
|
ส่งเสริมประสิทธิภาพการบริหารจัดการฝ่ายบริหารทั่วไป วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้มีวัสดุอุปกรณ์ในการทำงาน 2.เพื่อให้มีระบบงานสารสนเทศ และการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.เพื่อให้โรงเรียนปฏิบัติงานด้านระบบงบประมาณ ได้สอดคล้องกับนโยบาย 4.เพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน |
2,3, |
เชิงปริมาณ 1. จัดซื้อวัสดุสำนักงาน ร้อยละ 90 ได้ตามวัตถุประสงค์ เชิงคุณภาพ 1.จัดซื้อวัสดุสำนักงาน ร้อยละ 90 ได้ตามวัตถุประสงค์ |
วิธีการ -ประเมินผลการดำเนินงานโครงการ เครื่องมือ -ประเมินผลการดำเนินงานโครงการ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : ส่งเสริมประสิทธิภาพการบริหารจัดการฝ่ายบริหารทั่วไป ขั้นเตรียม 1.สำรวจความต้องการ / ขออนุมัติโครงการ(T1) 2.ศึกษารายละเอียดและรวบรวมข้อมูล(T1) ขั้นดำเนินการ 1.แต่งตั้งคณะกรรมการ(T2) 2.จัดประชุมให้ความรู้ข้าราชการครู / นักเรียน(M1) 3.ดำเนินการตามแผนที่กำหนด / กิจกรรม(M1) ขั้นสรุป 1.ประเมินผล(V1) 2.สรุปผล และรายงานผล(V1),(V2) |
1/10/2566 ถึง
|
นายอุดมศักดิ์ นาคะพันธ์
|
ยานพาหนะ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้มีการดำเนินการจัดหาเชื้อเพลิงและซ่อมบำรุงพาหนะโรงเรียนที่ชำรุดเสียหาย 2. เพื่อบริหารจัดการงานยานพาหนะได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนพึงพอใจผลการบริหารการจัดการศึกษา |
1,2,3,5, |
เชิงปริมาณ 1. การดำเนินการจัดหาเชื้อเพลิงและซ่อมบำรุงยานพาหนะโรงเรียน ร้อยละ 95 สามารถใช้งานได้ดี 2. ผู้บริหารมีการบริหารจัดการยานพาหนะ ร้อยละ 95 มีประสิทธิภาพ 3. นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ร้อยละ 95 พึงพอใจผลการบริหารการจัดการศึกษา เชิงคุณภาพ 1. โรงเรียนมีเชื้อเพลิงและยานพาหนะที่สามารถใช้งานได้อยู่ในร้อยละ 95 ระดับดีเยี่ยม |
วิธีการ 1. สังเกตจากประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน 2. การประเมินผลโครงการ เครื่องมือ 1. สังเกตจากประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน 2. การประเมินผลโครงการ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : การซ่อมบำรุงยานพาหนะ ขั้นเตรียม 1.ซ่อมบำรุงดูแลรักษารถยนต์(T1) 2.สำรวจสภาพทั่วไปของรถยนต์ที่ใช้งาน 3.จัดทำคำสั่งการดำเนินกิจกรรม (T2) ขั้นดำเนินการ 1.ซ่อมบำรุงดูแลรักษารถยนต์(M1) 1.1กำหนดภาระงานให้พนักงานขับรถ 1.2ตรวจเช็คสภาพรถก่อนบริการและหลังบริการให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานอย่างปลอดภัย 2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม (M2) ขั้นสรุป 1.ซ่อมบำรุงดูแลรักษารถยนต์(V1),(V2) 2.นำข้อเสนอแนะมาแก้ไขปรับปรุงในการปฎิบัติงานในคร้งต่อไป กิจกรรมที่ 2 : ส่งเสริมอำนวยความสะดวกในการเดินทางราชการ (ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง) ขั้นเตรียม 1.จัดซื้อน้ำมันเชื้อเพลิง(T1) 1.1สถิติการซื้อน้ำมันเชื้อเพลิงย้อนหลัง 1 ปี 1.2ประมาณการจัดซื้อน้ำมันปี 2567 2.จัดทำคำสั่งการดำเนินกิจกรรม (T2) ขั้นดำเนินการ 1.จัดซื้อน้ำมันเชื้อเพลิ(M1) 1.1ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างตามระเบีนบพัสดุเป็นประจำ 2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม (M2) ขั้นสรุป 1.จัดซื้อน้ำมันเชื้อเพลิง(V1),(V2) 2.นำข้อเสนอแนะจากการบันทึกมาแก้ไขปรับปรุงในการปฎิบัติงานในครั้งต่อไป |
1/10/2566 ถึง
1/10/2566 ถึง
|
นายอุดมศักดิ์ นคะพันธ์
|
งานสาธารณูปโภค วัตถุประสงค์ 1.เพื่อใช้จ่ายค่าไฟฟ้า ค่าน้ำประปา ค่าโทรศัพท์ ไปรษณีย์ และค่าบริการกำจัดขยะของโรงเรียน 2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เกิดประสิทธิภาพแก่ผู้เรียนยิ่งขึ้น 3. เพื่อให้การบริหารจัดการด้านสาธารณูปโภคภายในโรงเรียนเป็นไปด้วยความถูกต้องตามระเบียบการของทางราชการ |
1,3,5, |
เชิงปริมาณ 1.จ่ายค่าไฟฟ้าของโรงเรียนได้ร้อยละ 1001.จ่ายค่าไฟฟ้าของโรงเรียนได้ร้อยละ 100 2.จ่ายค่าโทรศัพท์ของโรงเรียนได้ร้อยละ 100 3.จ่ายค่าน้ำประปาของโรงเรียนได้ร้อยละ 100 4.จ่ายค่าเก็บขยะของโรงเรียนได้ร้อยละ 100 5.จ่ายค่าไปรษณีย์ของโรงเรียนได้ร้อยละ 100 6. นักเรียน ครูและบุคลากรทุกคนในโรงเรียนได้รับการสนับสนุนให้มีสาธารณูปโภคอย่างเพียงพอและเหมาะสมร้อยละ 100 เชิงคุณภาพ 1. 1. การใช้จ่ายงบประมาณของโรงเรียนมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดอยู่ในระดับดีมาก |
วิธีการ -ประเมินผลความพึ่งพอใน -ปะเมินผล เครื่องมือ -ประเมินผลความพึ่งพอใน -ปะเมินผล |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : ค่าไฟฟ้า ขั้นเตรียม T1 (Team management to framework) การวางแผนการทำงานเป็นทีม มีการประสานกับงานการเงินเพื่อขอข้อมูล และรวบรวมข้อมูลค่าไฟฟ้าของโรงเรียนในระยะ 3 ปีงบประมาณย้อนหลัง T2 (Tabulation to organization) การกำหนดหน้าที่ภาระงาน โดยประสานกับกลุ่มบริหารงบงานประมาณ และกลุ่มบรริหารงานทั่วไป มอบหมายคณะกรรมการดำเนินงานจัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ ขั้นดำเนินการ M1 (Management to command) การปฏิบัติตามภาระหน้าที่ คือ จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินงานตามคำสั่งแบ่งหน้าที่ปฏิบัติภาระงานที่มอบหมายแต่ละฝ่ายเพื่อพิจารณาจัดสรรหาค่าสาธารณูปโภคที่จำเป็นต่อการบริหารจัดการพัฒนาการศึกษาภายในโรงเรียน M2 (Making a correlation) การประสานงาน กลุ่มบริหารงานทั่วไป และกลุ่มบริหารงานงบปีระมาณเพื่อสำรวจค่าใช้จ่ายค่าไฟฟ้าของโรงเรียน เพื่อประมาณการค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภคที่จะใช้ในปีงบประมาณ 2565 และดำเนินการจ่ายค่าสาธารณูปโภคตามใบแจ้งหนี้ของแต่ละเดือน ขั้นสรุป V1 (Validity to valuation) การประเมินผล มีการประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ จัดทำเเสนอต่อคณะผู้บริหาร และนำเสนอรายงานสรุปโครงการต่อคณะผู้บริหารรับทราบ V2 (Variation from supervising) การกำกับติดตาม โดยร่วมกับคณะผู้บริหาร ผู้รับผิดชอบที่เกี่ยวข้องกำกับดูแลพร้อมทั้งแก้ปัญหาเพื่อให้เป็นไปตามแผนงานที่กำหนดจนสิ้นสุดโครงกา กิจกรรมที่ 2 : ค่าน้ำปะปา ขั้นเตรียม T1 (Team management to framework) การวางแผนการทำงานเป็นทีม มีการประสานกับงานการเงินเพื่อขอข้อมูล และรวบรวมข้อมูลค่าน้ำประปาของโรงเรียนในระยะ 3 ปีงบประมาณย้อนหลัง T2 (Tabulation to organization) การกำหนดหน้าที่ภาระงาน โดยประสานกับกลุ่มบริหารงบงานประมาณ และกลุ่มบรริหารงานทั่วไป มอบหมายคณะกรรมการดำเนินงานจัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ ขั้นดำเนินการ M1 (Management to command) การปฏิบัติตามภาระหน้าที่ คือ จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินงานตามคำสั่งแบ่งหน้าที่ปฏิบัติภาระงานที่มอบหมายแต่ละฝ่ายเพื่อพิจารณาจัดสรรหาค่าสาธารณูปโภคที่จำเป็นต่อการบริหารจัดการพัฒนาการศึกษาภายในโรงเรียน M2 (Making a correlation) การประสานงาน กลุ่มบริหารงานทั่วไป และกลุ่มบริหารงานงบปีระมาณเพื่อสำรวจค่าใช้จ่ายค่าน้ำประปาของโรงเรียน เพื่อประมาณการค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภคที่จะใช้ในปีงบประมาณ 2565 และดำเนินการจ่ายค่าสาธารณูปโภคตามใบแจ้งหนี้ของแต่ละเดือน ขั้นสรุป V1 (Validity to valuation) การประเมินผล มีการประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ จัดทำเเสนอต่อคณะผู้บริหาร และนำเสนอรายงานสรุปโครงการต่อคณะผู้บริหารรับทราบ V2 (Variation from supervising) การกำกับติดตาม โดยร่วมกับคณะผู้บริหาร ผู้รับผิดชอบที่เกี่ยวข้องกำกับดูแลพร้อมทั้งแก้ปัญหาเพื่อให้เป็นไปตามแผนงานที่กำหนดจนสิ้นสุดโครงการ กิจกรรมที่ 3 : ค่าบริการกำจัดขยะ ขั้นเตรียม T1 (Team management to framework) การวางแผนการทำงานเป็นทีม มีการประสานกับงานการเงินเพื่อขอข้อมูล และรวบรวมข้อมูลค่ากำจัดขยะของโรงเรียนในระยะ 3 ปีงบประมาณย้อนหลัง T2 (Tabulation to organization) การกำหนดหน้าที่ภาระงาน โดยประสานกับกลุ่มบริหารงบงานประมาณ และกลุ่มบรริหารงานทั่วไป มอบหมายคณะกรรมการดำเนินงานจัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ ขั้นดำเนินการ M1 (Management to command) การปฏิบัติตามภาระหน้าที่ คือ จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินงานตามคำสั่งแบ่งหน้าที่ปฏิบัติภาระงานที่มอบหมายแต่ละฝ่ายเพื่อพิจารณาจัดสรรหาค่าสาธารณูปโภคที่จำเป็นต่อการบริหารจัดการพัฒนาการศึกษาภายในโรงเรียน M2 (Making a correlation) การประสานงาน กลุ่มบริหารงานทั่วไป และกลุ่มบริหารงานงบปีระมาณเพื่อสำรวจค่าใช้จ่ายค่ากำจัดขยะของโรงเรียน เพื่อประมาณการค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภคที่จะใช้ในปีงบประมาณ 2565 และดำเนินการจ่ายค่าสาธารณูปโภคตามใบแจ้งหนี้ของแต่ละเดือน ขั้นสรุป V1 (Validity to valuation) การประเมินผล มีการประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ จัดทำเเสนอต่อคณะผู้บริหาร และนำเสนอรายงานสรุปโครงการต่อคณะผู้บริหารรับทราบ V2 (Variation from supervising) การกำกับติดตาม โดยร่วมกับคณะผู้บริหาร ผู้รับผิดชอบที่เกี่ยวข้องกำกับดูแลพร้อมทั้งแก้ปัญหาเพื่อให้เป็นไปตามแผนงานที่กำหนดจนสิ้นสุดโครงการ กิจกรรมที่ 4 : ค่าโทรศัพท์ ขั้นเตรียม T1 (Team management to framework) การวางแผนการทำงานเป็นทีม มีการประสานกับงานการเงินเพื่อขอข้อมูล และรวบรวมข้อมูลค่าโทรศัพท์ของโรงเรียนในระยะ 3 ปีงบประมาณย้อนหลัง T2 (Tabulation to organization) การกำหนดหน้าที่ภาระงาน โดยประสานกับกลุ่มบริหารงบงานประมาณ และกลุ่มบรริหารงานทั่วไป มอบหมายคณะกรรมการดำเนินงานจัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ ขั้นดำเนินการ M1 (Management to command) การปฏิบัติตามภาระหน้าที่ คือ จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินงานตามคำสั่งแบ่งหน้าที่ปฏิบัติภาระงานที่มอบหมายแต่ละฝ่ายเพื่อพิจารณาจัดสรรหาค่าสาธารณูปโภคที่จำเป็นต่อการบริหารจัดการพัฒนาการศึกษาภายในโรงเรียน M2 (Making a correlation) การประสานงาน กลุ่มบริหารงานทั่วไป และกลุ่มบริหารงานงบปีระมาณเพื่อสำรวจค่าใช้จ่าค่าโทรศัพท์ของโรงเรียน เพื่อประมาณการค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภคที่จะใช้ในปีงบประมาณ 2565 และดำเนินการจ่ายค่าสาธารณูปโภคตามใบแจ้งหนี้ของแต่ละเดือน ขั้นสรุป V1 (Validity to valuation) การประเมินผล มีการประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ จัดทำเเสนอต่อคณะผู้บริหาร และนำเสนอรายงานสรุปโครงการต่อคณะผู้บริหารรับทราบ V2 (Variation from supervising) การกำกับติดตาม โดยร่วมกับคณะผู้บริหาร ผู้รับผิดชอบที่เกี่ยวข้องกำกับดูแลพร้อมทั้งแก้ปัญหาเพื่อให้เป็นไปตามแผนงานที่กำหนดจนสิ้นสุดโครงการ กิจกรรมที่ 5 : ค่าไปรษณีย์ ขั้นเตรียม T1 (Team management to framework) การวางแผนการทำงานเป็นทีม มีการประสานกับงานการเงินเพื่อขอข้อมูล และรวบรวมข้อมูลค่าไปรษณีย์ของโรงเรียนในระยะ 3 ปีงบประมาณย้อนหลัง T2 (Tabulation to organization) การกำหนดหน้าที่ภาระงาน โดยประสานกับกลุ่มบริหารงบงานประมาณ และกลุ่มบรริหารงานทั่วไป มอบหมายคณะกรรมการดำเนินงานจัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ ขั้นดำเนินการ M1 (Management to command) การปฏิบัติตามภาระหน้าที่ คือ จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินงานตามคำสั่งแบ่งหน้าที่ปฏิบัติภาระงานที่มอบหมายแต่ละฝ่ายเพื่อพิจารณาจัดสรรหาค่าสาธารณูปโภคที่จำเป็นต่อการบริหารจัดการพัฒนาการศึกษาภายในโรงเรียน M2 (Making a correlation) การประสานงาน กลุ่มบริหารงานทั่วไป และกลุ่มบริหารงานงบปีระมาณเพื่อสำรวจค่าใช้จ่ายค่าไปรษณีย์ของโรงเรียน เพื่อประมาณการค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภคที่จะใช้ในปีงบประมาณ 2565 และดำเนินการจ่ายค่าสาธารณูปโภคตามใบแจ้งหนี้ของแต่ละเดือน ขั้นสรุป 1 (Validity to valuation) การประเมินผล มีการประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ จัดทำเเสนอต่อคณะผู้บริหาร และนำเสนอรายงานสรุปโครงการต่อคณะผู้บริหารรับทราบ V2 (Variation from supervising) การกำกับติดตาม โดยร่วมกับคณะผู้บริหาร ผู้รับผิดชอบที่เกี่ยวข้องกำกับดูแลพร้อมทั้งแก้ปัญหาเพื่อให้เป็นไปตามแผนงานที่กำหนดจนสิ้นสุดโครงการ |
1/10/2566 ถึง
1/10/2566 ถึง
1/10/2566 ถึง
1/10/2566 ถึง
1/10/2566 ถึง
|
นายอุดมศักดิ์ นาคะพันธ์
|
ปรับปรุงพัฒนาบำรุงรักษาโสตทัศนูปกรณ์ และเทคโนโลยีสำหรับโสตทัศนูปกรณ์ วัตถุประสงค์ 1.จัดทำสื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับท้องถิ่นอำเภอท่ามะกา 2.จัดทำสื่อเผยแพร่คุณงามความดีชื่อเสียงเกียรติยศของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม 3.เป็นสื่อ และแหล่งเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ในการประยุกต์ใช้แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในท้องถิ่น 4.จัดทำสื่อให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรในโรงเรียน ชุมชน ประชาชนทั่วไป 5.บริการอำนวยความสะดวกในการบริการด้านภาพถ่าย วิดีทัศน์ ภาพถ่ายคำสั่งโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ในระบบที่สามารถเข้าถึงได้ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ทุกที่ทุกเวลา รวมถึงฝึกความมีจิตอาสารและจิตสาธารณะ |
3,5,6, |
เชิงปริมาณ 1.ให้บริการห้องประชุมร้อยละ 95 2.ร่วมกิจกรรมบันทึกภาพและวิดีทัศน์กิจกรรมงานโรงเรียนร้อยละ 95 3.ร่วมช่วยเหลืองานบุคลากรภายในโรงเรียนร้อยละ 80 เชิงคุณภาพ 1. นักเรียนและผู้ใช้จัดกิจกรรมภายในมีอุปกรณ์งานโสตทัศนูปกรณ์ใช้ในการทำกิจกรรม และระบบเสียงที่สมบูรณ์ |
วิธีการ 1.สอบถามความพึ่งพอใจครู บุคคลากรทางการศึกษา และนักเรียน 2.สรุปโครงการ 3.รายงานผลโครงการให้ผู้อำนวยการทราบ เครื่องมือ 1.สอบถามความพึ่งพอใจครู บุคคลากรทางการศึกษา และนักเรียน 2.สรุปโครงการ 3.รายงานผลโครงการให้ผู้อำนวยการทราบ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : ปรับปรุงพัฒนาสื่อการเรียนรู้ในห้องเรียน ขั้นเตรียม ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) - ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน - เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) - เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน ขั้นดำเนินการ 1.จัดทำการผลิตสื่อ/เผยแพร่สื่อ/จัดการสื่อ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (M1) 2.ประสนงานในการจัดทำการผลิตสื่อ/เผยแพร่สื่อ/จัดการสื่อ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (M2) ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) - สรุปผลการดำเนินการ ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) - รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป กิจกรรมที่ 2 : ปรับปรุงพัฒนาบำรุงรักษาโสตทัศนูปกรณ์ และเทคโนโลยีสำหรับโสตทัศนูปกรณ์ ขั้นเตรียม 1.ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน ตุลาคม 2565 (T1) 2.กำหนดขอบเขตการทำงาน -จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ และดำเนินการผลิตสื่อ 1 พฤศจิกายน 2566 30 กันยายน 2567 (T2) ขั้นดำเนินการ 1.จัดทำการผลิตสื่อ/เผยแพร่สื่อ/จัดการสื่อ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (M1) 2.ประสนงานในการจัดทำการผลิตสื่อ/เผยแพร่สื่อ/จัดการสื่อ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (M2) ขั้นสรุป 1.รายงานผลการปฏิบัติงานสม่ำเสมอทุกๆเดือน (V1) 2.สรุป/ประเมินผล/รายงานผล กันยายน 2564 (V2) |
1/10/2566 ถึง
1/10/2566 ถึง
|
นายพรพีระ สังข์กระแสร์
|
งานส่งเสริมอนามัย วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพ มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี 2. เพื่อให้ห้องพยาบาลมีเวชภัณฑ์ ยา วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ทางการแพทย์ต่างๆ ที่มีคุณภาพ เหมาะสมและเพียงพอในการใช้งาน 3. เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรของโรงเรียนได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี 4. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้และทักษะในเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง 5.เพื่อให้นักเรียนมีจิตอาสาในการช่วยเหลือชีวิตผู้คนและมีความสุขในการเป็นผู้ให้ |
เชิงปริมาณ 1. นักเรียนร้อยละ 100 ได้รับการตรวจสุขภาพ และนักเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี 2. ห้องพยาบาลมีเวชภัณฑ์ ยา วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ทางการแพทย์ต่างๆ ที่มีคุณภาพ เหมาะสมและเพียงพอในการใช้งาน ร้อยละ 100 3. บุคลากรของโรงเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปีและมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี 4. นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 100 มีความรู้และทักษะในเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง 5.นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 100 มีจิตอาสาในการช่วยเหลือชีวิตผู้คนและมีความสุขในการเป็นผู้ให้ เชิงคุณภาพ 1. นักเรียนร้อยละ 70 มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี รู้จักรักษาสุขภาพของตนเองให้แข็งแรง และปลอดจากโรคภัยต่างๆ อยู่ในระดับดี 2. ห้องพยาบาลมีเวชภัณฑ์ ยา วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ทางการแพทย์ต่างๆ ร้อยละ100 ที่มีคุณภาพ เหมาะสมและเพียงพอในการใช้งานอยู่ในระดับดี 3. บุคลากรของโรงเรียนร้อยละ80 ที่ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปีและมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีมากยิ่งขึ้น อยู่ในระดับดีขึ้นไป 4. นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ100 มีความรู้และทักษะในเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อยู่ในระดับดี 5.นักเรียนร้อยละ100 ที่เข้าร่วมกิจกรรมมีจิตอาสาในการช่วยเหลือชีวิตผู้คนและมีความสุขในการเป็นผู้ให้อยู่ในระดับดี |
วิธีการ ครูนักเรียนและผู้เกี่ยวข้องทำแบบสอบถาม เครื่องมือ ครูนักเรียนและผู้เกี่ยวข้องทำแบบสอบถาม |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมตรวจสุขภาพนักเรียน ขั้นเตรียม ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) -ประชุมคณะทำงาน เพื่อประสานงานกับโรงพยาบาลและหน่วยงานเอกชน **ไม่สามารถกำหนดวันที่แน่นอนได้ เป็นไปตามปฏิทินปฏิบัติงานของโรงพยาบาล ** ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) -จัดทำคำสั่งคณะทำงานเพื่อดำเนินการจัดกิจกรรมตรวจสุขภาพนักเรียน ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) -คณะทำงานกำหนดรายการตรวจสุขภาพ ภาคเรียนละ 1 ครั้ง - กำหนดวัน เวลาและสถานที่ที่ใช้ในการตรวจสุขภาพ ขั้นตอนการประสานงาน(M2) - ประชาสัมพันธ์ให้นักเรียนทราบเกี่ยวกับการตรวจสุขภาพด้วยตนเอง และนักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพ -ประสานงานร่วมกันระหว่างคณะทำงาน โรงพยาบาลและหน่วยงานเอกชน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) - ประเมินผลการจัดกิจกรรม ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) - รายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ - นำผลการปฏิบัติมาปรับปรุงกิจกรรม - นำกิจกรรมที่ปรับปรุงแล้ว ใช้เป็นต้นแบบของโครงการต่อไป กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมให้บริการด้านสุขภาพอนามัยและปฐมพยาบาลเบื้องต้น ขั้นเตรียม ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) - ประชุมคณะทำงาน วางแผนการดำเนินงาน ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) -ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง และออกคำสั่งคณะกรรมการการดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) M1-คณะทำงานสำรวจชนิด และจำนวนของเวชภัณฑ์ยา ครุภัณฑ์ทางการเเพทย์ต่างๆในห้องพยาบาลที่จำเป็นต่อการใช้งาน ขั้นตอนการประสานงาน(M2) -ประสานงานร่วมกันระหว่างคณะทำงาน ฝ่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การดำเนินการจัดซื้อเวชภัณฑ์ยา ครุภัณฑ์ทางการเเพทย์ต่าง -ให้บริการแก่นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) - สรุปผลการดำเนินการ ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) - รายงานผลการดำเนินการตามโครงการ กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมตรวจสุขภาพบุคลากรประจำปี ขั้นเตรียม ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) -ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการและประสานงานกับโรงพยาบาล ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) -จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) -ดำเนินการกำหนดวัน เวลาในการตรวจสุขภาพ -แจ้งบุคลากรภายในโรงเรียนทราบ สำรวจรายชื่อบุคลากรตรวจสุขภาพ -ดำเนินการตามระเบียบของทางราชการ ให้บุคลากรของโรงเรียนได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี ขั้นตอนการประสานงาน(M2) ประสานงานร่วมกันระหว่างคณะทำงานและโรงพยาบาล เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) - ประเมินผลการจัดกิจกรรม ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) - รายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ - นำผลการปฏิบัติมาปรับปรุงกิจกรรม - นำกิจกรรมที่ปรับปรุงแล้ว ใช้เป็นต้นแบบของโครงการต่อไป กิจกรรมที่ 4 : กิจกรรมจัดอบรมปฐมพยาบาลเบื้องต้น ขั้นเตรียม ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการและประสานงานกับโรงพยาบาลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) -จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานและผู้รับผิดชอบ ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) -ดำเนินการกำหนดวัน เวลาในการจัดกิจกรรมอบรม -สำรวจรายชื่อนักเรียนแกนนำ -คณะทำงานดำเนินการจัดอบรมนักเรียนร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนการประสานงาน(M2) ประสานงานร่วมกันระหว่างคณะทำงานและวิทยากร เพื่อให้การจัดกิจกรรมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) - ประเมินผลการจัดกิจกรรม ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) - รายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ - นำผลการปฏิบัติมาปรับปรุงกิจกรรม - นำกิจกรรมที่ปรับปรุงแล้ว ใช้เป็นต้นแบบของโครงการต่อไป กิจกรรมที่ 5 : กิจกรรมบริจาคโลหิต ขั้นเตรียม ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) -ประชุมคณะทำงาน เพื่อประสานงานกับสภากาชาดไทย ในการกำหนดวัน เวลาและสถานที่การรับบริจาคโลหิต ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) -จัดทำคำสั่งคณะทำงานเพื่อดำเนินการจัดกิจกรรมบริจาคโลหิต ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) คณะทำงานประชาสัมพันธ์และดำเนินการรับบริจาคโลหิตตามกำหนดวัน เวลาและสถานที่การรับบริจาคโลหิต ขั้นตอนการประสานงาน(M2) -ประสานงานร่วมกันระหว่างคณะทำงานและสภากาชาดไทย เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) - ประเมินผลการจัดกิจกรรม ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) - รายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ - นำผลการปฏิบัติมาปรับปรุงกิจกรรม - นำกิจกรรมที่ปรับปรุงแล้ว ใช้เป็นต้นแบบของโครงการต่อไป กิจกรรมที่ 6 : กิจกรรมปรับปรุงวัสดุ-อุปกรณ์ต่างๆในห้องพยาบาล ขั้นเตรียม ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) สำรวจวัสดุ-อุปกรณ์ต่างในห้องพยาบาลที่ชำรุดเสียหายและไม่พร้อมใช้งาน ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) -ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง และมอบหมายการดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) - ดำเนินงานตามโครงการกิจกรรมพัฒนาปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆในห้องพยาบาล ขั้นตอนการประสานงาน(M2) - ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) - สรุปผลการดำเนินการ ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) - รายงานผลการดำเนินการตามโครงการ |
1/10/2566 ถึง
1/10/2566 ถึง
1/10/2566 ถึง
1/10/2566 ถึง
1/10/2566 ถึง
1/10/2566 ถึง
|
นางกิติยา พันธ์ครุฑ
|
|
งานประชาสัมพันธ์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ต่างๆในโรงเรียน 2. เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์แนะแนวการศึกษาให้กับโรงเรียนประถมศึกษาในเขตพื้นที่บริการไม่น้อยกว่า 3 ครั้ง/ปีการศึกษา 3. เพื่อจัดทำเกียรติบัตรให้กับผู้ที่เก็บสิ่งของ , ทรัพย์สินได้ |
6, |
เชิงปริมาณ 1. นักเรียน บุคลากรในโรงเรียนตลอดจน ผู้ปกครองและชุมชน ร้อยละ 80 ได้รับข้อมูลข่าวสารจากงานประชาสัมพันธ์ เชิงคุณภาพ 1. นักเรียน บุคลากรในโรงเรียนตลอดจน ผู้ปกครองและชุมชน ร้อยละ 80 ได้รับข้อมูลข่าวสารอย่างต่อเนื่องทั้งทางด้านเสียงและเอกสาร อยู่ในระดับดีขึ้นไป |
วิธีการ 1. ใช้เครื่องมือต่าง ๆ ในการเผยแพร่ข่าวสาร และประชาสัมพันธ์ เครื่องมือ 1. ให้ทำแบบประเมินความพึงพอใจ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมเผยแพร่ข่าวสาร และให้บริการงานประชาสัมพันธ์ต่างๆของโรงเรียน ขั้นเตรียม 1. ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1) 1.1 จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ 1.2 ขออนุมัติโครงการ 1.3 แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 1.4 ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ 2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2) 2.1 จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ขั้นดำเนินการ 3.ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1) 3.1 เผยแพร่ข่าวสารและให้บริการงานประชาสัมพันธ์ต่างๆในโรงเรียน 3.2 การประชาสัมพันธ์ด้านเอกสาร มีดังนี้ - จดหมายข่าว - เอกสารอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย 3.3 การประชาสัมพันธ์ ด้านเสียงได้แก่ - การประชาสัมพันธ์ทั่วไป - การจัดรายการเสียงตามสาย - การต้อนรับ พิธีกร พิธีการและการประสานงานต่าง ๆ - มีการออกไปประชาสัมพันธ์แนะแนวการศึกษาให้กับโรงเรียนประถมศึกษาในเขตพื้นที่บริการ 3.4 การจัดบอร์ดประชาสัมพันธ์ 3.5 การประชาสัมพันธ์สู่ชุมชนตามวาระโอกาส เช่น วันแห่เทียนเข้าพรรษา,การเดินรณรงค์ตามวาระโอกาส 3.6 การให้บริการงานประชาสัมพันธ์ด้านต่างๆ ได้แก่ - บริการจดหมายไปรษณียภัณฑ์ - บริการต่อชุมชนตามที่ได้รับ หรือร้องขอ เช่น พิธีกร ,จำหน่ายหนังสือวันเด็กแห่งชาติ,จำหน่ายดอกมะลิเนื่องในวันแม่แห่งชาติ เป็นต้น -บริการอื่นๆตามที่ได้รับมอบหมาย 4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2) 4.1 ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม ขั้นสรุป 5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1) 5.1 ทำแบบประเมินความพึงพอใจ 5.2 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ 6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2) 6.1 บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินโครงการ 6.2 สรุปรูปเล่มรายงานโครงการ กิจกรรมที่ 2 : ของหายได้คืน ขั้นเตรียม 1. ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1) 1.1 จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ 1.2 ขออนุมัติโครงการ 1.3 แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 1.4 ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ 2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2) 2.1 จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ขั้นดำเนินการ 3.ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)3.ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1) 3.1 จัดทำเอกสาร แบบบันทึก การรับคืน สิ่งของ , ทรัพย์สิน 3.2 ดำเนินการ รับ สิ่งของ , ทรัพย์สิน ที่มีผู้เก็บได้ และรับแจ้งของหาย 3.3 ผู้แจ้งกรอกข้อมูลลงแบบประกาศ ประชาสัมพันธ์ตามข้อมูล 3.4 เจ้าของทรัพย์สิน ติดต่อขอรับคืนโดยผ่านการตรวจสอบข้อมูลอย่างถูกต้องและลงชื่อรับคืนเป็นหลักฐาน พร้อมแจ้งให้ขอบคุณผู้เก็บได้ 3.5 มอบเกียรติบัตรแก่ผู้เก็บสิ่งของ , ทรัพย์สินได้ 3.6 กรณีไม่มีเจ้าของแสดงตน เจ้าหน้าที่จะมอบสิ่งของ,ทรัพย์สินนั้นๆแก่ผู้เก็บได้พร้อมลงชื่อ บันทึกเป็นหลักฐาน 4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2) 4.1 ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม ขั้นสรุป 5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1) 5.1 ทำแบบประเมินความพึงพอใจ 5.2 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ 6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2) 6.1 บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินโครงการ 6.2 สรุปรูปเล่มรายงานโครงการ |
16/7/2567 ถึง
16/7/2567 ถึง
|
นางสาวกมลชนก หาดรื่น
|
สัมพัธ์ชุมชน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างสัมพันธ์อันดีระหว่างสถานศึกษา นักเรียน บุคลากร ผู้ปกครองและชุมชนทั้งภาครัฐและเอกชน> 2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนในเรื่องมารยาทที่ดีงามของไทยรวมทั้งขนบธรรมเนียมประเพณีที่สำคัญต่างๆให้คงอยู่เรื่อยไป> 3. เพื่อให้สถานศึกษา บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชนเห็นคุณค่าของความเป็นไทยเพื่อเข้าร่วมอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมเนียมประเพณีและปฎิบัติสืบทอดต่อไป 4. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุสให้นักเรียน บุคลากร ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงานต่างๆเข้ามามีส่วนร่วมโครงการและกิจกรรมเกี่ยวกับประเพณีต่างๆ รวมทั้งวันสำคัญของ 2. |
2,3, |
เชิงปริมาณ 1.สถานศึกษาให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมทำกิจกรรมวันสำคัญต่างๆ อนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของไทยร่วมกับชุมชน ร้อยละ 80 2. สถานศึกษาส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียน บุคลากร ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงานต่างๆ เข้ามีส่วนร่วมโครงการและกิจกรรมเกี่ยวกับประเพณีต่างๆ รวมทั้งวันสำคัญของไทย ร้อยละ 80 3. เดินรณรงค์เผยแพร่ความรู้สู่ชุมชนภาคเรียนละ 1 ครั้ง เชิงคุณภาพ 1.ผู้ปกครองและชุมชนร้อยละ 80 มีความเชื่อมั่นและศรัทธาต่อโรงเรียนให้ความไว้วางใจร่วมทั้งให้ความร่วมมือ ส่งเสริมและสนับสนุนในการจัดกิจกรรมของโรงเรียนเป็นอย่างดีอยู่ในระดับ ดี |
วิธีการ แบบประเมินความพึงพอใจ เครื่องมือ แบบประเมินความพึงพอใจ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : มวลชนสัมพันธ์ ขั้นเตรียม การวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1) 1. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ 2. ขออนุมัติโครงการ 3. ประชุมคณะกรรมการวางแผนการปฏิบัติงาน การกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2) จัดทำคำสั่งการดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ การปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1) 1. จัดทำบันทึกขออนุญาตจัดกิจกรรม 2. จัดกิจกรรมวันสำคัญต่าง ๆ ตามปฏิทินประจำปี การประสานงาน (M2) ประสานงานกับทุกกลุ่มบริหารงานต่าง ๆ ขั้นสรุป การประเมินผล (V1) 1. จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจ 2. สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน การกำกับติดตาม (V2) บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินโครงการ |
6/10/2566 ถึง
|
นายอุดมศักดิ์ นาคะพันธ์ และครูจีระวรรณ พรศิริและคณะ
|
พัฒนางานสารสนเทศ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อจัดทำระบบข้อมูลสารสนเทศของโรงเรียน 2. เพื่อให้บริการและเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศแก่ครู บุคลากร และผู้ที่เกี่ยวข้อง |
2,6, |
เชิงปริมาณ 1. โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมมีรายงานข้อมูลสารสนเทศ 1 เล่มต่อปีการศึกษา 2. คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา ร้อยละ 95 มีส่วนร่วมและสนับสนุนในการให้ข้อมูลในด้านต่าง ๆ 3. ครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนในโรงเรียนร้อยละ 100 ได้รับข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องชัดเจน เชิงคุณภาพ 1. ครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนในโรงเรียนร้อยละ 80 มีความพึงพอใจในระบบข้อมูลสารสนเทศในระดับดีขึ้นไป |
วิธีการ สำรวจ เครื่องมือ ประเมินความพึงพอใจ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : การจัดทำรายงานสารสนเทศ ประจำปีการศึกษา 2566 ขั้นเตรียม การวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1) 1. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ 2. ขออนุมัติโครงการ 3. ประชุมคณะกรรมการวางแผนการปฏิบัติงาน การกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2) 1. จัดทำคำสั่งการดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ การปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1) 1. ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากลุ่มบริหารงานต่าง ๆ และจัดทำข้อมูลสารสนเทศต่อไป การประสานงาน (M2) 1. ประสานงานกับทุกกลุ่มบริหารงานต่าง ๆ ขั้นสรุป การประเมินผล (V1) 1. จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจ 2. สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน การกำกับติดตาม (V2) 1. บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินโครงการ |
1/10/2566 ถึง
|
นายณัฐพล กลีบสัตบุตร
|
โครงการส่งเสริมงานโภชนาการ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อจัดให้มีการอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคลากรในโรงเรียนและนอกสถานศึกษา 2.เพื่อส่งเสริมให้ความรู้ด้านโภชนาการ |
5, |
เชิงปริมาณ นักเรียนร้อยละ 80 สามารถดูแลและปฏิบัติตนตามสุขบัญญัติ 10 ประการ เชิงคุณภาพ นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารและโภชนาการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
วิธีการ ใช้แบบสอบถามความพึงพอใจ เครื่องมือ ใช้แบบสอบถามความพึงพอใจ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : พัฒนาโภชนาการนักเรียน ขั้นเตรียม 1.ประชุมบุคลากรในสายงาน 2.เสนอขออนุมัติ 3.แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ 1.จัดป้ายนิเทศน์ให้ความรู้ 2.อบรมให้ความรู้ ขั้นสรุป 1.ติดตามผลการดำเนิงาน 2.ประเมินผลการดำเนินงาน 3.สรุปและดำเนินผลการดำเนินงาน |
1/11/2566 ถึง
|
นางสาวบุษรารัตน์ แก้วสอาด
|
งานธนาคารโรงเรียน วัตถุประสงค์ 1.เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีนิสัยประหยัดอดออม 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักวางแผนการทำงาน ทำงานเป็นทีม มีทักษะชีวิตโดยเน้นหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง |
1, |
เชิงปริมาณ 1. ผู้เรียนร้อยละ 85 มีนิสัยรักการออม และมีบัญชีธนาคารโรงเรียน 2. ผู้เรียนร้อยละ 85 มีความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์ รู้จักวางแผนการทำงานและมีนิสัยประหยัดอดออมอยู่ในระดับดีขึ้นไป เชิงคุณภาพ 1. ผู้เรียนร้อยละ 80 มีความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์ รู้จักวางแผนการทำงานและมีนิสัยประหยัดอดออมอยู่ในระดับดีขึ้นไป 2. ธนาคารมีวัสดุอุปกรณ์ที่พร้อมให้บริการ ร้อยละ 100 |
วิธีการ การสำรวจ เครื่องมือ สอบถาม |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมส่งเสริมการออม ขั้นเตรียม -ประชุมคณะกรรมการงานธนาคารโรงเรียนเพื่อเตรียมการ -คััดสรรนักเรียนเพื่อร่วมเป็นคณะทำงานธนาคารโรงเรียน -มอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบตามความถนัด ขั้นดำเนินการ -ประชาสัมพันธ์การให้บริการของงานธนาคารโรงเรียนและจัดกิจกรรมส่งเสริมการออม -รับเปิดบัญชี รับฝาก-ถอนเงิน และปิดบัญชี ตามเวลาที่กำหนด -จัดกิจกรรมส่งเสริมการออมในช่วงเวลาพิเศษ เช่นวันเด็ก ขั้นสรุป -รายงานผลการทำงานประจำวันกับธนาคารออมสิน สาขาท่ามะกา -รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีการศึกษา กิจกรรมที่ 2 : พัฒนาระบบการให้บริการ ขั้นเตรียม ประชุมคณะกรรมการงานธนาคารโรงเรียนเพื่อเตรียมการ สำรวจความต้องการในด้านความรู้ และวัสดุอุปกรณ์ในการให้บริการงานธนาคารโรงเรียน ขั้นดำเนินการ บันทึกการขอจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ที่ขาดแคลนและชำรุด ประสานงานกับงานพัสดุโรงเรียน โดยเน้นความเหมาะสมไม่ฟุ่มเฟือย ขั้นสรุป -รายงานผลการทำงานประจำวันกับธนาคารออมสิน สาขาท่ามะกา -รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีการศึกษา 2567 |
1/11/2566 ถึง
1/11/2566 ถึง
|
ครูขวัญจิตร ยิ่งยวดและคณะ
|
ส่งเสริมพลังงานทดแทน วัตถุประสงค์ เพื่อซ่อมบำรุงเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell) ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน |
5, |
เชิงปริมาณ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมมีเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell) ที่อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน คิดเป็นร้อยละ 90 เชิงคุณภาพ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมมีเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell) ที่อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน และผลิตกระแสไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
วิธีการ การตรวจสอบการผลิตไฟฟ้าจากแอฟพลิเคชั่น เครื่องมือ การสำรวจตรวจสอบจากอุปกรณ์การใช้งาน |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : ซ่อมบำรุงและส่งเสริมพลังงานทดแทน ขั้นเตรียม ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1) - ประชุมชี้แจงและวางแผนการทำงาน - จัดทำกิจกรรมเพื่อขออนุมัติจากผู้บริหารโรงเรียน ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2) - จัดทำคำสั่งการดำเนินกิจกรรม ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1) - จัดทำบันทึกขออนุญาตจัดกิจกรรม - ดำเนินการสำรวจสภาพการใช้งาน ขั้นตอนการประสานงาน (M2) - ดำเนินการซ่อมบำรุง - ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล (V1) - สำรวจสภาพการใช้งาน - สรุปผลการสำรวจสภาพการใช้งาน ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2) - บันทึกข้อความรายงานผลการดำเนินกิจกรรม |
1/10/2566 ถึง
|
นายพรพีระ สังข์กระแสร์ และคณะ
|
พัฒนาและปรับปรุงการให้บริการระบบสัญญาณอินเตอร์เน็ตสำหรับนักเรียน ครู และบุคลากร วัตถุประสงค์ 1. จัดทำระบบเครือข่ายเน็ตเวิร์คภายในองค์กรเพื่อรองรับการใช้งานอินเตอร์เน็ตได้อย่างพอเพียงและทั่วถึง |
1,3,5, |
เชิงปริมาณ 1. คณะครู อาจารย์ และบุคลากร ร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการใช้อินเตอร์เน็ต. เชิงคุณภาพ 1.มีระบบเครือข่ายเน็ตเวิร์คภายในโรงเรียนเพื่อรองรับการใช้งานอินเตอร์เน็ตได้อย่างพอเพียงและทั่วถึง |
วิธีการ -สอบถามความพึ่งพอใจของครู บุคคลากรทางการศึกษา และนักเรียน -สรุปผลการดำเนินการ เครื่องมือ -สอบถามความพึ่งพอใจของครู บุคคลากรทางการศึกษา และนักเรียน -สรุปผลการดำเนินการ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : พัฒนาและปรับปรุงการให้บริการระบบสัญญาณอินเตอร์เน็ตสำหรับนักเรียน ครู และบุคลากร ขั้นเตรียม ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) - ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน - เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) - เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) - สำรวจความเสียหายของอุปกรณ์ และความจำเป็นที่จะเพิ่มจุดขยายเครือข่ายอินเตอร์เน็ต - จัดซื้ออุปกรณ์มาปรับปรุงและเพิ่มเติม จัดจ้างในส่วนที่เกินความสามารถในการทำ ขั้นตอนการประสานงาน(M2) - ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) - สรุปผลการดำเนินการ ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) - รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป |
1/10/2566 ถึง
|
นายอุดมศักดิ์ นาคะพันธ์
|