แผนการดำเนินงานตามโครงการและงาน
จำแนกตาม กลุ่มบริหารงานวิชาการ
ชื่อโครงการ/
วัตถุประสงค์
สนอง
มฐ.รร.
ข้อที่
เป้าหมาย ตัวชี้วัด/เกณฑ์การประเมิน
โครงการ
ค่าใช้จ่าย
(บาท)
ขั้นตอนการดำเนินงาน
ของแต่ละกิจกรรม
ระยะเวลา
ดำเนินการ
ผู้รับผิดชอบ
สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน (รายวิชาเพิ่มเติม)

วัตถุประสงค์
เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการศึกษา และค่าใช้จ่ายในการศึกษาตามความถนัดของตน โดยนักเรียนได้รับหนังสือเรียนครบตามรายวิชา และวัสดุอุปกรณ์ในการเรียน
1,2, เชิงปริมาณ
 นักเรียนร้อยละ 100 ได้รับหนังสือเรียนครบตามรายวิชา ที่จัดสรรให้

เชิงคุณภาพ
 นักเรียนมีความพึงพอใจในการได้รับจัดสรรหนังสือเรียนอยู่ในระดับดีขึ้นไป
วิธีการ
 แบบสอบถาม
เครื่องมือ
 แบบสอบถาม

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : การจัดซื้อหนังสือเรียน ชั้น ม.1-6 (รายวิชาเพิ่มเติม)
ขั้นเตรียม
 T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมดำเนินการพิจารณาหนังสือเรียน
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการดำเนินการตามหน้าที่ได้รับผิดชอบ

ขั้นดำเนินการ
 M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการดำเนินการประชุมภาคึ 4 ฝ่าย
M2 การประสานงาน ในการจัดซื้อหนังสือเรียน
4. คณะกรรมการประสานงานพัสดุในการจัดซื้อหนังสือเรียน
5. งานพัสดุจัดซื้อหนังสือเรียน
6.นักเรียนทุกระดับชั้น มีหนังสือเรียนครบตามรายวิชาที่กำหนด

ขั้นสรุป  V1 การประเมินผล
7. สำรวจความเพียงพอใจ
8. สอบถามความพึงพอใจ
V2 การกำกับติดตาม
9. จัดทำรายงานโครงการ

18/12/2566 ถึง
30/6/2567

 

 

นางนิชนันท์ จันหอม





ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอน

วัตถุประสงค์
เพื่อให้ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา เเละนักเรียน มีวัสดุอุปกรณ์ และสื่อการเรียนการสอนเพียงพอต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1, เชิงปริมาณ
  ร้อยละ 100 ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา เเละนักเรียน ได้รับบริการวัสดุอุปกรณ์และสื่อการเรียนการสอน

เชิงคุณภาพ
 ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา เเละนักเรียนทุกคน มีความพึงพอใจในการให้บริการวัสดุอุปกรณ์ด้านวิชาการอยู่ในระดับดีขึ้นไป
วิธีการ
 บันทีกการขอรับบริการบริการวัสดุอุปกรณ์ด้านวิชาการ

เครื่องมือ
 ประเมินความพึงพอใจ

เงิน
อุดหนุนฯ
2,486,395.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : การจัดวัสดุอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอน
ขั้นเตรียม
 T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมการสำนักงานวิชาการ
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการสำนักงานวิชาการสำรวจรายการวัสดุอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอน

ขั้นดำเนินการ
 M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการสำนักงานวิชาการกำหนดรายการที่จำเป็นต้องซื้อ
M2 การประสานงาน
4. คณะกรรมการสำนักงานวิชาการเขียนเอกสารดำเนินการจัดซื้อเเละประสานงานพัสดุในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
5. งานพัสดุจัดซื้อวัสดุเเละอุปกรณ์ต่าง ๆ
6. ผู้บริหาร คณะครู เเละ นักเรียนเบิกวัสดุอุปกรณ์ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน

ขั้นสรุป  V1 การประเมินผล
7. สำรวจความเพียงพอในการให้บริการวัสดุอุปกรณ์
8. สอบถามความพึงพอใจในการให้บริการวัสดุอุปกรณ์ด้านวิชาการ
V2 การกำกับติดตาม
9. จัดทำรายงานโครงการ พร้อมติดตามการดำเนินโครงการ นำเสนอผู้บริหารโรงเรียน

กิจกรรมที่ 2 : หมึกเครื่องถ่ายเอกสารและเครื่องโรเนียว
ขั้นเตรียม
 T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมการสำนักงานวิชาการ
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการสำนักงานวิชาการสำรวจรายการหมึก ไข เครืองโรเนียว และหมึกเครื่องถ่ายเอกสารขาว ดำ และเครื่องถ่ายเอกสารสี ในการจัดการเรียนการสอน

ขั้นดำเนินการ
 M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการสำนักงานวิชาการกำหนดรายการที่ต้องซื้อ
M2 การประสานงาน
4. คณะกรรมการสำนักงานวิชาการเขียนเอกสารดำเนินการจัดซื้อเเละประสานงานพัสดุในการจัดซื้อหมึก ไข เครื่องโรเนียว และหมึกเครื่องถ่ายเอกสารสี
5. งานพัสดุจัดซื้อซื้อหมึก ไข เครื่องโรเนียว และหมึกเครื่องถ่ายเอกสารสี
6. ผู้บริหาร คณะครู เเละ นักเรียน ใช้บริการการถ่ายเอกสารที่ห้องผลิตเอกสาร

ขั้นสรุป  V1 การประเมินผล
7. สำรวจความเพียงพอ
8. สอบถามความพึงพอใจ
V2 การกำกับติดตาม
9. จัดทำรายงานโครงการ พร้อมติดตามการดำเนินโครงการ นำเสนอผู้บริหารโรงเรียน

กิจกรรมที่ 3 : กระดาษ A4 -ขาว และกระดาษคำตอบ
ขั้นเตรียม
 T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมการสำนักงานวิชาการ
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการสำนักงานวิชาการสำรวจจำนวนกระดาษA4 และกระดาษคำตอบ

ขั้นดำเนินการ
 M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการสำนักงานวิชาการกำหนดรายการที่ต้องซื้อ
M2 การประสานงาน
4. คณะกรรมการสำนักงานวิชาการเขียนเอกสารดำเนินการจัดซื้อเเละประสานงานพัสดุในการจัดซื้อกระดาษ A4 ขาว และกระดาษคำตอบ
5. งานพัสดุจัดซื้อกระดาษA4 และกระดาษคำตอบ
6. คณะครู นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษา เบิกกระดาษ A4 ขาว และกระดาษคำตอบ ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน

ขั้นสรุป  7. สำรวจความเพียงพอ
8. สอบถามความพึงพอใจ
V2 การกำกับติดตาม
9. จัดทำรายงานโครงการ

กิจกรรมที่ 4 : การซ่อมบำรุงเครืองถ่ายเอกสาร เครื่องโรเนียว เครื่อง copyprint color
ขั้นเตรียม
 T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมการสำนักงานวิชาการ
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการสำนักงานวิชาการตรวจสอบการใช้งานของเครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องโรเนียว

ขั้นดำเนินการ
 M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการสำนักงานวิชาการกำหนดรายการที่ดำเนินการจัดซ่อม จัดซื้อวัสดุ อะไหล่
M2 การประสานงาน
4. คณะกรรมการสำนักงานวิชาการเขียนเอกสารดำเนินการจัดซื้อ จัดจ้าง การซ่อม เเละประสานงานพัสดุในการจัดซื้อ จัดจ้าง การซ่อม กับบริษัท
5. งานพัสดุจัดดำเนินการจัดซื้อ จัดจ้างการซ่อมกับบริษัท 6. คณะครู บุคลากรทางการศึกษา สามารถใช้บริการการถ่ายเอกสารจากเครื่องถ่ายเอกสารสีได้

ขั้นสรุป  V1 การประเมินผล
7. สำรวจความเพียงพอ
8. สอบถามความพึงพอใจ
V2 การกำกับติดตาม
9. จัดทำรายงานโครงการ

กิจกรรมที่ 5 : การจัดนิทรรศการวิชาการนอกสถานที่
ขั้นเตรียม
 T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการ
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการสำรวจรายการวัสดุอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอน

ขั้นดำเนินการ
 M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการกำหนดรายการที่จำเป็นต้องซื้อ
M2 การประสานงาน
4. คณะกรรมการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการเขียนเอกสารดำเนินการจัดซื้อเเละประสานงานพัสดุในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
5. งานพัสดุจัดซื้อวัสดุเเละอุปกรณ์ต่าง ๆ
6. ผู้บริหาร คณะครู เเละ นักเรียนเบิกวัสดุอุปกรณ์ไปใช้ในการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการ

ขั้นสรุป  V1 การประเมินผล
7. รายงานผลการดำเนินงาน
V2 การกำกับติดตาม
8. ติดตามผลการดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 6 : การจัดภูมิทัศน์ป้ายข้อมูลผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
ขั้นเตรียม
 T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการดำเนินงานตามภาระงาน

ขั้นดำเนินการ
 M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการจัดเตรียมข้อมูลข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
M2 การประสานงาน
4. คณะกรรมการเขียนเอกสารดำเนินการจัดซื้อ จัดจ้าง และประสานงานพัสดุในการจัดซื้อ จัดจ้าง
5. งานพัสดุดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง
6. มีป้าย บอร์ด ทำเนียบข้อมูลข้าราชการครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม

ขั้นสรุป  v1 การประเมินผล
7. สำรวจความพีงพอใจ
8. สอบถามความพึงพอใจ
v2 การกำกับติดตาม
9. จัดทำรายงานโครงการ

กิจกรรมที่ 7 : ศิลปหัตถกรรม (เบี้ยเลี้ยงครู)
ขั้นเตรียม
 T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการดำเนินงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนฝึกซ้อมนักเรียน เเละเตรียมการแข่งขัน

ขั้นดำเนินการ
 M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการดำเนินงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนดำเนินการฝึกซ้อมนักเรียนเเละเตรียมการแข่งขัน
M2 การประสานงาน
4. คณะกรรมการดำเนินงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนประสานงานแข่งขันในแต่ละรายการ
5. งานพัสดุจัดซื้อวัสดุเเละอุปกรณ์ต่าง ๆ
6. คณะครู เเละ นักเรียนเบิกวัสดุอุปกรณ์ไปใช้ในการฝึกซ้อม

ขั้นสรุป  V1 การประเมินผล
7. รายงานผลการดำเนินงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน
V2 การกำกับติดตาม
8. ติดตามผลการดำเนินงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน

กิจกรรมที่ 8 : ส่งเสริมความเป็นเลิศนักเรียน (เบี้ยเลี้ยงครู)
ขั้นเตรียม
 T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศ
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการดำเนินงานทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศฝึกซ้อมนักเรียน เเละเตรียมการแข่งขัน

ขั้นดำเนินการ
 M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการดำเนินงานทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศฝึกซ้อมนักเรียนเเละเตรียมการแข่งขัน
M2 การประสานงาน
4. คณะกรรมการดำเนินงานทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศประสานงานแข่งขันในแต่ละรายการ
5. งานพัสดุจัดซื้อวัสดุเเละอุปกรณ์ต่าง ๆ
6. คณะครู เเละ นักเรียนเบิกวัสดุอุปกรณ์ไปใช้ในการฝึกซ้อม

ขั้นสรุป  V1 การประเมินผล
7. รายงานผลการดำเนินงานทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศ
V2 การกำกับติดตาม
8. ติดตามผลการดำเนินงานทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศ

กิจกรรมที่ 9 : การจัดนิทรรศการในโรงเรียน
ขั้นเตรียม
 T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการ
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการสำรวจรายการวัสดุอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอน

ขั้นดำเนินการ
 M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการกำหนดรายการที่จำเป็นต้องซื้อ
M2 การประสานงาน
4. คณะกรรมการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการเขียนเอกสารดำเนินการจัดซื้อเเละประสานงานพัสดุในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
5. งานพัสดุจัดซื้อวัสดุเเละอุปกรณ์ต่าง ๆ
6. ครู เเละ นักเรียนเบิกวัสดุอุปกรณ์ไปใช้ในการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการ

ขั้นสรุป  V1 การประเมินผล
7. รายงานผลการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการ
V2 การกำกับติดตาม
8. จัดทำรายงานโครงการ

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

นางนิชนันท์ จันหอม





นางนิชนันท์ จันหอม





นางนิชนันท์ จันหอม





นางนิชนันท์ จันหอม





นางนิชนันท์ จันหอม





นางนิชนันท์ จันหอม





นางนิชนันท์ จันหอม





นางนิชนันท์ จันหอม





นางนิชนันท์ จันหอม





สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน

วัตถุประสงค์
นักเรียนได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายหนังสือเรียนในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน จนจบการศึกษาภาคบังคับ
1, เชิงปริมาณ
 ร้อยละ 100 นักเรียน ได้รับหนังสือเรียนตามที่รัฐจัดสรร

เชิงคุณภาพ
 นักเรียนมีความพึงพอใจในการได้รับจัดสรรหนังสือเรียนอยู่ในระดับดีขึ้นไป
วิธีการ
 การสอบถาม
เครื่องมือ
 การสอบถาม

เงิน
อุดหนุนฯ
2,325,955.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : การจัดซื้อหนังสือเรียน ชั้น ม.1-6 (รายวิชาพื้นฐาน)
ขั้นเตรียม
 T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมดำเนินการพิจารณาหนังสือเรียน
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการดำเนินการตามหน้าที่ได้รับผิดชอบ

ขั้นดำเนินการ
 M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการดำเนินการประชุมภาคี 4 ผ่าย
M2 การประสานงาน ในการจัดซื้อหนังสือเรียน
4. คณะกรรมการประสานงานพัสดุในการจัดซื้อหนังสือเรียน
5. งานพัสดุจัดซื้อหนังสือเรียน
6.นักเรียนทุกระดับชั้น มีหนังสือเรียนครบตามรายวิชาที่กำหนด

ขั้นสรุป  V1 การประเมินผล
7. สำรวจความเพียงพอใจ
8. สอบถามความพึงพอใจ
V2 การกำกับติดตาม
9. จัดทำรายงานโครงการ

18/12/2566 ถึง
30/6/2567

 

 

นางนิชนันท์ จันหอม





พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

วัตถุประสงค์
1. ครูผู้สอนมีความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถในการพัฒนาหลักสูตรและสามารถนำไปใช้ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
2. ครูผู้สอนจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
3. โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษาที่เหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่นและเทียบเคียงกับมาตรฐานสากล
2,3,4, เชิงปริมาณ
 1. ครูผู้สอนร้อยละ 100 มีความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถในการพัฒนาหลักสูตรและสามารถ จัดทำ หลักสูตรของกลุ่มสาระการเรียนรู้ครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่น และเทียบเคียงกับมาตรฐานสากล
2. ครูผู้สอนร้อยละ 80 จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
3. โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษาเหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่นและเทียบเคียงกับมาตรฐานสากล จำนวน 1 หลักสูตร

เชิงคุณภาพ
 1. ครูผู้สอนมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรและสามารถนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพระดับดีเลิศ
2. ครูผู้สอนจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ผ่านการประเมินในระดับดี
3. สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษาให้เหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่นและเทียบเคียงกับมาตรฐานสากลในระดับดีเลิศ
วิธีการ
 ทำแบบสอบถาม
เครื่องมือ
 ทำแบบสอบถาม

เงิน
อุดหนุนฯ
6,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมประชุมอบรมปฏิบัติการเพื่อพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
1. ศึกษานโยบายของโรงเรียน เขตพื้นที่การศึกษาและสพฐ.ในส่วนที่เกี่ยวข้อง กับโครงการฯ
2. ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา
3. ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการฯ
4. จัดทำโครงการฯ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
2. ประชุมคณะกรรมการเพื่อชี้แจงโครงการฯ และมอบหมายภาระงาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
1. ดำเนินงานตามโครงการฯ
2. จัดประชุมอบรมปฏิบัติการเพื่อพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
1. ครูแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ดำเนินการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร
2. คณะกรรมการหลักสูตรจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
1. สรุปประเมินโครงการฯ
ขั้นตอนการติดตามผล (V2)
1. จัดทำรายงานโครงการฯ นำเสนอฝ่ายบริหาร
2. การนำผลการประเมิน หรือข้อเสนอแนะนำไปใช้ หรือปรับปรุง แก้ไข

กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์สำนักงาน
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
1. ประชุมคณะกรรมการงานพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
2. สำรวจตรวจสอบวัสดุอุปกรณ์สำนักงาน
3. จัดทำโครงการฯ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
2. จัดทำคำสั่งผู้รับผิดชอบในการดำเนินโครงการ

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
1. ดำเนินงานตามโครงการฯ
2. จัดประชุมอบรมปฏิบัติการเพื่อพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
1. ดำเนินการจัดรายการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์สำนักงาน
2. ประสานงานกับฝ่ายพัสดุโรงเรียนเพื่อดำเนินการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์สำนักงาน

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
1. สรุปประเมินโครงการฯ
ขั้นตอนการติดตามผล (V2)
1. จัดทำรายงานโครงการฯ นำเสนอฝ่ายบริหาร
2. การนำผลการประเมิน หรือข้อเสนอแนะนำไปใช้ หรือปรับปรุง แก้ไข

1/2/2567 ถึง
30/8/2567

 

 

1/2/2567 ถึง
30/8/2567

 

 

หัวหน้างานพัฒนาหลักสูตร และ คณะ





งานพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา





โครงการพัฒนาผู้เรียนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการทดสอบระดับชาติและระดับนานาชาติ

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
เชิงปริมาณ
 1. จำนวนผู้เรียนที่มีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาในระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 70
2. มีการจัดค่ายส่งเสริมวิชาการ จำนวน 1 ครั้งต่อปี
3. มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมค่ายส่งเสริมวิชาการ ระดับชั้น ม.6 ในระดับมาก ร้อยละ 80

เชิงคุณภาพ
 1. นักเรียนกลุ่มเป้าหมายได้รับการเตรียมความพร้อมการประเมินระดับนานาชาติ PISA
วิธีการ
 ตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ตรวจสอบการดำเนินการ
ประเมินความพึงพอใจ

เครื่องมือ
 ตรวจสอบการดำเนินการ

เงิน
อุดหนุนฯ
41,325.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมการเตรียมพร้อมรับการประเมินระดับนานาชาติ PISA
ขั้นเตรียม
 1.ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- จัดทำบันทึกข้อความขอดำเนินการ
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ

ขั้นดำเนินการ
 3. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
-จัดทำ เผยแพร่และแนะนำสื่อ/เอกสารการประเมิน PISA แก่ครูและนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย
-กลุ่มสาระบูรณาการแนวทางการประเมิน PISA ในชั้นเรียน
-นักเรียนกลุ่มเป้าหมายทดลองใช้ระบบการประเมิน PISA
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- ประสานงานระหว่างคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายบริหาร เพื่อให้กิจกรรมดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ

ขั้นสรุป  5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
-ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมทุกกิจกรรม
-จัดทำรายงานผลการดำเนินกิจกรรม
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- ตรวจสอบและรายงานการจัดกิจกรรม

กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมค่ายส่งเสริมวิชาการ ระดับชั้น ม.6
ขั้นเตรียม
 1.ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
- ขออนุมัติโครงการ
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ

ขั้นดำเนินการ
 -บันทึกขอดำเนินกิจกรรม
-จัดจ้างวิทยากร
-จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง
-จัดทำเอกสารประกอบการอบรม
-จัดค่ายส่งเสริมวิชาการ ม.6
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- ประสานงานระหว่างคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายบริหาร เพื่อให้กิจกรรมดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ

ขั้นสรุป  5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
-ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมทุกกิจกรรม
-จัดทำรายงานผลการดำเนินกิจกรรม
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- ตรวจสอบและรายงานการจัดกิจกรรม

กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมการเรียนซ้ำรายวิชา
ขั้นเตรียม
 1.ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
- ขออนุมัติโครงการ
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ

ขั้นดำเนินการ
 3. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
-บันทึกขอดำเนินกิจกรรม
-จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง
-จัดเตรียมเอกสารลงทะเบียนเรียนซ้ำ
-จัดการประชุมผู้ปกครองและลงทะเบียนเรียนซ้ำ(ภาคเรียนละ 1 ครั้ง)
-จัดทำแฟ้มเอกสารเรียนซ้ำสำหรับครู
-ดำเนินกิจกรรมการเรียนซ้ำ
-รวบรวมผลการเรียนซ้ำ
-สรุปและรายงานผลการเรียนซ้ำ
-จัดการเรียนซ้ำภาคฤดูร้อน
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- ประสานงานระหว่างคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายบริหาร เพื่อให้กิจกรรมดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ

ขั้นสรุป  5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
-ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมทุกกิจกรรม
-จัดทำรายงานผลการดำเนินกิจกรรม
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- ตรวจสอบและรายงานการจัดกิจกรรม

1/11/2566 ถึง
30/7/2567

 

 

1/11/2566 ถึง
30/7/2567

 

 

1/11/2566 ถึง
30/7/2567

 

 

นางสาวปานรวี ภูศรี นางสาวพิมพ์พิชชา เจี่ยประเสริฐ





นางสาวปานรวี ภูศรี





นางสาวปานรวี ภูศรี นางสาวศรัญญา มีฤทธิ์





โครงการพัฒนาคุณภาพงานวัดและประเมินผลการศึกษา

วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
2. เพื่อให้มีการจัดการคุณภาพของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
3. เพื่อให้มีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียนอย่างเป็นระบบ
เชิงปริมาณ
 1. ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อระบบการวัดและประเมินผลในระดับมาก อย่างน้อยร้อยละ 80

เชิงคุณภาพ
 1. สถานศึกษามีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาในระดับดีเลิศ
2. สถานศึกษามีการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ในระดับดีเลิศ
3. สถานศึกษามีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียนอย่างเป็นระบบอยู่ในระดับดีเลิศ ร้อยละ 75
วิธีการ
 ประเมินความพึงพอใจ
เครื่องมือ
 ประเมินความสำเร็จ

เงิน
อุดหนุนฯ
37,180.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมการพัฒนาระบบการวัดและประเมินผล
ขั้นเตรียม
 1.ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
-บันทึกขอดำเนินกิจกรรม
-จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- ประชุมหารือชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ

ขั้นดำเนินการ
 3. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
-ทบทวนและปรับปรุงระเบียบการวัดและประเมินผล
-จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์เกี่ยวกับการวัดผลการเรียน
-จัดจ้างพิมพ์สมุดประจำตัวนักเรียน (ระดับละ 400 เล่มๆละ 40 บาท)
-ส่งเสริมระบบการตรวจและวิเคราะห์ข้อสอบด้วย zipgrade
-เตรียมความพร้อมสนามสอบโอเน็ตชั้น ม.3 และ ม.6
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- ประสานงานระหว่างคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายบริหาร เพื่อให้กิจกรรมดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ

ขั้นสรุป  5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
-ประเมินผลการดำเนินกิจกรรม (ระบบออนไลน์)
-จัดทำรายงานผลการดำเนินกิจกรรม
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
-บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม

กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมการพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผล
ขั้นเตรียม
 1.ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
-บันทึกขอดำเนินกิจกรรม
-จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- ประชุมหารือชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ

ขั้นดำเนินการ
 3. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
-จัดทำเครื่องมือวัดผลด้านต่างๆ
-จัดทำคลังข้อสอบระดับชาติบนเว็บไซต์ของโรงเรียน
-จัดทำคลังข้อสอบกลุ่มสาระการเรียนรู้
-วิเคราะห์ข้อสอบและพัฒนาข้อสอบมาตรฐาน
-รวบรวมสารสนเทศของเครื่องมือวัดผลต่างๆ
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- ประสานงานระหว่างคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายบริหาร เพื่อให้กิจกรรมดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ

ขั้นสรุป  5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
-ประเมินผลการดำเนินกิจกรรม (ระบบออนไลน์)
-จัดทำรายงานผลการดำเนินกิจกรรม
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
-บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม

กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมการพัฒนาครูด้านการวัดและประเมินผล
ขั้นเตรียม
 1.ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
-บันทึกขอดำเนินกิจกรรม
-จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- ประชุมหารือชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ

ขั้นดำเนินการ
 3. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
-จัดทำเอกสารประกอบการอบรม
-จัดอบรมครูเรื่องการจัดทำคลังข้อสอบออนไลน์ด้วย Testmoz
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- ประสานงานระหว่างคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายบริหาร เพื่อให้กิจกรรมดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ

ขั้นสรุป  5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
-ประเมินผลการดำเนินกิจกรรม
-จัดทำรายงานผลการดำเนินกิจกรรม
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
-บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม

1/12/2566 ถึง
31/7/2567

 

 

1/12/2566 ถึง
31/7/2567

 

 

1/12/2566 ถึง
31/7/2567

 

 

นางสาวยุวดี พุทสอน





นางสาวปานรวี ภูศรี





นางสาวปานรวี ภูศรี





พัฒนางานทะเบียนนักเรียน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้มีการจัดระบบการบันทึก การรายงานผล และการส่งต่อข้อมูลของผู้เรียน
2. เพื่อให้ผู้เรียนมีเอกสารสำคัญแสดงวุฒิการศึกษา เพื่อการศึกษาต่อหรือทำงาน
2, เชิงปริมาณ
 1. นักเรียนทุกคนมีเอกสารที่ใช้ในการศึกษาต่อ หรือสมัครงาน
2. นักเรียนทุกคนมีเอกสารสำคัญที่แสดงความรู้/วุฒิการศึกษา

เชิงคุณภาพ
 1. มีข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาที่สมบูรณ์แบบ
2. มีการจัดกระทำข้อมูลสารสนเทศที่รวดเร็วและถูกต้อง
วิธีการ
 จำนวนนักเรียนที่จบการศึกษา
เครื่องมือ
 การสำรวจ

เงิน
อุดหนุนฯ
30,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : การพัฒนางานทะเบียน
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- แผนงาน/โครงการ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- คำสั่งการดำเนินงาน
ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- สำรวจวัสดุที่ต้องการใช้
- จัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- รายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- ประเมินการใช้งาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม

1/10/2566 ถึง
30/8/2567

 

 

นายศักดิ์สิทธิ์ ใจผ่อง





รับนักเรียน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อรับนักเรียนเข้าเรียนต่อโครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
2. เพื่อรับนักเรียนเข้าเรียนต่อโครงการห้องเรียนปกติในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
3. เพื่อให้รับนักเรียนในเขตบริการได้ครบ 100% ทุกคน
2, เชิงปริมาณ
 1. รับนักเรียนเข้าเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 36 คน และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 30 คน
2. รับนักเรียนเข้าเรียนต่อห้องเรียนปกติในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 จำนวน ระดับละ 10 ห้องเรียน
3. รับนักเรียนในเขตบริการได้ครบ 100% ทุกคน
เชิงคุณภาพ
 1. โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมได้รับนักเรียนเข้าเรียนต่อตามแผนการเรียนที่กำหนด โดยผ่านกระบวนการสอบคัดเลือกในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 (กรณีมีเหตุจำเป็นที่ไม่สามารถสอบคัดเลือกได้ ทางงานรับนักเรียนจะดูผลการเรียนจากค่าGPA ของนักเรียน)
วิธีการ
 ประเมินจากข้อมูลการรับนักเรียน
เครื่องมือ
 ประเมินจากข้อมูลการรับนักเรียน

เงิน
อุดหนุนฯ
39,645.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : รับสมัครนักเรียน
ขั้นเตรียม
 1.ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
1.1 จัดทำโครงการ
1.2 เสนอโครงการ
1.3 ประชุมชี้แจงคณะทำงาน เพื่อเตรียมการดำเนินงาน
1.4 ประชาสัมพันธ์การรับนักเรียนในระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 ปีการศึกษา 2567 ผ่านทางเวปไซด์โรงเรียนและจัดทำป้ายไวนิล
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงานงาน (T2)
2.1 ทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการรับสมัครนักเรียนห้องเรียนพิเศษและห้องเรียนปกติ
ขั้นดำเนินการ
 3.ขั้นตอนการปฏิบัติหน้าที่ตามภาระหน้าที่ (M1)
3.1 บันทึกขออนุญาตทำโครงการรับนักเรียน
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
4.1 รับสมัครนักเรียนโครงการห้องเรียนพิเศษฯ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 ดำเนินการจัดสอบ ประกาศผลสอบและมอบตัว
4.2 รับสมัครนักเรียนโครงการห้องเรียนปกติชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 ดำเนินการจัดสอบ ประกาศผลสอบและมอบตัว
ขั้นสรุป  5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
5.1.แจกแบบประเมินความพึงพอใจในการให้บริการในการสมัครเรียน
5.2 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
6.ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
5.1.แจกแบบประเมินความพึงพอใจในการให้บริการในการสมัครเรียน
5.2 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
6.ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
6.1 บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินโครงการ
6.2 สรุปผลประเมินโครงการ
6.3 จัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร
6.1 บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินโครงการ
6.2 สรุปผลประเมินโครงการ
6.3 จัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร

1/2/2566 ถึง
31/5/2567

 

 

นางสาวน้ำฝน ใจผ่อง





งานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้สถานศึกษาจัดวางระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนอย่างเป็นรูปธรรม มีขั้นตอนอย่างชัดเจน และมีความเป็นไปได้ในการปฏิบัติ
2. เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายให้ความร่วมมือในการวางระบบและดำเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาเป็นอย่างดี
3. เพื่อให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน/ท้องถิ่น และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความมั่นใจต่อระบบการบริหารและการจัดการของสถานศึกษาในระดับสูง
1,2,3,4,5, เชิงปริมาณ
 1. คณะครูและบุคลากรร้อยละ 98 มีส่วนร่วมในการประชุมเชิงปฏิบัติการการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2566 1 ครั้ง
2. คณะครูและบุคลากรร้อยละ 98 มีส่วนร่วมในการติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาจากหน่วยงานต้นสังกัดประจำปีการศึกษา 2566 1 ครั้ง
3. โรงเรียนมีรายงานการประเมินตนเองปีการศึกษา 2566 จำนวน 150 เล่ม

เชิงคุณภาพ
 1. โรงเรียนมีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาอยู่ในระดับดีเยี่ยม
2. โรงเรียนมีการติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาอยู่ในระดับดีเยี่ยม
3. โรงเรียนนำผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใช้วางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่องอยู่ในระดับดีเยี่ยม
4. โรงเรียนจัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายในอยู่ในระดับดีเยี่ยม
5. ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่าย มีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 อยู่ในระดับดีเยี่ยม
วิธีการ
 สัมภาษณ์ ตอบแบบสอบถาม
เครื่องมือ
 สัมภาษณ์ ตอบแบบสอบถาม

เงิน
อุดหนุนฯ
9,900.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : วางแผนปฏิบัติการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
ขั้นเตรียม
 การวางแผนทำงานเป็นทีม T1
1. เขียนแผนงาน/โครงการ
2. ประชุม
3. การเสนอโครงการเพื่ออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน T2
1. คำสั่งการดำเนินงาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ M1
1. ปฏิบัติตามภาระหน้าที่
2. บันทึกข้อความขอทำกิจกรรม
ขั้นการประสานงาน M2
1. ประสานงานกับฝ่ายต่างๆ

ขั้นสรุป  ขั้นประเมินผลโครงการ V1
1. จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจ
2. สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นการกำกับติดตาม V2
1. บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินโครงการ

กิจกรรมที่ 2 : จัดทำรายงานการประเมินตนเอง ประจำปีการศึกษา 2565
ขั้นเตรียม
 การวางแผนทำงานเป็นทีม T1
1. เขียนแผนงาน/โครงการ
2. ประชุม
3. การเสนอโครงการเพื่ออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน T2
1. คำสั่งการดำเนินงาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ M1
1. ปฏิบัติตามภาระหน้าที่
2. บันทึกข้อความขอทำกิจกรรม
ขั้นการประสานงาน M2
1. ประสานงานกับฝ่ายต่างๆ

ขั้นสรุป  ขั้นประเมินผลโครงการ V1
1. จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจ
2. สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นการกำกับติดตาม V2
1. บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินโครงการ

กิจกรรมที่ 3 : จัดทำเล่มรายงานการประเมินตนเอง ประจำปีการศึกษา 2565
ขั้นเตรียม
 การวางแผนทำงานเป็นทีม T1
1. เขียนแผนงาน/โครงการ
2. ประชุม
3. การเสนอโครงการเพื่ออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน T2
1. คำสั่งการดำเนินงาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ M1
1. ปฏิบัติตามภาระหน้าที่
2. บันทึกข้อความขอทำกิจกรรม
ขั้นการประสานงาน M2
1. ประสานงานกับฝ่ายต่างๆ

ขั้นสรุป  ขั้นประเมินผลโครงการ V1
1. จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจ
2. สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นการกำกับติดตาม V2
1. บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินโครงการ

กิจกรรมที่ 4 : เตรียมรับการประเมินจากต้นสังกัด
ขั้นเตรียม
 การวางแผนทำงานเป็นทีม T1
1. เขียนแผนงาน/โครงการ
2. ประชุม
3. การเสนอโครงการเพื่ออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน T2
1. คำสั่งการดำเนินงาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ M1
1. ปฏิบัติตามภาระหน้าที่
2. บันทึกข้อความขอทำกิจกรรม
ขั้นการประสานงาน M2
1. ประสานงานกับฝ่ายต่างๆ

ขั้นสรุป  ขั้นประเมินผลโครงการ V1
1. จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจ
2. สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นการกำกับติดตาม V2
1. บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินโครงการ

9/10/2566 ถึง
8/10/2567

 

 

9/10/2566 ถึง
8/10/2567

 

 

9/10/2566 ถึง
8/10/2567

 

 

9/10/2566 ถึง
8/10/2567

 

 

ครูสรินยา พรหมมา





ครูสรินยา พรหมมา และคณะ





ครูสรินยา พรหมมา และคณะ





ครูสรินยา พรหมมา และคณะ





งานนิเทศการศึกษา

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ครูได้รับการนิเทศ เพื่อพัฒนาคุณภาพและการจัดการเรียนการสอนสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรสถานศึกษา
2. เพื่อประเมินความพึงพอใจของครูที่ได้รับการนิเทศ
1,3,3,5, เชิงปริมาณ
 1. ครูร้อยละ 100 ได้รับการนิเทศ เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน อย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง
2. ครูร้อยละ 80 มีความพึงพอใจการดำเนินโครงการนิเทศการศึกษาในระดับดีขึ้นไป

เชิงคุณภาพ
 1. ครูที่ได้รับการนิเทศ มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตร สถานศึกษา ระดับดีขึ้นไป
2. ครูที่ได้รับการนิเทศมีความพึงพอใจการดำเนินโครงการนิเทศการศึกษาในระดับดีขึ้นไป
วิธีการ
 1. บันทึกผลการนิเทศ
2. ประเมินความพึงพอใจการดำเนินโครงการนิเทศการศึกษา

เครื่องมือ
 1. บันทึกผลการนิเทศ
2. ประเมินความพึงพอใจการดำเนินโครงการนิเทศการศึกษา

เงิน
อุดหนุนฯ
5,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : การนิเทศแบบกัลยาณมิตร
ขั้นเตรียม
 T1 : Team management to framework
1. มีการประชุมคณะกรรมการดำเนินโครงการนิเทศการศึกษาเพื่อวิเคราะห์โครงการ และกำหนดทิศทางการดำเนินงาน
T2 : Tabulation to organization
2. วางแผนการทำงานจัดทำคำสั่ง และแต่งตั้งผู้รับผิดชอบกิจกรรมนิเทศแบบกัลยาณมิตร
ขั้นดำเนินการ
 M1 : Management to command
1. คณะกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษา ดำเนินการกิจกรรมนิเทศแบบกัลยาณมิตร ตามแผนที่วางไว้
M2 : Making a correlation
2. มีการประสานงานร่วมกันระหว่างคณะกรรมการดำเนินการของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้และฝ่ายบริหารเพื่อให้กิจกรรมนิเทศแบบกัลยาณมิตรดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ขั้นสรุป  V1 : Validity to valuation
1. ติดตามและประเมินผลการดำเนินโครงการนิเทศการศึกษา
V2 : Variation from supervising
2. สรุป รายงานผล ปรับปรุง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อนำผลการประเมินมาปรับปรุงการให้การนิเทศภายในของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมมีการนิเทศ ติดตามอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง เพื่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน

8/10/2566 ถึง
7/10/2567

 

 

นางสาวภัททิรา เงาะลำดวน





ส่งเสริมการจัดทำงานวิจัยในชั้นเรียนเเละวิจัยระดับโรงเรียน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมให้ครูทำวิจัยในชั้นเรียนโดยใช้กระบวนการ PLC เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
2. เพื่อให้โรงเรียนมีงานวิจัยระดับโรงเรียนอย่างน้อย 1 เรื่องใน 1 ภาคการศึกษา
3. เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับผู้เรียน
1, เชิงปริมาณ
 1. ร้อยละ 80 ของครูมีการทำวิจัยในชั้นเรียนโดยใช้กระบวนการ PLC หรือ การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในวิชาที่ตนรับผิดชอบ อย่างน้อย 1 เรื่องใน 1 ภาคการศึกษา
2. โรงเรียนมีงานวิจัยระดับโรงเรียนอย่างน้อย 1 เรื่องใน 1 ปีการศึกษา
3. ร้อยละ80 ของผู้เรียนบรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรการศึกษาอย่างเต็มตามศักยภาพ
เชิงคุณภาพ
 1. ครูทุกคนมีผลการประเมินงานวิจัยในชั้นเรียน โดยใช้กระบวนการ PLC หรือ การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในวิชาที่ตนรับผิดชอบอยู่ในระดับผ่านขึ้นไป
2. โรงเรียนมีงานวิจัยระดับโรงเรียนที่เกิดจากความร่วมมือของครูในทุกระดับชั้นเรียน 3. ผู้เรียนบรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรการศึกษาอย่างเต็มตามศักยภาพ
วิธีการ
 - ประเมินความพึงพอใจ
เครื่องมือ
 - ประเมินความพึงพอใจ

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : ส่งเสริมการจัดทำงานวิจัยในชั้นเรียน
ขั้นเตรียม
 1. ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินโครงการส่งเสริมการจัดทำงานวิจัยในชั้นเรียนและวิจัยระดับโรงเรียน เพื่อวิเคราะห์โครงการและกำหนดทิศทางการดำเนินงาน
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- จัดทำคำสั่งและแต่งตั้งผู้รับผิดชอบกิจกรรมส่งเสริมการจัดทำงานวิจัยในชั้นเรียน

ขั้นดำเนินการ
 3. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
- คณะกรรมการดำเนินกิจกรรมตามแผนที่วางไว้
- ครูดำเนินการตามกระบวนการ PLC และดำเนินการทำการวิจัยในชั้นเรียน
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- มีการประสานงานร่วมกันระหว่างคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายบริหาร เพื่อให้กิจกรรมส่งเสริมการจัดทำงานวิจัยในชั้นเรียน ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ

ขั้นสรุป  5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- ผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพของงานวิจัยในชั้นเรียนและคัดเลือกงานวิจัยที่มีคุณภาพ
- ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมส่งเสริมการจัดทำงานวิจัยในชั้นเรียน
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- สรุป รายงานผล ปรับปรุง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อนำผลการประเมินมาปรับปรุงกิจกรรมส่งเสริมการจัดทำงานวิจัยในชั้นเรียน

กิจกรรมที่ 2 : การจัดทำงานวิจัยระดับโรงเรียน
ขั้นเตรียม
 1. ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินโครงการส่งเสริมการจัดทำงานวิจัยในชั้นเรียนและวิจัยระดับโรงเรียน เพื่อวิเคราะห์โครงการและกำหนดทิศทางการดำเนินงาน
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- จัดทำคำสั่งและแต่งตั้งผู้รับผิดชอบกิจกรรมการจัดทำงานวิจัยระดับโรงเรียน

ขั้นดำเนินการ
 3. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
- คณะกรรมการดำเนินกิจกรรมตามแผนที่วางไว้
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- มีการประสานงานร่วมกันระหว่างคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายบริหาร เพื่อให้กิจกรรมส่งเสริมการจัดทำงานวิจัยระดับโรงเรียน ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ

ขั้นสรุป  5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมการจัดทำงานวิจัยระดับโรงเรียน
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- สรุป รายงานผล ปรับปรุง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อนำผลการประเมินมาปรับปรุงกิจกรรมการจัดทำงานวิจัยระดับโรงเรียน

5/7/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

5/7/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

นางสาวณัฐกาญจน์ จานแก้ว





นางสาวณัฐกาญจน์ จานแก้ว





ตลาดนัดอาชีพ

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมตลาดนัดอาชีพ เพื่อค้นหาความถนัด และความสนใจเกี่ยวกับอาชีพ
1,1, เชิงปริมาณ
 1. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ทุกคน มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมตลาดนัดอาชีพ และค้นหาความถนัดตามความสนใจเกี่ยวกับอาชีพ
เชิงคุณภาพ
 1. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ทุกคน มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมตลาดนัดอาชีพ
วิธีการ
 ประเมินจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม
เครื่องมือ
 ประเมินจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : ตลาดนัดอาชีพ
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
-ประชุมคณะกรรมการงานแนะแนวเพื่อเตรียมเสนอแผนโครงการ
-ส่งบันทึกการประชุมให้ฝ่ายบริหารรับทราบ เพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
-ดำเนินการแต่งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบการปฏิบัติกิจกรรมโครงการ
ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
-บันทึกขออนุญาตฝ่ายบริหารเพื่อดำเนินกิจกรรมตามแผน
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
-ประสานงานแจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องที่รับผิดชอบตามคำสั่งดำเนินการตามกิจกรรม
-ลงชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม และถ่ายภาพระหว่างดำเนินกิจกรรม
ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
-ใช้แบบวัดความพึงพอใจประเมินผลการจัดกิจกรรม
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
-สรุปผลการประเมินกิจกรรมให้ฝ่ายบริหารรับทราบ

1/2/2567 ถึง
28/2/2567

 

 

นายยุทธิชัย อวยชัย





โครงการส่งเสริม สนับสนุนและช่วยเหลือนักเรียนเพชรท่ามะกาโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม

วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมนักเรียนเพชรท่ามะกา ให้ได้รับการยกเว้นค่าบำรุงการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1
1, เชิงปริมาณ
 1. นักเรียนระดับชั้น ม.3 ที่มีผลการเรียนดีเด่น (นักเรียนเพชรท่ามะกา) จำนวน 10 คน ได้รับการยกเว้นค่าบำรุงการศึกษาทั้งปีการศึกษา(ได้รับยกเว้นตอน ม.4 ภาคเรียนที่ 2 และ ม.5 ภาคเรียนที่ 1)
เชิงคุณภาพ
 1. นักเรียนที่มีผลการเรียนดีเด่น 10 อันดับแรก หลังสำเร็จการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และต้องได้เกรดเฉลี่ย 3.80 ขึ้นไป ได้รับยกเว้นค่าบำรุงการศึกษา (ได้รับยกเว้นตอน ม.4 ภาคเรียนที่ 2 และ ม.5 ภาคเรียนที่ 1)
วิธีการ
 ประเมินความพึงพอใจจากนักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการยกเว้นค่าบำรุงการศึกษา
เครื่องมือ
  ประเมินความพึงพอใจจากนักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการยกเว้นค่าบำรุงการศึกษา

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : นักเรียนเพชรท่ามะกา (ม.3 เรียนต่อ ม.4)
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
-ประชุมคณะกรรมการงานแนะแนวเพื่อเตรียมเสนอแผนโครงการ
-ส่งบันทึกการประชุมให้ฝ่ายบริหารรับทราบ เพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
-ดำเนินการแต่งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบการปฏิบัติกิจกรรมโครงการ
ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
-บันทึกขออนุญาตฝ่ายบริหารเพื่อดำเนินกิจกรรมตามแผน
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
-ประสานงานแจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องที่รับผิดชอบตามคำสั่งดำเนินการตามกิจกรรม
ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
-ใช้แบบวัดความพึงพอใจประเมินผลการจัดกิจกรรม
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
-สรุปผลการประเมินกิจกรรมให้ฝ่ายบริหารรับทราบ

1/9/2567 ถึง
30/9/2567

 

 

นางสาวณัฐชกานต์ วงศ์ศัย





โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ กิจกรรมส่งเสริมระบบงานแนะแนว

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมปัจฉิมนิเทศ
2. เพื่อให้นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีความประสงค์จะศึกษาต่อในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ได้สมัครเข้าเรียนตามเกณฑ์การรับนักเรียนโควตาของโรงเรียน
3. เพื่อให้นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 ทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมปฐมนิเทศ
4. เพื่อให้นักเรียนที่ได้รับทุนการศึกษาของโรงเรียนทุกคนได้เข้าร่วมพิธีมอบทุนการศึกษา
5. เพื่อให้นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนเขตพื้นที่บริการของโรงเรียนได้รับการประชาสัมพันธ์การรับสมัครเรียน
1,3, เชิงปริมาณ
 1. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมปัจฉิมนิเทศ
2. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ไม่น้อยกว่า 150 คน ผ่านเกณฑ์การรับสมัครนักเรียนโควตา
3. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 ทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมปฐมนิเทศ
4. นักเรียนที่ได้รับทุนการศึกษาของโรงเรียนทุกคนได้เข้าร่วมพิธีมอบทุนการศึกษา
5. นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนเขตพื้นที่บริการของโรงเรียน จำนวน 300 คน ได้รับการประชาสัมพันธ์การรับสมัครเรียน
เชิงคุณภาพ
 1. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ทุกคน มีความพึงพอใจต่อกิจกรรมปัจฉิมนิเทศ
2. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีความพึงใจต่อกิจกรรมการรับสมัครนักเรียนโควตา
3. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 ทุกคน พึงพอใจต่อกิจกรรมปัจฉิมนิเทศ
4. นักเรียนที่ได้รับทุนการศึกษาของโรงเรียน มีความพึงพอใจที่ได้เข้าร่วมพิธีมอบทุนการศึกษา
5. นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนเขตพื้นที่บริการของโรงเรียน มีความพึงพอใจต่อการประชาสัมพันธ์การรับสมัครเรียน
วิธีการ
 ประเมินจากความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม
เครื่องมือ
 ประเมินจากความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม

เงิน
อุดหนุนฯ
58,750.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : ปัจฉิมนิเทศ
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
-ประชุมคณะกรรมการงานแนะแนวเพื่อเตรียมเสนอแผนโครงการ
-ส่งบันทึกการประชุมให้ฝ่ายบริหารรับทราบ เพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
-ดำเนินการแต่งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบการปฏิบัติกิจกรรมโครงการ
ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
-บันทึกขออนุญาตฝ่ายบริหารเพื่อดำเนินกิจกรรมตามแผน ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
-ประสานงานแจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องที่รับผิดชอบตามคำสั่งดำเนินการตามกิจกรรม
-ลงชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม และถ่ายภาพระหว่างดำเนินกิจกรรม

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
-ใช้แบบวัดความพึงพอใจประเมินผลการจัดกิจกรรม
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
-สรุปผลการประเมินกิจกรรมให้ฝ่ายบริหารรับทราบ
กิจกรรมที่ 2 : รับนักเรียนโควตา
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
-ประชุมคณะกรรมการงานแนะแนวเพื่อเตรียมเสนอแผนโครงการ
-ส่งบันทึกการประชุมให้ฝ่ายบริหารรับทราบ เพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
-ดำเนินการแต่งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบการปฏิบัติกิจกรรมโครงการ
ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
-บันทึกขออนุญาตฝ่ายบริหารเพื่อดำเนินกิจกรรมตามแผน
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
-ประสานงานแจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องที่รับผิดชอบตามคำสั่งดำเนินการตามกิจกรรม
-ลงชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม และถ่ายภาพระหว่างดำเนินกิจกรรม
ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
-ใช้แบบวัดความพึงพอใจประเมินผลการจัดกิจกรรม
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
-สรุปผลการประเมินกิจกรรมให้ฝ่ายบริหารรับทราบ
กิจกรรมที่ 3 : ปฐมนิเทศนักเรียนใหม่
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
-ประชุมคณะกรรมการงานแนะแนวเพื่อเตรียมเสนอแผนโครงการ
-ส่งบันทึกการประชุมให้ฝ่ายบริหารรับทราบ เพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
-ดำเนินการแต่งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบการปฏิบัติกิจกรรมโครงการ
ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
-บันทึกขออนุญาตฝ่ายบริหารเพื่อดำเนินกิจกรรมตามแผน
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
-ประสานงานแจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องที่รับผิดชอบตามคำสั่งดำเนินการตามกิจกรรม
-ลงชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม และถ่ายภาพระหว่างดำเนินกิจกรรม
ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
-ใช้แบบวัดความพึงพอใจประเมินผลการจัดกิจกรรม
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
-สรุปผลการประเมินกิจกรรมให้ฝ่ายบริหารรับทราบ
กิจกรรมที่ 4 : มอบทุนการศึกษา
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
-ประชุมคณะกรรมการงานแนะแนวเพื่อเตรียมเสนอแผนโครงการ
-ส่งบันทึกการประชุมให้ฝ่ายบริหารรับทราบ เพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
-ดำเนินการแต่งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบการปฏิบัติกิจกรรมโครงการ
ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
-บันทึกขออนุญาตฝ่ายบริหารเพื่อดำเนินกิจกรรมตามแผน
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
-ประสานงานแจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องที่รับผิดชอบตามคำสั่งดำเนินการตามกิจกรรม
-ลงชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม และถ่ายภาพระหว่างดำเนินกิจกรรม
ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
-ใช้แบบวัดความพึงพอใจประเมินผลการจัดกิจกรรม
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
-สรุปผลการประเมินกิจกรรมให้ฝ่ายบริหารรับทราบ
กิจกรรมที่ 5 : แนะแนวสัญจร
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
-ประชุมคณะกรรมการงานแนะแนวเพื่อเตรียมเสนอแผนโครงการ
-ส่งบันทึกการประชุมให้ฝ่ายบริหารรับทราบ เพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
-ดำเนินการแต่งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบการปฏิบัติกิจกรรมโครงการ
ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
-บันทึกขออนุญาตฝ่ายบริหารเพื่อดำเนินกิจกรรมตามแผน
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
-ประสานงานแจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องที่รับผิดชอบตามคำสั่งดำเนินการตามกิจกรรม
-ลงชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม และถ่ายภาพระหว่างดำเนินกิจกรรม
ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
-ใช้แบบวัดความพึงพอใจประเมินผลการจัดกิจกรรม
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
-สรุปผลการประเมินกิจกรรมให้ฝ่ายบริหารรับทราบ

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

นายยุทธิชัย อวยชัย





นางสาวณัฐชกานต์ วงศ์ศัย





นางสาวณัฐชกานต์ วงศ์ศัย





นายยุทธิชัย อวยชัย





นายยุทธิชัย อวยชัย





ปรับปรุงห้องสมุด

วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ห้องสมุดมีเครื่องบันทึกสถิติอัตโนมัติที่ใช้งานได้ดี
2.เพื่อปรับปรุงผนังกั้นด้านบนบริเวณห้องน้ำกับพื้นที่ทำงานป้องกันกลิ่นไม่พึงประสงค์
5, เชิงปริมาณ
 1.เครื่องบันทึกสถิติอัตโนมัติ จำนวน 1 ชุด
2.ปรับปรุงผนังกั้นด้านบนบริเวณห้องน้ำกับพื้นที่ทำงาน จำนวน 1 จุด

เชิงคุณภาพ
 1.เครื่องบันทึกสถิติอัตโนมัติมีประสิทธิภาพ 2.ห้องสมุดมีผนังกั้นด้านบนบริเวณห้องน้ำกับพื้นที่ทำงานเพื่อป้องกันกลิ่นไม่พึงประสงค์
วิธีการ
 1.มีเครื่องบันทึกสถิติอัตโนมัติ 2.จากการดำเนินการปรับปรุงผนังกั้นด้านบนบริเวณห้องน้ำกับพื้นที่ทำงาน
เครื่องมือ
 ความพึงพอใจของผู้ใช้สถานที่

เงิน
อุดหนุนฯ
22,950.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : ปรับปรุงผนังกั้นด้านบนบริเวณห้องน้ำกับพื้นที่ทำงาน
ขั้นเตรียม
 ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
-ประชุมวางแผนการจัดกิจกรรม
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
-จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- ดำเนินการตามขั้นตอนการจัดซื้อ จัดจ้าง
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประสานงานกับทุกฝ่าย
- ดำเนินการปรับปรุง

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
1.ประเมินความพึงพอใจในการดำเนินงานโดยใช้แบบประเมิน
2.สรุปผลการดำเนินงานและนำข้อมูลมาปรับปรุงพัฒนางานต่อไป
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการปฏิบัติงานให้ฝ่ายบริหารทราบต่อไป

2/1/2567 ถึง
30/8/2567

 

 

นางสาวพลิมา อุตตโรพร





ส่งเสริมผู้เรียนให้มีความใฝ่รู้และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรมีแหล่งการเรียนรู้ที่สะดวก ทันสมัยในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ในด้านต่าง ๆ
2. เพื่อจัดประสบการณ์การเข้าใช้บริการห้องสมุด กระตุ้นความสนใจให้นักเรียนมีนิสัยรักการอ่านรักการเรียนรู้
2, เชิงปริมาณ
 1. นักเรียน ครูและบุคลากร โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม เข้าร่วมกิจกรรมและใช้บริการห้องสมุดร้อยละ 75 ขึ้นไป

เชิงคุณภาพ
 1. นักเรียน ครูและบุคลากร ร้อยละ 80 มีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมและเข้าใช้บริการห้องสมุด ในระดับมากขึ้นไป
วิธีการ
  สถิติการเข้าร่วมกิจกรรมและการเข้าใช้บริการ
เครื่องมือ
  ประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมและเข้าใช้บริการห้องสมุด

เงิน
อุดหนุนฯ
52,670.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : ส่งเสริมการอ่าน
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1.ประชุมคณะทำงานห้องสมุด
2.เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
1.สำรวจรายการวัสดุ อุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้ 2.ดำเนินการขออนุมัติจัดซื้อ

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
1.ดำเนินการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ หนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ ที่ต้องใช้ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
2.จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ดังนี้
2.1 กิจกรรมแนะนำหนังสือใหม่
2.2 กิจกรรมความรู้วันสำคัญต่าง ๆ
2.3 กิจกรรมตอบปัญหาเกมเศรษฐีประจำเดือน
2.4 กิจกรรมตอบปัญหาออนไลน์
2.5 กิจกรรมหนังสือสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ
2.6 กิจกรรมหนังสือพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้าฯ
2.7 กิจกรรมคิดจากข่าว
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประสานงานกับทุกฝ่าย

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
1.ประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆโดยใช้แบบสอบถามและแบบประเมิน
2.สรุปผลการดำเนินงานและนำข้อมูลมาปรับปรุงพัฒนางานต่อไป

กิจกรรมที่ 2 : สัปดาห์ห้องสมุด
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
-ประชุมวางแผนการจัดกิจกรรม
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
-จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
-ประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรม
-จัดกิจกรรมสัปดาห์ห้องสมุด ระหว่างวันที่ 9-11 สิงหาคม 2566
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประสานงานกับทุกฝ่าย

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
1.ประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆโดยใช้แบบสอบถามและแบบประเมิน
2.สรุปผลการดำเนินงานและนำข้อมูลมาปรับปรุงพัฒนางานต่อไป ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการปฏิบัติงานให้ฝ่ายบริหารทราบต่อไป

1/11/2566 ถึง
25/9/2567

 

 

1/11/2566 ถึง
25/9/2567

 

 

นางสาวกุลิสรา มากศิริ





นางสาวพลิมา อุตตโรพร





พัฒนาคุณภาพโรงเรียนมาตรฐานสากล

วัตถุประสงค์
1. เพื่อยกระดับ คุณภาพโรงเรียนให้มีการจัดการเรียนการสอนและการบริหารระบบคุณภาพ
2. เพื่อส่งเสริมความรู้ และความเข้าใจให้กับครูผู้สอนเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนในสาระการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
1,2, เชิงปริมาณ
 1. มีการจัดเวทีศักยภาพผู้เรียน 1 ครั้งต่อปีการศึกษา

เชิงคุณภาพ
 1. นักเรียนมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมอยู่ในระดับ ดีขึ้นไป
วิธีการ
  แบบประเมิน
เครื่องมือ
  แบบประเมินความพึงพอใจ

เงิน
อุดหนุนฯ
5,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมส่งเสริมนักเรียนให้มีทักษะการสื่อสารและนำเสนอ
ขั้นเตรียม
 การวางแผนทำงานเป็นทีม T1
1 ประชุมคณะทำงาน
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน T2
1 จัดทำแผนปฏิบัติงาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ M1
1. จัดกิจกรรมตามแผนปฏิบัติงานที่กำหนด
ขั้นการประสานงาน M2
1.นิเทศติดตามการปฏิบัติงานในทุกกิจกรรมตามแผนปฏิบัติงานที่กำหนด

ขั้นสรุป  V1 การประเมินผล
1.ประเมินผลการปฏิบัติงานโดยใช้แบบสอบถามและแบบประเมิน
ขั้นการกำกับติดตาม V2
1.รายงานผลการปฏิบัติงานและนำข้อมูลมาปรับปรุงพัฒนางานต่อไป

1/1/2567 ถึง
28/2/2567

 

 

ครูธวัชชัย วิเศษสิงห์





โรงเรียนในศตวรรษที่ 21

วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมความรู้ และความเข้าใจให้กับครูผู้สอนเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
เชิงปริมาณ
 1. ครูผู้สอนอย่างน้อยร้อยละ 90 มีแผนการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

เชิงคุณภาพ
 1. ครูผู้สอนมีผลการประเมินแผนการจัดการเรียนรู้อยู่ในระดับดีขึ้นไป
วิธีการ
  แบบประเมิน
เครื่องมือ
  แบบประเมิน

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : พัฒนางานโรงเรียนในศตวรรษที่ 21
ขั้นเตรียม
 1.ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินโครงการพัฒนาโครงการโรงเรียนในศตวรรษที่21 เพื่อวิเคราะห์โครงการและกำหนดทิศทางการดำเนินงาน
2.ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- จัดทำคำสั่งและแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ

ขั้นดำเนินการ
 3.ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
- คณะกรรมการดำเนินงานตามแผนที่วางไว้
4.ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- มีการประสานงานร่วมกันระหว่างคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายบริหาร

ขั้นสรุป  5.ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- ประเมินผลการดำเนินงาน
6.ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- สรุป รายงานผล และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อนำผลการประเมินมาปรับปรุงและนำเสนอฝ่ายบริหาร

31/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

ครูธวัชชัย วิเศษสิงห์





สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อสนองพระราชดำริโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ.)
2. เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ผู้เรียนและบุคลากรครูในโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม มีความรัก และเห็นคุณค่าของพืชพรรณและทรัพยากร
3. เพื่อให้โรงเรียนเป็นแหล่งรวบรวมตัวอย่างพรรณไม้ ข้อมูลพรรณไม้
4. เพื่อให้ผู้เรียนและบุคลากรครูในโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช
5. เพื่อให้ผู้เรียนและบุคลากรครูในโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเกิดการเรียนรู้และการทำงานร่วมกันอย่างมีระบบ
1,2, เชิงปริมาณ
 1. ผู้เรียนและบุคลากรครูโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ร้อยละ 90 มีส่วนร่วมในการศึกษาพืชศึกษาในบริเวณพื้นที่ศึกษา
2. ผู้เรียนและบุคลากรครูโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเกิดการเรียนรู้และการทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ

เชิงคุณภาพ
 1. ผู้เรียนและบุคลากรครูโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเกิดจิตสำนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชและทรัพยากร ในระดับดีเลิศ
2. ผู้เรียนและบุคลากรครูโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเกิดการเรียนรู้และการทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ
วิธีการ
 ประเมินความพึงพอใจ
เครื่องมือ
 ประเมินความพึงพอใจ

เงิน
อุดหนุนฯ
83,315.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : การบริหารจัดการ
ขั้นเตรียม
 - ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน
- ทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน

ขั้นดำเนินการ
 - เข้าอบรมกับโครงการ อพ.สธ.
- จัดอบรมให้กับครู บุคลากร และนักเรียน โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม

ขั้นสรุป  1. ประเมินผลการปฏิบัติงานโดยใช้แบบสอบถามและแบบประเมิน
2. รายงานผลการปฏิบัติงานและนำข้อมูลมาปรับปรุงพัฒนางานต่อไป

กิจกรรมที่ 2 : การดำเนินงาน 5 องค์ประกอบ
ขั้นเตรียม
 - ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์ เพื่อวางแผนขั้นตอนดำเนินงาน 5 องค์ประกอบ
ขั้นดำเนินการ
 - ทำป้ายแผนผังพรรณไม้และแสดงตำแหน่งพรรณไม้
- ทำป้ายชื่อพรรณไม้ และติดป้ายรหัสประจำต้น
- ทำพรรณไม้อัดแห้ง เก็บตัวอย่างพรรณไม้เฉพาะส่วน
- จัดทำเอกสารใบงาน ก.7-003

ขั้นสรุป  1. ประเมินผลการปฏิบัติงานโดยใช้แบบสอบถามและแบบประเมิน
2. รายงานผลการปฏิบัติงานและนำข้อมูลมาปรับปรุงพัฒนางานต่อไป

กิจกรรมที่ 3 : สำรวจพรรณไม้ในบริเวณโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
ขั้นเตรียม
 - ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน เพื่อวางแผน ดำเนินการ
ขั้นดำเนินการ
 - เลือกพื้นที่ศึกษาในการสำรวจพรรณไม้
- สำรวจพรรณไม้ในพื้นที่ศึกษาเพิ่มเติม
- จำแนกชนิดและจำนวนต้นที่พบ บันทึกข้อมูล
- จำแนกลักษณะวิสัยพืชที่สำรวจ
- จัดหาพรรณไม้ และการปลูกพรรณไม้ในโรงเรียน

ขั้นสรุป  - สรุปจำนวนชนิดและจำนวนต้นไม้ที่พบ
- สรุปรายงานผลการประเมินกิจกรรม

กิจกรรมที่ 4 : รายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นเตรียม
 - รวบรวมข้อมูลจากการศึกษาในแต่ละกิจกรรม
ขั้นดำเนินการ
 - บันทึกข้อมูลลงในคอมพิวเตอร์
ขั้นสรุป  - จัดทำเล่มและเข้าเล่มรายงาน

6/11/2566 ถึง
20/9/2567

 

 

6/11/2566 ถึง
20/9/2567

 

 

6/11/2566 ถึง
20/9/2567

 

 

6/11/2566 ถึง
20/9/2567

 

 

นางสาวศรัณย์ภรณ์ เสนาวงศ์





นางสาวศรัณย์ภรณ์ เสนาวงศ์





นางสาวศรัณย์ภรณ์ เสนาวงศ์





นางสาวศรัณย์ภรณ์ เสนาวงศ์





การพัฒนาสื่อและแหล่งเรียนรู้ทางภาษาไทย

วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ครูมีเครื่องมือและสื่อการสอนพร้อมจะพัฒนาและนำสื่อนวัตกรรมหลากหลายรูปแบบมาดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
2.เพื่อให้ผู้เรียนมีสื่อ นวัตกรรมทางภาษาไทย
5, เชิงปริมาณ
 1. ผู้เรียนอย่างน้อยร้อยละ 95 มีสื่อ นวัตกรรมทางภาษาไทย
2. เพื่อให้มีวัสดุ อุปกรณ์ในการเรียนการสอนอย่างเพียงพอกับครูทุกคนในกลุ่มสาระภาษาไทย

เชิงคุณภาพ
 1. แบบประเมิน โครงการอยู่ในเกณฑ์ดี ร้อยละ 80
2 มีความพึงพอใจต่อบรรยากาศสิ่งแวดล้อมและสื่อที่ดีหลากหลาย อยู่ในระดับดีเยี่ยม
วิธีการ
  สัมภาษณ์ ตอบแบบสอบถาม
เครื่องมือ
  สัมภาษณ์ ตอบแบบสอบถาม

เงิน
อุดหนุนฯ
15,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : การพัฒนาสื่อและแหล่งเรียนรู้ทางภาษาไทย
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- จัดทำโครงการ
- เสนอกิจกรรมเพื่ออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง และออกคำสั่งการดำเนินงาน
ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M 1)
- บันทึกขออนุญาตทำ กิจกรรม
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประชุมเชิงปฏิบิติการ จัด ทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2567
ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการประเมินกิจกรรม

6/10/2566 ถึง
5/9/2567

 

 

นางสาววันลิษา ขำอิ่ม,นางสาวนันทิพร วงษ์ดาว





ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ภาษาไทย

วัตถุประสงค์
1. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยในระดับ 2.5 ขึ้นไปร้อยละ 74
2. เพื่อให้ผู้เรียนมีคะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียนวิชาภาษาไทยในการทดสอบทางการศึกษาขั้นพิ้นฐานระดับชาติ(O-NET) สูงขึ้นร้อยละ 3
1, เชิงปริมาณ
 1. ผู้เรียนร้อยละ 74 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยในระดับ 2.5 ขึ้นไป
2. ผู้เรียนมีผลการทดสอบภาษาไทยระดับชาติสูงกว่าระดับเขตพื้นที่และระดับประเทศ

เชิงคุณภาพ
 1. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยในระดับ 2.5 ขึ้นไปร้อยละ 74
2. คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียนวิชาภาษาไทยในการทดสอบทางการศึกษาขั้นพิ้นฐานระดับชาติ(O-NET) สูงขึ้นร้อยละ 3
วิธีการ
 ดำเนินตามขั้นตอนกิจกรรม ให้ผู้เรียนได้เข้าร่วมทดสอบตามวันและเวลาที่ สทศ.กำหนด
เครื่องมือ
 ดำเนินตามขั้นตอนกิจกรรม ให้ผู้เรียนได้เข้าร่วมทดสอบตามวันและเวลาที่ สทศ.กำหนด

เงิน
อุดหนุนฯ
3,695.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมสอนเสริมเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
1. ประชุมครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จัดทำโครงการ เสนอกิจกรรมเพื่ออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
1. ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง วางแผนการปฏิบัติงาน และออกคำสั่งการดำเนินงานเพื่อมอบหมายรายวิชาที่สอนเสริมและติวข้อสอบ

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
1. บันทึกข้อความขออนุญาตจัดกิจกรรม จัดทำแบบทดสอบพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาภาษาไทยและจัดหาสื่อ วัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรม
ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
1. ประสานวิทยากรในการติว O-NET ม.3 และ ม.6
2. ประสานครูที่เกี่ยวข้องร่วมจัดกิจกรรมสอนเสริมเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
1. สรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
2. สรุปผลความพึงพอใจของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม
3. วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดจากการดำเนินงาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
1. รายงานผลการประเมินการจัดกิจกรรม กำหนดแนวทางการปรับปรุงการดำเนินงานในครั้งต่อไป
2. จัดทำข้อเสนอเพิ่มเติม

กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาทักษะทางภาษาไทย
ขั้นเตรียม
 1. ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- ประชุมครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จัดทำโครงการและขออนุมัติ
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการกิจกรรมสอนเสริม
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- ประชุมคณะกรรมการดำเนินการและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยจัดคาบสอนเสริมให้กับคุณครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ขั้นดำเนินการ
 3. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
- จัดทำชุดฝึกทักษะสำหรับนักเรียนแต่ละระดับ
- จัดซื้ออุปกรณ์ที่ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ต่างๆ
- นักเรียนฝึกฝนตลอดภาคเรียน
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- ประสานงานระหว่างคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายบริหาร เพื่อให้กิจกรรมดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ

ขั้นสรุป  5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- ประเมินผลการจัดกิจกรรม
- ประเมินผลและรายงานผลการปฏิบัติงาน
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- ตรวจสอบและรายงานการจัดกิจกรรมของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

นายสุชาติ จงเจริญไพสิฐ และคณะ





นายสุชาติ จงเจริญไพสิฐ





วันภาษาไทยและวันสุนทรภู่

วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะกระบวนการเรียนรู้ภาษาไทย
2. เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการอ่าน การฟัง การดู การพูด การเขียน และการคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ.
3. เพื่อให้ผู้เรียนมีจิตสำนึกรักความเป็นไทยและเห็นความสำคัญของภาษาไทย
2, เชิงปริมาณ
 1. ผู้เรียนร้อยละ 95 เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาทักษะวิชาการของกลุ่มสาระภาษาไทย
2. ผู้เรียนร้อยละ 95 สามารถเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
3. ผู้เรียนร้อยละ 95 มีจิตสำนึกรักความเป็นไทยและเห็นความสำคัญของภาษาไทย

เชิงคุณภาพ
 1. ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาทักษะวิชาการของกลุ่มสาระภาษาไทย ได้พัฒนาทักษะการเรียนรู้ ทั้งการอ่าน การฟัง การดู การพูด การเขียนและการคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ที่สามารถนำความรู้และทักษะไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
2. ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
3. ผู้เรียนมีจิตสำนึกรักความเป็นไทยและเห็นความสำคัญของภาษาไทย เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านการอนุรักษ์ภาษาและความเป็นไทย
วิธีการ
 ให้ผู้เข้ารร่วมกิจกรรมทำแบบประเมิน
เครื่องมือ
 ให้ผู้เข้ารร่วมกิจกรรมทำแบบประเมิน

เงิน
อุดหนุนฯ
37,100.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมวันสุนทรภู่
ขั้นเตรียม
 T1-ประชุมคณะทำงานเตรียมการ กำหนดเป้าหมายและระดับความสำเร็จของกิจกรรม
T2-แต่งตั้งคณะทำงาน จัดทำปฏิทินปฏิบัติงานและประชุมชี้แจง

ขั้นดำเนินการ
 M1-คณะทำงานดำเนินงานตามคำสั่ง
-ประชาสัมพันธ์และเปิดรับสมัครนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมการประกวดและแข่งขัน
- จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์, รางวัล ที่ใช้ในการจัด กิจกรรมทั้งหมด ได้แก่ ของรางวัล เกียรติบัตร วัสดุอุปกรณ์ในการทำฉาก (Cut Out เวทีกิจกรรม)
- ดำเนินการประกวดและแข่งขันกิจกรรมต่าง ๆ
- จัดเตรียมนิทรรศการและสถานที่ในการจัดกิจกรรม
M2-ประสานงานกับระหว่างคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทุกส่วนภายในโรงเรียน เพื่อให้การดำเนินการจัดกิจกรรมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

ขั้นสรุป  V1- ประเมินผลการปฏิบัติงานโดยใช้แบบสอบถามและแบบประเมิน และสรุปผลการปฏิบัติงาน
V2- รายงานผลการปฏิบัติงานและนำข้อมูลมาปรับปรุงพัฒนางานต่อไป

กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมวันภาษาไทย
ขั้นเตรียม
 T1-ประชุมคณะทำงานเตรียมการ กำหนดเป้าหมายและระดับความสำเร็จของกิจกรรม
T2-แต่งตั้งคณะทำงาน จัดทำปฏิทินปฏิบัติงานและประชุมชี้แจง

ขั้นดำเนินการ
 M1-คณะทำงานดำเนินงานตามคำสั่ง
-ประชาสัมพันธ์และเปิดรับสมัครนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมการประกวดและแข่งขัน
- จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์, รางวัล ที่ใช้ในการจัด กิจกรรมทั้งหมด ได้แก่ ของรางวัล เกียรติบัตร วัสดุอุปกรณ์ในการทำฉาก (Cut Out เวทีกิจกรรม)
- ดำเนินการประกวดและแข่งขันกิจกรรมต่าง ๆ
-. จัดเตรียมนิทรรศการและสถานที่ในการจัดกิจกรรม
M2-ประสานงานกับระหว่างคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทุกส่วนภายในโรงเรียน เพื่อให้การดำเนินการจัดกิจกรรมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

ขั้นสรุป  V1- ประเมินผลการปฏิบัติงานโดยใช้แบบสอบถามและแบบประเมิน และสรุปผลการปฏิบัติงาน
V2- รายงานผลการปฏิบัติงานและนำข้อมูลมาปรับปรุงพัฒนางานต่อไป

1/6/2567 ถึง
31/8/2567

 

 

1/6/2567 ถึง
31/8/2567

 

 

นางสาวสุพรรณี ยิ่งทวีศักดิ์และคณะกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย





นางสาวสุพรรณี ยิ่งทวีศักดิ์และคณะกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย





ส่งเสริมความเป็นเลิศทางทักษะภาษาไทย

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษทางทักษะภาษาไทยได้แสดงความสามารถทางด้าน การอ่าน การพูด และการเขียน
2. เพื่อให้ผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษทางทักษะภาษาไทยได้รับการส่งเสริมความสามารถทางด้าน การอ่าน การพูด และการเขียน
1, เชิงปริมาณ
 1. ผู้เรียนร้อยละ 80 ที่มีความสามารถพิเศษทางทักษะภาษาไทยได้เข้าร่วมการแข่งขันทักษะ ความสามารถทางด้าน การอ่าน การพูด และการเขียน
2. ผู้เรียนร้อยละ 80 ที่มีความสามารถพิเศษทางทักษะภาษาไทยได้รับการส่งเสริมความสามารถทางด้าน การอ่าน การพูด และการเขียน

เชิงคุณภาพ
 1. ผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษทางทักษะภาษาไทยมีความพึงพอใจในการได้แสดงความสามารถทางด้าน การอ่าน การพูด และการเขียน
วิธีการ
 1. ประเมินการเข้าร่วมของผู้เรียนในแข่งขันทักษะ ความสามารถทางด้าน การอ่าน การพูด และการเขียน
2. ประเมินผู้เรียนที่ได้รับการส่งเสริมความสามารถทางด้าน การอ่าน การพูด และการเขียน
-
เครื่องมือ
 1. ประเมินผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษทางทักษะภาษาไทยมีความพึงพอใจในการได้แสดงความสามารถทางด้าน การอ่าน การพูด และการเขียน

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : การแข่งขันทักษะทางภาษาไทย
ขั้นเตรียม
 T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศ
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการดำเนินงานทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศฝึกซ้อมนักเรียน เเละเตรียมการแข่งขัน

ขั้นดำเนินการ
 M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการดำเนินงานทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศฝึกซ้อมนักเรียนเเละเตรียมการแข่งขัน
M2 การประสานงาน
4. คณะกรรมการดำเนินงานทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศประสานงานแข่งขันในแต่ละรายการ
5. งานพัสดุจัดซื้อวัสดุเเละอุปกรณ์ต่าง ๆ
6. คณะครู เเละ นักเรียนเบิกวัสดุอุปกรณ์ไปใช้ในการฝึกซ้อม

ขั้นสรุป  V1 การประเมินผล
7. รายงานผลการดำเนินงานทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศ
V2 การกำกับติดตาม
8. ติดตามผลการดำเนินงานทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศ

1/11/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

นางสาวอัจฉรียา พรมประเสริฐ





คลินิกหมอภาษา

วัตถุประสงค์
1. เพื่อแก้ไขปัญหาอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้และนักเรียนอ่านไม่คล่องเขียนไม่คล่อง
2. เพื่อพัฒนาและส่งเสริมให้นักเรียนใช้ภาษาไทยให้ถูกต้องเหมาะสมมากขึ้น
1,4,5, เชิงปริมาณ
 1. นักเรียนที่มีปัญหาเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทย ร้อยละ ๘๐ ได้รับการแก้ไขให้ใช้ภาษาไทยได้ถูกต้องเหมาะสม
เชิงคุณภาพ
 1. นักเรียนที่มีปัญหาเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทยสามารถใช้ทักษะทางภาษาไทยในการสื่อสารได้ถูกต้องชัดเจน มีความรู้และทักษะที่จำเป็นต่อหลักสูตรอยู่ในระดับดี
วิธีการ
 - ทดสอบการอ่าน ทดสอบการเขียน
เครื่องมือ
  - ทดสอบการอ่าน ทดสอบการเขียน

เงิน
อุดหนุนฯ
5,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : คลินิกหมอภาษา
ขั้นเตรียม
 1.ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- ประชุมครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จัดทำโครงการและขออนุมัติ
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ
ขั้นดำเนินการ
 1. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
- จัดทำแบบฝึกทักษะสำหรับนักเรียนแต่ละคน
- จัดซื้ออุปกรณ์ที่ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ต่างๆ
- นักเรียนฝึกฝนตลอดภาคเรียน
2. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- ประสานงานระหว่างคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายบริหาร เพื่อให้กิจกรรมดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ขั้นสรุป  1. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- ประเมินผลการจัดกิจกรรม
– ประเมินผลและรายงานผลการปฏิบัติงาน
2. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- ตรวจสอบและรายงานการจัดกิจกรรมของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

นางสาวจีระวรรณ พรศิริ และคณะ





พัฒนาผู้เรียนให้มีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้เรียนได้แสดงความรู้ความสามารถเกี่ยวกับทักษะทางคณิตศาสตร์
2. เพื่อให้ผู้เรียนได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันอันจะนำไปสู่การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้
เชิงปริมาณ
 1. นำนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันทักษะทางคณิตศาสตร์และเกมกีฬาทางคณิตศาสตร์ กับหน่วยงานภายนอก จำนวนอย่างน้อย 5 รายการ
เชิงคุณภาพ
 1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความพึงพอใจในระดับดีขึ้นไป
วิธีการ
 รายงานผลการเข้าร่วมกิจกรรม
เครื่องมือ
 ประเมินความพึงพอใจ

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : การฝึกฝนทักษะทางคณิตศาสตร์และเกมกีฬาทางคณิตศาสตร์ และส่งนักเรียนแข่งขันหน่วยงานภายนอก
ขั้นเตรียม
 การวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
1. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
2. ขออนุมัติโครงการ
3. ประชุมหารือกำหนดแนวทางในการดำเนินงานร่วมกัน
การกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
1. แต่งตั้ง/มอบหมายคณะกรรมการดำเนินงาน

ขั้นดำเนินการ
 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
1. คณะกรรมการดำเนินงานฝึกซ้อมนักเรียน เตรียมการแข่งขัน และนำนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันกับหน่วยงานภายนอกต่อไป การประสานงาน (M2)
1. คณะกรรมการดำเนินงานติดต่อประสานงานการแข่งขันในแต่ละรายการกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

ขั้นสรุป  การประเมินผล (V1)
1. จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจ
2. สรุป/รายงานผลการดำเนินงานของโครงการ
การกำกับติดตาม (V2)
1. บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินโครงการ

1/10/2566 ถึง
31/8/2567

 

 

1. นายณัฐพล กลีบสัตบุตร
2. นายมนตรี แต่งจันทร์





พัฒนาผู้เรียนคิดเป็นทำเป็น

วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ให้มีความรู้เกี่ยวกับกิจกรรม STEM ศึกษา
2. เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนมีทักษะกระบวนการทางด้านคณิตศาสตร์เพิ่มเติมจากในบทเรียน
1,3, เชิงปริมาณ
 1.ส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับกิจกรรม STEM ศึกษา ให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 360 คน เวลา 2 วัน
2. ปรับความรู้และทักษะกระบวนการทางด้านคณิตศาสตร์เพิ่มเติมจากในบทเรียน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 360 คน เวลา 2 วัน

เชิงคุณภาพ
 1. นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เกี่ยวกับกิจกรรม STEM ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
2. นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และทักษะกระบวนการทางด้านคณิตศาสตร์ ผ่านเกณฑ์ตามหลักสูตร ร้อยละ 90
วิธีการ
 การตรวจสมุดค่ายคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เครื่องมือ
 การสังเกต การตรวจสอบการเข้าร่วมกิจกรรม

เงิน
อุดหนุนฯ
47,592.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : ค่ายคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
- ขออนุมัติโครงการ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินกิจกรรม
- ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
- บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรมและขออนุมัติออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินกิจกรรม
- ดำเนินการจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์
ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- ประชุมครูในกลุ่มสาระฯ เพื่อวางแผนงาน
- ติดต่อประสานงานสำรวจสถานที่ตามความเหมาะสม
- ประสานงานวิทยากรภายนอก
- จัดเตรียมเอกสาร วัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- ตรวจสอบรายงานกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์
- ประเมินผลและบันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม

1/5/2567 ถึง
30/7/2567

 

 

นายมนตรี แต่งจันทร์





โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ตามหลักสูตร และผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) วิชาคณิตศาสตร์ให้สูงขึ้น
เชิงปริมาณ
 1. จำนวนผู้เรียนร้อยละ 69 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ในระดับ 2.5 ขึ้นไป
2. คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียนวิชาคณิตศาสตร์ในการทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับชาติ (O-NET) สูงขึ้นร้อยละ 3

เชิงคุณภาพ
 1. คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียนวิชาคณิตศาสตร์สูงกว่าหรือเท่ากับคะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัดหรือ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา
วิธีการ
 1. ตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
2. ตรวจสอบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)

เครื่องมือ
 1. ตรวจสอบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)

เงิน
อุดหนุนฯ
4,800.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมคิดเลขคล่องก่อนขึ้น ม.2
ขั้นเตรียม
 1.ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- จัดทำบันทึกข้อความดำเนินกิจกรรม
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ

ขั้นดำเนินการ
 3. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
- จัดทำสมุดแบบฝึกหัดคิดเลขคล่องก่อนขึ้น ม.2
- ดำเนินการจัดกิจกรรมตามกำหนดการ (ครูผู้สอน ม.1 กำหนดให้นักเรียนได้ฝึกคิดเลขทุกครั้งๆละ 1 หน้าก่อนเริ่มเรียนตลอดปีการศึกษา)
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- ประสานงานระหว่างคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายบริหาร เพื่อให้กิจกรรมดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ

ขั้นสรุป  5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- ประเมินผลการจัดกิจกรรม
– ประเมินผลและรายงานผลการปฏิบัติงาน
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- ตรวจสอบและรายงานการจัดกิจกรรมของกลุ่มสาระคณิตศาสตร์

กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมติวเข้มคณิตเข้า ม.4 และพิชิตคณิต A-Level
ขั้นเตรียม
 1.ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- จัดทำบันทึกข้อความดำเนินกิจกรรม
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ

ขั้นดำเนินการ
 3. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
- ประชาสัมพันธ์และรับสมัครนักเรียน ม.2-ม.3 และ ม.5-ม.6
- จัดทำหลักสูตรในการจัดกิจกรรมและเอกสารประกอบการจัดกิจกรรม
- ดำเนินการจัดกิจกรรมสอนเสริมตามกำหนดการ
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- ประสานงานระหว่างคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายบริหาร เพื่อให้กิจกรรมดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ

ขั้นสรุป  5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- ประเมินผลการจัดกิจกรรม
– ประเมินผลและรายงานผลการปฏิบัติงาน
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- ตรวจสอบและรายงานการจัดกิจกรรมของกลุ่มสาระคณิตศาสตร์

กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมสัปดาห์แข่งขันทักษะทางคณิตศาสตร์ (Math Challenge Week)
ขั้นเตรียม
 ขั้นเตรียมการ
1.ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- จัดทำบันทึกข้อความดำเนินกิจกรรม
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นดำเนินการ
3. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
- จัดทำตารางการแข่งขันและเอกสารการจัดกิจกรรม
- ดำเนินการจัดการแข่งขันตามกำหนดการ
- จัดทำเกียรติบัตรและจัดเตรียมรางวัล
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- ประสานงานระหว่างคณะกรรมการดำเนินการเพื่อให้กิจกรรมดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ

ขั้นสรุป  ชั้นสรุป
5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- ประเมินผลการจัดกิจกรรมและรายงานผลการปฏิบัติงาน
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- ตรวจสอบและรายงานการจัดกิจกรรมของกลุ่มสาระคณิตศาสตร์

1/11/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

1/11/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

1/11/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

นางสาวปานรวี ภูศรี





นางสาวปานรวี ภูศรี





นางสาวปานรวี ภูศรี





การพัฒนาสื่อและแหล่งเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ครูมีเครื่องมือและสื่อการสอนพร้อมจะพัฒนาและนำสื่อนวัตกรรมหลากหลายรูปแบบมาดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
2. เพื่อให้ผู้เรียนมีสื่อ นวัตกรรมทางคณิตศาสตร์
2, เชิงปริมาณ
 1. ผู้เรียนอย่างน้อยร้อยละ 95 มีสื่อ นวัตกรรมทางคณิตศาสตร์
2. เพื่อให้มีวัสดุ อุปกรณืในการเรียนการสอนอย่างเพียงพอกับครูทุกคนในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์

เชิงคุณภาพ
 1. แบบประเมินโครงการอยู่ในเกณฑ์ดี ร้อยละ 80
2. มีความพึงพอใจต่อบรรยากาศสิ่งแวดล้อมและสื่อที่ดีหลากหลาย อยู่ในระดับดีเยี่ยม
วิธีการ
  การสังเกต
เครื่องมือ
  การประเมินความพึงพอใจ

เงิน
อุดหนุนฯ
15,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : พัฒนาสื่อและแหล่งเรียนรู้
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- จัดทำโครงการ
- เสนอกิจกรรมเพื่ออนุมัติ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง และออกคำสั่งการดำเนินงาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประชุมเชิงปฏิบิติการ จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2566

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปรายงานผลการดำเนินงาน ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการประเมินกิจกรรม

1/10/2566 ถึง
1/1/2567

 

 

นายนรุตม์ รัชชประภาพรกุล





การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมหาความรู้ด้วยตนเองจากนิทรรศการคณิตศาสตร์วันวิชาการและวันวิทยาศาสตร์ แหล่งเรียนรู้และสื่อต่างๆ รอบตัว
2. เพื่อแข่งขันทักษะทางวิชาการด้านคณิตศาสตร์
3. เพื่อฝึกให้นักเรียนได้ร่วมกันคิดอย่างมีระบบ คิดอย่างมีเหตุผลตามหลักคณิตศาสตร์
1, เชิงปริมาณ
 1. นักเรียนร้อยละ 80 เข้าร่วมกิจกรรมคณิตศาสตร์วันวิชาการและสัปดาห์วิทยาศาสตร์ มีความพึงพอใจและได้รับความรู้เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

เชิงคุณภาพ
 1.นักเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความพึงพอใจต่อ การจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ในวันวิชาการและสัปดาห์วิทยาศาสตร์ อยู่ในระดับดีเยี่ยม
วิธีการ
 ลงชื่อเข้าร่วมกิจกรรม
เครื่องมือ
 ทำแบบประเมินความพึงพอใจ

เงิน
อุดหนุนฯ
6,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมนิทรรศการคณิตศาสตร์วันวิชาการ และวันวิทยาศาสตร์
ขั้นเตรียม
 1. ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินโครงการนิทรรศการวันวิทยาศาสตร์และวันวิชาการ เพื่อวิเคราะห์โครงการและกำหนดทิศทางการดำเนินงาน
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- จัดทำคำสั่งและแต่งตั้งผู้รับผิดชอบกิจกรรมคณิตศาสตร์นิทรรศการวันวิทยาศาสตร์และวันวิชาการ
ขั้นดำเนินการ
 3. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
- คณะกรรมการดำเนินกิจกรรมตามแผนที่วางไว้
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- มีการประสานงานร่วมกันระหว่างคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายบริหาร เพื่อให้กิจกรรมคณิตศาสตร์นิทรรศการวันวิทยาศาสตร์และวันวิชาการ ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ขั้นสรุป  5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมคณิตศาสตร์นิทรรศการวันวิทยาศาสตร์และวันวิชาการ
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- สรุป รายงานผล ปรับปรุง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อนำผลการประเมินมาปรับปรุงกิจกรรมคณิตศาสตร์นิทรรศการวันวิทยาศาสตร์และวันวิชาการ

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

นายอรรถพล ศรัทธาผล





วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ

วัตถุประสงค์
1. เพื่อจัดนิทรรศการแสดงความรู้และผลงาน ความสามารถของนักเรียน ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2. เพื่อแข่งขันทักษะทางวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
3. เพื่อให้นักเรียนเกิดความสนุกสนานควบคู่กับการได้รับความรู้ในสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
4. เพื่อฝึกให้นักเรียนได้ร่วมกันคิดอย่างมีระบบ คิดอย่างมีเหตุผลตามหลักการวิทยาศาสตร์
1,2, เชิงปริมาณ
 นักเรียน ร้อยละ 90 เข้าร่วมชมนิทรรศการ ผลงานและความสามารถของนักเรียน
เชิงคุณภาพ
 นักเรียนมีความพึงพอในในการเข้าร่วมกิจกรรมอยู่ในระดับ ดีขึ้นไป
วิธีการ
 1.สังเกตพฤติกรรม
2.ตรวจแบบสอบถาม

เครื่องมือ
 1.สังเกตพฤติกรรม
2.ตรวจแบบสอบถาม

เงิน
อุดหนุนฯ
30,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมนิทรรศการวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ(T1)
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ(T1)
3. จัดทำคำสั่งผู้รับผิดชอบในการดำเนินโครงการ(T2)
ขั้นดำเนินการ
 1. ขขออนุญาตดำเนินงานจัดกิจกรรม วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ ประจำปีการศึกษา 2567 (M1)
2. ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง(M2)
3. ดำเนินงานจัดกิจกรรม วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ ประจำปีการศึกษา 2567 (M2)
ขั้นสรุป  1. ประเมินความพึงพอใจ(V1)
2. รายงานผลการดำเนินกิจกรรม(V2)

1/8/2567 ถึง
30/8/2567

 

 

ครูเกรียงไกร จันหอม





การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา (STEM Education)

วัตถุประสงค์
1.เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียนให้มีกระบวนการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ อย่างเป็นระบบผ่านการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา (STEM Education)
2. เพื่อพัฒนาศักยภาพครูในการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบสะเต็มศึกษาข้อความ
เชิงปริมาณ
 1. ร้อยละ 80 ของผู้เรียนผ่านกระบวนการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ อย่างเป็นระบบผ่านการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา (STEM Education)
2. ร้อยละ 80 ของครูที่เข้าร่วมโครงการมีศักยภาพในการจัดการเรียนการสอนรูปแบบสะเต็มศึกษา

เชิงคุณภาพ
 1.ผู้เรียนที่ผ่านกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา (STEM Education) สามารถ คิด วิเคราะห์ แยกแยะ และนำไปสู่กระบวนการสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ
2. ครูที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ สามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบสะเต็มศึกษา อย่างมีคุณภาพผ่านเกณฑ์ที่กำหนด ได้แก่ หน่วยการเรียนรู้สะเต็มศึกษา แผนการจัดกิจกรรมสะเต็มศึกษา โครงงานสะเต็มศึกษา
วิธีการ
  สร้างแบบสอบถาม และนำแบบสอบถามไปใช้
เครื่องมือ
  สร้างแบบสอบถาม และนำแบบสอบถามไปใช้ แบบประเมินชิ้นงานนวัตกรรม

เงิน
อุดหนุนฯ
10,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางสะเต็มศึกษา ( STEM Education )
ขั้นเตรียม
 T1คือ การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานโครงการสะเต็มศึกษา
T2คือ การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินงานโครงการสะเต็มศึกษาเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการ
3. กำหนดแนวทางการดำเนินโครงการพัฒนาและส่งเสริมผู้เรียนด้วยการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางสะเต็มศึกษา ( STEM Education )
4. จัดทำแผนการดำเนินกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางสะเต็มศึกษา ( STEM Education )

ขั้นดำเนินการ
 M1คือ การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
5. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวทางสะเต็มศึกษา ( STEM Education )ให้กับผู้เรียนที่เข้าร่วมโครงการทุกระดับตั้งแต่มัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6
6. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวทางสะเต็มศึกษาบูรณาการในรายวิชาการศึกษาค้นหว้าด้วยตนเอง IS ชุมนุม และกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี
7. ส่งผลงาน หรือ นวัตกรรมที่ผ่านกระบวนการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางสะเต็มศึกษา( STEM Education )
8. นำเสนอผลงาน หรือ นวัตกรรม เพื่อคัดเลือกเข้าร่วมการแข่งขันฯ
9. จัดกิจกรรมการแข่งขัน ผลงาน หรือ นวัตกรรม M2 คือ การประสานงาน
10. คณะกรรมการดำเนินโครงการประสานงาน กับผู้บริหารโรงเรียน ครูที่เกี่ยวข้องกับโครงการ และผู้เรียนที่เข้าร่วมโครงการ ดังนี้
10.1 จัดทำโครงการความร่วมมือการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา (STEM Education)
10.2 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวทางสะเต็มศึกษา (STEM Education)
10.3 จัดแสดงแนวทางปฏิบัติตามแนวทางสะเต็มศึกษา (STEM Education)
10.4 พัฒนาศักยภาพของผู้เรียน และครูผ่านกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา (STEM Education)
10.5 ได้รูปแบบการจัดการศึกษาสะเต็มที่เชื่อมโยงกับกลุ่มสาระอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเพิ่มพูนโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในบริบทที่หลากหลาย มีความหมายและเชื่อมโยงกับชีวิตจริง

ขั้นสรุป  V1 คือ การประเมินผล
11. จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา
12. ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา
13. จัดกิจกรรมการแข่งขันผลงาน หรือ นวัตกรรม ที่ผ่านกระบวนการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางสะเต็มศึกษา( STEM Education )
14. ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมการแข่งขันผลงาน หรือ นวัตกรรม ที่ผ่านกระบวนการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางสะเต็มศึกษา ( STEM Education )
V2 คือ การกำกับติดตาม
15. ดำเนินการประชุมชี้แจงประเด็นที่ต้องแก้ไขในการจัดทำโครงการในปีงบประมาณต่อไป
16. ดำเนินการปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา
17. ดำเนินการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะจัดทำโครงการในปีงบประมาณต่อไป

10/1/2567 ถึง
20/2/2567

 

 

นางสาวนิติยา จันทะสี





โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วัตถุประสงค์
1. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนให้สูงขึ้น
4, เชิงปริมาณ
 1. จำนวนผู้เรียนร้อยละ 74 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ในระดับ 2.5 ขึ้นไป
เชิงคุณภาพ
 1. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นเป็นไปตามค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้
วิธีการ
 ครวจแบบทดสอบ
เครื่องมือ
 ครวจแบบทดสอบ

เงิน
อุดหนุนฯ
8,533.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมประเมินแบบเพิ่มค่า
ขั้นเตรียม
 1.ประชุมกลุ่มสาระฯ แจ้งนโยบาย ร่วมกันแลกเปลี่ยน เรียนรู้ เสนอแนะ วิธีการติว และวิธีการสร้างสื่อ นวัตกรรม หลักเกณฑ์การฝึกทักษะทาง วิทยาศาสตร์ (T1)
2.ครูในกลุ่มสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวางแผนจัดทำเอกสารประกอบการประเมิน กำหนดภาระหน้าที่ (T2)

ขั้นดำเนินการ
 1. จัดทำเอกสารประกอบการประเมิน(M1)
2.ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ดำเนินการประเมินแบบเพิ่มค่า(M2)
ขั้นสรุป  1.ประเมินผลการจัดกิจกรรม (V1)
2. รายงานผลการจัดกิจกรรม(V2)

1/11/2566 ถึง
15/9/2567

 

 

ครูเกรียงไกร จันหอม





จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์และสารเคมี

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้นักเรียนและครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีสื่อ วัสดุอุปกรณ์และสารเคมีสำหรับใช้ใน กระบวนการเรียนการสอนเพียงพอกับความต้องการ
2. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในวิทยาศาสตร์ในทุกสาขาวิชา
3. เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
4. เพื่อให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
3, เชิงปริมาณ
 1. นักเรียนและครูร้อยละ 90 มีสื่อ วัสดุอุปกรณ์และสารเคมีสำหรับใช้ในกระบวนการเรียนการสอน
2. นักเรียนร้อยละ ุ68 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นไปตามเกณฑ์ที่กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกำหนด
3. นักเรียนร้อยละ 80 มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
4. นักเรียนร้อยละ 90 มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิทยาศาสตร์
เชิงคุณภาพ
 1. นักเรียนและครูทุกคน มีสื่อ วัสดุอุปกรณ์และสารเคมีสำหรับใช้ในกระบวนการเรียนการสอน
2. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทามงการเรียนวิทยาศาสตร์สูงขึ้น
3. นักเรียนมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพิ่มมากขึ้น
4. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับดีขึ้นไป
วิธีการ
 1.สังเกตพฤติกรรม
2.ตรวจใบงาน/ใบกิจกรรม
3.ตรวจแบบสอบถาม

เครื่องมือ
 1.สังเกตพฤติกรรม
2.ตรวจใบงาน/ใบกิจกรรม
3.ตรวจแบบสอบถาม

เงิน
อุดหนุนฯ
120,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ และสารเคมี
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(T1)
2. สำรวจตรวจสอบวัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี ทุกห้องปฏิบัติการ(T1)
3. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณในการจัดซื้อ(T1)
4. จัดทำคำสั่งผู้รับผิดชอบในการดำเนินโครงการ(T2)

ขั้นดำเนินการ
 1. ดำเนินการจัดรายการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี(M1)
2. ประสานงานกับฝ่ายพัสดโรงเรียนเพื่อดำเนินการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี(M2)
3. จัดทำทะเบียนการใช้สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ สารเคมี แต่ละห้องปฏิบัติการ(M2)

ขั้นสรุป  1. ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ และสารเคมี(V1)
2. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายงานผลการจัดการเรียนการสอน ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน(V1)
3. รายงานผลการดำเนินกิจกรรม(V2)

16/5/2567 ถึง
31/7/2567

 

 

ครูเกรียงไกร จันหอม





การจัดการเรียนการสอนธรรมศึกษาในโรงเรียน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร
2. เพื่อพัฒนาศีลธรรมความดีพื้นฐานร่วมกันระหว่างบ้าน วัด โรงเรียน เเละชุมชน
3. เพื่อวัดประเมินผลการจัดการเรียนการสอนธรรมศึกษาภายในโรงเรียน
4. เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพทางการศึกษา เเละเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนของธรรมศึกษาภายในสถานศึกษา
1, เชิงปริมาณ
 1. นักเรียนครูเเละบุคลากรทางการศึกษา ร้อยละ 95 ได้รับการสอบธรรมศึกษา
2. นักเรียนครูเเละบุคลากรทางการศึกษา ร้อยละ 94 ผ่านการสอบธรรมศึกษาตรี โท เอก

เชิงคุณภาพ
 1. นักเรียนครูเเละบุคลากรทางการศึกษา มีความพึงพอใจในการเรียนการสอนธรรมศึกษาในสถานศึกษา อยู่ในระดับดีมาก
2. นักเรียนครูเเละบุคลากรทางการศึกษา สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม เเละผ่านเกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ร้อยละ 100
วิธีการ
  ตรวจเเบบประเมินความรู้ความเข้าใจในการสอบธรรมศึกษา
เครื่องมือ
  ตรวจรายงานผลการดำเนินโครงการ

เงิน
อุดหนุนฯ
23,760.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : การจัดการเรียนการสอนธรรมศึกษาในโรงเรียน
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
1.ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางเเผนการดำเนินงาน
2.เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
3.เสนอหนังสือคำสั่งเเต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อเเบ่งหน้าที่รับผิดชอบของเเต่ละฝ่าย/งาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
4.ออกคำสั่งคณะกรรมการดำเนินงาน-จัดสอนธรรมศึกษา-จัดสอบธรรมศึกษา
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5.ประสานงานกับ ธสร

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
4.ออกคำสั่งคณะกรรมการดำเนินงาน-จัดสอนธรรมศึกษา-จัดสอบธรรมศึกษา
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5.ประสานงานกับ ธสร

กิจกรรมที่ 2 : การจัดติวธรรมศึกษาในโรงเรียน
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
1.ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางเเผนการดำเนินงาน
2.เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
3.เสนอหนังสือคำสั่งเเต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อเเบ่งหน้าที่รับผิดชอบของเเต่ละฝ่าย/งาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
4.ออกคำสั่งคณะกรรมการดำเนินงาน-การจัดติวธรรมศึกษา
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5.ประสานงานกับ ธสร

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
4.ออกคำสั่งคณะกรรมการดำเนินงาน-จัดติวธรรมศึกษา
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5.ประสานงานกับ ธสร

6/10/2566 ถึง
5/10/2567

 

 

6/10/2566 ถึง
5/10/2567

 

 

นางสาวสุธานิธ์ แซ่เลี่ยว





นางสาวสุธานิธ์ แซ่เลี่ยว





งานจัดการเรียนการสอน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาจัดการเรียนการสอน
2. เพื่อปรับปรุงวัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1,5, เชิงปริมาณ
 1. ครูทุกคนของกลุ่มสาระการะเรียนรู้สังคมศึกษา มีตารางการจัดการเรียนการสอน 2 ครั้งต่อปีการศึกษา และได้รับการนิเทศ 2 ครั้งต่อภาคเรียน
2. วัสดุอุปกรณ์ต่างๆของห้องศูนย์การเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมได้รับการปรับปรุงทั้ง 4 ห้อง

เชิงคุณภาพ
 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมมีการจัดตารางการจัดการเรียนการสอนและการนิเทศที่เหมาะสม
2. วัสดุอุปกรณ์ของห้องศูนย์ของกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ได้รับการปรับปรุงให้เหมาะสมพร้อมใช้
วิธีการ
 สอบถาม
เครื่องมือ
 สอบถาม

เงิน
อุดหนุนฯ
10,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมจัดตารางเรียนตารางสอนของกลุ่มสาระฯ
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
-สำรวจรายวิชาที่เปิดสอน
-ประชุมครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อสอบถามข้อมูล
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
-เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
-กำหนดรายวิชาที่ครูในกลุ่มสาระต้องรับผิดชอบ
-จัดทำโหลด และปรับแก้ไข ตามที่ฝ่ายวิชาการกำหนด
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
-ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
-สอบถามความพึงพอใจของครูที่รับผิดชอบสอนในแต่ละรายวิชา
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
-รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป

กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมการนิเทศการสอน
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
-กำหนดครูผู้นิเทศของกลุ่มสาระการเรียนรู้ 2 ครั้ง / ภาคเรียน
-จัดกลุ่มการนิเทศว่าผู้นิเทศจะต้องนิเทศใครบ้าง และรับการนิเทศจากใคร
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
-เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
-กำหนดวัน เวลาในการนิเทศ
-นิเทศการสอนตามวันเวลาที่กำหนด ภาคเรียนละ 2 ครั้ง
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
-ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
-ส่งแบบนิเทศให้ฝ่ายวิชาการ
-สอบถามความพึงพอใจของครู
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
-รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป

กิจกรรมที่ 3 : การปรับปรุงวัสดุอุปกรณ์ในห้องศูนย์การเรียนรู้ของกลุ่มสาระฯ
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
-ประชุมคณะกรรมการของกลุ่มสาระการเรียนรู้
-เลือกห้องศูนย์การเรียนรู้ที่ควรได้รับการพัฒนาเร่งด่วน
-เสนอกิจกรรมเพื่อขอบประมาณ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
-บันทึกขอใช้งบประมาณเพื่อดำเนินกิจกรรมตามโครงการ
-จัดจ้างเพื่อซ้อมแซมวัสดุอุปกรณ์ที่ชำรุด หรือจัดซื้อวุสดุอุปกรณ์ที่ขาดแคลนเพื่อนำไปใช้ในห้องศูนย์การเรียนรู้
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
-ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
-สรุปกิจกรรม
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
-รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป

30/10/2566 ถึง
15/9/2567

 

 

30/10/2566 ถึง
15/9/2567

 

 

30/10/2566 ถึง
15/9/2567

 

 

ครูขวัญจิตร ยิ่งยวดและคณะ





ครูขวัญจิตร ยิ่งยวดและคณะ





ครูขวัญจิตร ยิ่งยวดและคณะ





โครงการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒธรรม

วัตถุประสงค์
1. เพื่อจัดหาสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
2. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูง
2, เชิงปริมาณ
 1. ครู จำนวน 15 คน มีสื่อวัสดุ อุปกรณ์ ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
2. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นกว่าค่าเป้าหมายที่กำหนด

เชิงคุณภาพ
 1. มีสื่อวัสดุ อุปกรณ์ ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างมีคุณภาพ
2. นักเรียนมัผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
วิธีการ
 1.มีห้องศูนย์การเรียนรู้จำนวน 2 ห้องเรียนที่พร้อมใช้ 2.ห้องเรียน ได้รับการปรับปรุง
เครื่องมือ
 

เงิน
อุดหนุนฯ
19,650.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : พัฒนาสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ ใช้ในการจัดการเรียนการสอน
ขั้นเตรียม
 สำรวจความต้องการสื่อ วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ขั้นดำเนินการ
 จัดซื้อ จัดหา ผลิต สื่อวัสดุอุปกรณ์ที่นำมาจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ขั้นสรุป  ประเมินผลการเรียนการสอนที่ใช้สื่อ วัสดุอุปกรณ์และเทคโนโลยี
กิจกรรมที่ 2 : ส่งเสริมความเป็นไทย รักและเทิดทูนในชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์
ขั้นเตรียม
 ประชุมกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนและวัฒนธรรม
ขั้นดำเนินการ
 จัดกิจกรรมเนื่องในวันสำคัญของชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์
ขั้นสรุป  ทำรายงานกิจกรรม

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

นางอลิสา สุสุวรรณ





นางอลิสา สุสุวรรณ





โครงการการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (HCEC) โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม

วัตถุประสงค์
1. เพื่อปรับปรุงอุปกรณ์และตกแต่งห้องคอมพิมเตอร์ของศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ(HCEC)โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
2. เพื่อเป็นสถานที่สำหรับให้บริการด้านการสอบหรือการอบรมให้กับข้าราชครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน และชุมชนที่อยู่ในเขตพื้นที่บริการ
4, เชิงปริมาณ
 1. ห้องคอมพิวเตอร์ของศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (HCEC) โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมพร้อมให้บริการกับข้าราชครูและบุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนในเขตพื้นที่บริการ ร้อยละ 100
2. ข้าราชครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน และชุมชนที่อยู่ในเขตพื้นที่บริการเข้าร่วมการสอบหรือการอบรมร้อยละ 80

เชิงคุณภาพ
  1. ข้าราชครูและบุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนในเขตพื้นที่บริกามีความพึงพอใจในการใช้ห้องคอมพิวเตอร์ของศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (HCEC) โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม อยู่ในระดับ ดีมาก
2. ข้าราชครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน และชุมชนที่อยู่ในเขตพื้นที่บริการเข้าร่วมการสอบหรือการอบรมมีความพึงพอใจต่อการให้บริการ อยู่ในระดับ ดี
วิธีการ
 ประเมินจากจำนวนผู้เข้าใช้ห้องห้องคอมพิวเตอร์ของศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (HCEC) โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
เครื่องมือ
 ประเมินความพึงพอใจ

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
50,000.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมปรับปรุงอุปกรณ์และตกแต่งห้องคอมพิมเตอร์ของศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (HCEC)โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1. จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการ
2. ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4. บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม
5. ดำเนินกิจกรรม
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
6. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
7. สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
8. รายงานผลการประเมินกิจกรรม

กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมการจัดสอบหรือการอบรมให้กับข้าราชครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน และชุมชนที่อยู่ในเขตพื้นที่บริการ
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4. ดำเนินการจัดกิจกรรมตามแผนที่วางไว้
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6. สรุปผลการดำเนินการ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
7. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป

6/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

6/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

นายเคบอย สินสุพรรณ์ และคณะ





นายเคบอย สินสุพรรณ์ และคณะ





โครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศผลิตสื่อ/นวัตกรรมที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2. เพื่อปรับปรุงอุปกรณ์และสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ของห้อง SEAR
1, เชิงปริมาณ
  1.ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศร้อยละ 100 ผลิตสื่อ/นวัตกรรมที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.ห้อง SEAR ได้รับการปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆและปรับปรุงด้านสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

เชิงคุณภาพ
 1. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูกลุ่มสาระภาษาต่างประเทศโดยใช้สื่อ/นวัตกรรมที่ผลิต อยู่ในระดับ ดี
2. ห้อง SEAR ได้รับการปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆและปรับปรุงด้านสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
วิธีการ
 ตรวจสอบรายชื่อครูที่ผลิตสื่อและนวัตกรรมที่ใช้ในการจัดการเรียนการเรียนสอน
เครื่องมือ
 ประเมินความพึงพอใจ

เงิน
อุดหนุนฯ
9,905.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆในห้อง SEAR
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4.ดำเนินงานตามโครงการกิจกรรมพัฒนาปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆใน ห้อง SEAR
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6.ประเมินผล สรุป และจัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
7.บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม

กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมผลิตสื่อ/นวัตกรรมการสอนภาษาต่างประเทศ
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4.ดำเนินงานตามโครงการกิจกรรมผลิตสื่อ/นวัตกรรมการสอนภาษาต่างประเทศ
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6.ประเมินผล สรุป และจัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
7.บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม

6/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

6/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

นางสาวนุจรีย์ รอดประสิทธิ์





นางสาวนุจรีย์ รอดประสิทธิ์





พัฒนาและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ให้สูงขึ้น
2. เพื่อให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ผ่านเกณฑ์ตามเป้าหมายของโรงเรียน
1, เชิงปริมาณ
 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ร้อยละ 69 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษได้เกรด 2.5 ขึ้นไป
2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ร้อยละ 50 มีผลการทดสอบวิชาภาษาอังกฤษผ่านเกณฑ์ตามเป้าหมายของโรงเรียน

เชิงคุณภาพ
 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษตั้งแต่เกรด 2.5 ขึ้นไป
2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีผลการทดสอบวิชาภาษาอังกฤษผ่านเกณฑ์ตามเป้าหมายของโรงเรียน
วิธีการ
 การสำรวจ/การสังเกต
เครื่องมือ
 ทดสอบ

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมติวเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์วิชาภาษาอังกฤษมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุมสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1.ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) 3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4. ดำเนินการจัดกิจกรรมติวเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์วิชาภาษาอังกฤษให้กับมัธยมศึกษาปีที่ 6
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5.ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

ขั้นสรุป  6. สรุปผลการดำเนินการ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
7.รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป

1/12/2566 ถึง
28/2/2567

 

 

นายเคบอย สินสุพรรณ์ และคณะ





โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจถึงประเพณีวัฒนธรรมเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับวัฒนธรรมไทย
2. เพื่อให้นักเรียนฝึกทักษะทางภาษาในด้านการฟัง พูด อ่าน และเขียน โดยใช้แหล่งเรียนรู้และสื่อที่หลากหลาย
3. เพื่อให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมวันคริสต์มาสเชิงวิชาการ
1,2,3,3, เชิงปริมาณ
 1. นักเรียนร้อยละ 100 มีความรู้ความเข้าใจถึงประเพณีวัฒนธรรมเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับวัฒนธรรมไทย
2. นักเรียนร้อยละ 100 ฝึกทักษะทางภาษาในด้านการฟัง พูด อ่าน และเขียน โดยใช้แหล่งเรียนรู้และสื่อที่หลากหลาย
3. นักเรียนร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรมวันคริสต์มาสเชิงวิชาการ

เชิงคุณภาพ
  1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจถึงประเพณีวัฒนธรรมเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับวัฒนธรรมไทย
2. นักเรียนได้ฝึกทักษะทางภาษาในด้านการฟัง พูด อ่าน และเขียน โดยการเข้าร่วมกิจกรรมวันคริสต์มาสเชิงวิชาการ
3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมวันคริสต์มาสเชิงวิชาการ อยู่ในระดับ ดี ขึ้นไป
วิธีการ
 การสังเกต การสัมภาษณ์ และบันทึกรายชื่อนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม
เครื่องมือ
 ความพึงพอใจ

เงิน
อุดหนุนฯ
10,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมคริสต์มาสเชิงวิชาการ
ขั้นเตรียม
 ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1.ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2.เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน ขั้นดำเนินการ
ขั้นดำเนินการ
 ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4.ดำเนินการจัดกิจกรรมวันคริสต์มาสเชิงวิชาการ
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ขั้นสรุป  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6.ประเมินผล สรุป และจัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
7.บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม

1/12/2566 ถึง
30/12/2566

 

 

นางสาวพิมพ์พิชชา เจี่ยประเสริฐ





ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนสุขศึกษาและพลศึกษา

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ในกลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษาเฉลี่ยตามเกณฑ์สูงกว่าที่สถานศึกษากำหนด
2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้เรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันกีฬาภายในประจำปี
เชิงปริมาณ
 1.นักเรียนของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมที่เรียนวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ร้อยละ 86 มีผลการเรียนเฉลี่ยตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนดในทุกรายวิชา
2. ผู้เรียนร้อยละ 90 ได้เข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันกีฬาภายในประจำปี

เชิงคุณภาพ
 1.นักเรียนของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมที่เรียนวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา มีผลการเรียนระดับ 3.00 สูงกว่าร้อยละ 86 ขึ้นไปในทุกรายวิชา
2. ผู้เรียนร้อยละ 85 ที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันกีฬาภายในประจำปี มีความพึงพอใจในระดับมาก ขึ้นไป
วิธีการ
 1.จากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนรายวิชาสุขศึกาาและพลศึกษาทุกรายวิชา ในภาคเรียนที่ 2/66 และภาคเรียนที่ 1/67
2.จากสถิติการมาเข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันกีฬาภายในประจำปีการศึกษา 2567 ของนักเรียน

เครื่องมือ
 1.สรุปค่าร้อยละนักเรียนจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกรายวิชาในกลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา
2.สำรวจความพึงพอใจนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันกีฬาภายในประจำปี 2567

เงิน
อุดหนุนฯ
137,510.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : จัดซื้ออุปกรณ์การรียนการสอนสุขศึกษา พลศึกษาและวัสดุสำนักงาน
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1.ประชุม เตรียมความพร้อม
2.บันทึกขออนุมัติการดำเนินงานตามแผน ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
1.ชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง
2.สำรวจข้อมูลวัสดุ อุปกรณ์ที่จำเป็นต้องซื้อ

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- ติดต่องานพัสดุในการดำเนินการจัดซื้อ ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
1.ประสานงานกับทุกฝ่าย
2.จัดซื้ออุปกรณ์กีฬาที่จำเป็นต้องใช้และยังไม่เพียงพอ
3.จัดซื้อวัสดุในการจัดทำสื่อการเรียนการสอนสุขศึกษาและพลศึกษา
4.นำไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

ขั้นสรุป  ประเมินความพึงพอใจ และสรุปรายงานผลการดำเนินงาน ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานการดำเนินการตามโครงการให้ฝ่ายบริหารทราบ

กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมการแข่งขันกีฬาภายในโรงเรียน
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1.ประชุมคณะทำงาน
2.กำหนดปฏิทินการปฏิบัติงาน
3.เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
1.ชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง
2.สำรวจข้อมูลวัสดุ อุปกรณ์ที่จำเป็นต้องซื้อ

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
1.จัดทำคำสั่งคณะกรรมการดำเนินงานการแข่งขันกีฬาภายใน
2.จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้
3.ดำเนินการจัดการแข่งขันในระหว่างวันที่ 28-30 สิงหาคม 2567
4.สรุปผลการดำเนินการ
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
1.ประสานงานกับทุกฝ่าย
2.จัดซื้อวัสดุที่จำเป็นต้องใช้ในการจัดการแข่งขัน
3.จัดซื้ออุปกรณ์กีฬาที่จำเป็นต้องใช้และยังไม่เพียงพอ
4.ดำเนินการจัดกิจกรรมการแข่งขันกีฬาภายในประจำปีการศึกษา 2566
1.จัดทำคำสั่งคณะกรรมการดำเนินงานการแข่งขันกีฬาภายใน 2.จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้ 3.ดำเนินการจัดการแข่งขันในระหว่างวันที่ 31สิงหาคม -1 กันยายน 2566 4.สรุปผลการดำเนินการ ขั้นตอนการประสานงาน(M2) 1.ประสานงานกับทุกฝ่าย 2.จัดซื้อวัสดุที่จำเป็นต้องใช้ในการจัดการแข่งขัน 3.จัดซื้ออุปกรณ์กีฬาที่จำเป็นต้องใช้และยังไม่เพียงพอ 4.ดำเนินการจัดกิจกรรมการแข่งขันกีฬาภายในประจำปีการศึกษา 2566
ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- ประเมินผลการดำเนินการจัดกิจกรรม เพื่อพัฒนาการจัดกิจกรรมในครั้งต่อไป
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการดำเนินงานให้ฝ่ายบริหารทราบ

5/10/2566 ถึง
15/9/2567

 

 

5/10/2566 ถึง
15/9/2567

 

 

นายจีระศักดิ์ กลมวง





นางสาวบุษรารัตน์ แก้วสอาด





ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพนักกีฬาเพื่อส่งแข่งขันกีฬาภายนอก

วัตถุประสงค์
1. เพื่อสร้างนักเรียนเป็นตัวแทนของโรงเรียนเข้าร่วมการแข่งขันในระดับต่าง ๆ
2. เพื่อสร้างผลงานความเป็นเลิศด้านกีฬาและกรีฑาให้อยู่ใน 3 อันดับแรกของจังหวัดกาญจนบุรี ในทุกรุ่นอายุที่ส่งเข้าร่วมการแข่งขัน
เชิงปริมาณ
 1. มีนักเรียนเป็นตัวแทนของโรงเรียนเข้าร่วมการแข่งขันในระดับต่าง ๆ จำนวน 120 คน
2. ส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันอย่างน้อย 5 รายการแข่งขัน/ปี
เชิงคุณภาพ
 1. นักกีฬาตัวแทนโรงเรียนประเภทต่าง ๆมีศักยภาพเพียงพอที่จะส่งเข้าแข่งขันได้
2. ผลงานนักกีฬาเป็นที่น่าพึงพอใจร้อยละ 70 ขึ้นไป
วิธีการ
 1.ดูจากจำนวนนักกีฬาที่เข้าร่วมฝึกซ้อมสม่ำเสมอ
2.สถิติการส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขัน

เครื่องมือ
 1.ผลงานจากการเข้าร่วมการแข่งขันรายการต่าง ๆ
2.ประเมินความพึงใจในผลงานการแข่งขันของผู้ฝึกสอนและนักกีฬา

เงิน
อุดหนุนฯ
19,700.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : เตรียมความพร้อมนักกีฬาและส่งเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาภายนอก
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
-ประชุมคณะทำงานวางแผนการดำเนินงาน
-บันทึกขออนุมัติการดำเนินงานตามแผน
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
-ประชุมแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบแต่ละกิจกรรม

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
1. เตรียมนักเรียนตัวแทนที่มีความสามารถทั้งด้านวิชาการและด้านกีฬา
2. จัดซื้อชุดสำหรับการแข่งขันกีฬา และวัสดุ อุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้ในการแข่งขันกีฬา
3. ส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันในรายการ ต่าง ๆ ที่ได้รับการอนุญาตให้ส่งแข่งขัน
4. ดำเนินการเบิกค่าใช้จ่าย เช่น เบี้ยเลี้ยงนักกีฬา ค่าจ้างเหมารถรับ - ส่ง ฯลฯ
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประสานงานกับทุกฝ่าย

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
-ประเมินผลการดำเนินโครงการ หาข้อบกพร่องเพื่อนำไปพัฒนา แก้ไขต่อไป
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
-สรุปรายงานผลการดำเนินการให้ฝ่ายบริหารทราบ

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

นายจีระศักดิ์ กลมวงและคณะ





พัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (ดนตรีสากล)

วัตถุประสงค์
1.เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความสามารถในการเรียนผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง ผู้เรียนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีการใช้สื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ การวิจิยอย่างเต็มความรู้ความสามารถ
3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน การใช้เทคโนโลยีและมีเจตคติที่ดีที่เอื้อต่อการเรียนรู้และอาชีพ
1,2,3,4, เชิงปริมาณ
 1.ร้อยละ 85 นักเรียนมีความสามารถในการเรียนผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง ผู้เรียนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
2. ร้อยละ 85 นักเรียนมีการใช้และผลิตสื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ การวิจิยอย่างเต็มความรู้ความสามารถ
3. ร้อยละ 90 ของผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน การใช้เทคโนโลยีและมีเจตคติที่ดีที่เอื้อต่อการเรียนรู้และอาชีพ

เชิงคุณภาพ
 1. นักเรียนได้รับการเรียนการสอนผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง ผู้เรียนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
2. นักเรียนมีการใช้สื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ การวิจิยอย่างเต็มความรู้ความสามารถ
3. ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน การใช้เทคโนโลยีและมีเจตคติที่ดีที่เอื้อต่อการเรียนรู้และอาชีพ
วิธีการ
 แบบประเมินการเข้าร่วมกิจกรรม
เครื่องมือ
 แบบประเมินการเข้าร่วมกิจกรรม

เงิน
อุดหนุนฯ
480,740.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : จัดหาสื่อการเรียนการสอนดนตรีสากลและซ่อมบำรุง
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
- เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- สอบราคา
- ดำเนินการจัดซื้อจัดซ่อมตามระเบียบพัสดุ
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- ตรวจรับพัสดุ และรายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป

กิจกรรมที่ 2 : จัดซ่อมบำรุงเครื่องดนตรี
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
- เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- สอบราคา
- ดำเนินการจัดซื้อจัดซ่อมตามระเบียบพัสดุ
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- ตรวจรับพัสดุ และรายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป

1/12/2566 ถึง
2/2/2567

 

 

1/12/2566 ถึง
2/2/2567

 

 

นายวิชชุ สุภาพเสรีพงศ์,นายสุรเดช ทองอ่อน





นายวิชชุ สุภาพเสรีพงศ์,นายสุรเดช ทองอ่อน





เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทย

วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีศักยภาพด้านนาฏศิลป์ไทย
2. เพื่อให้นักเรียนมีความรัก หวงแหนและมีความภาคภูมิใจในการอนุรักษ์ และเผยแพร่นาฏศิลป์ไทย
3. เพื่อให้นักเรียนเข้าร่วมในกิจกรรมของโรงเรียน ชุมชนและกิจกรรมการประกวดแข่งขันตามโอกาสอันเหมาะสม
1,2, เชิงปริมาณ
 1. นักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมร้อยละ 85 ได้ร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์เผยแพร่นาฏศิลป์ไทย

เชิงคุณภาพ
 1. นักเรียนได้แสดงความสามารถในด้านนาฏศิลป์ไทย ได้อย่างเหมาะสม
วิธีการ
 ประเมินการเข้าร่วมกิจกรรม
เครื่องมือ
 ประเมินการเข้าร่วมกิจกรรม

เงิน
อุดหนุนฯ
50,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมภายในและภายนอกสถานศึกษา
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- ประชุมครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ จัดทำโครงการ เสนอกิจกรรมเพื่ออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- วางแผนการปฏิบัติงาน และบันทึกการประชุมกลุ่มสาระเพื่อมอบหมายการปฏิบัติงาน
ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประชุมเชิงปฏิบัติการ
ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการประเมินกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมแข่งขันทักษะทางวิชาการ
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- ประชุมครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ จัดทำโครงการ เสนอกิจกรรมเพื่ออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- วางแผนการปฏิบัติงาน และบันทึกการประชุมกลุ่มสาระเพื่อมอบหมายการปฏิบัติงาน
ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประชุมเชิงปฏิบัติการ
ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการประเมินกิจกรรม

8/10/2566 ถึง
7/10/2567

 

 

8/10/2566 ถึง
7/10/2567

 

 

นางสาวภัททิรา เงาะลำดวน





นางสาวภัททิรา เงาะลำดวน





พัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (ทัศนศิลป์)

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ครูและผู้เรียนได้มีวัสดุอุปกรณ์ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เพียงพอต่อความต้องการ
2. เพื่อส่งเสริมทักษะความสามารถให้กับผู้เรียนที่มีความสนใจทางด้านงานทัศนศิลป์
3. เพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับผู้เรียนที่มีต่อการเรียนการสอนวิชาศิลปะ (ทัศนศิลป์)
1, เชิงปริมาณ
 1. ร้อยละ 85 ครูและผู้เรียนได้มีมีวัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เพียงพอต่อความต้องการ
2. ร้อยละ 85 มีการส่งเสริมทักษะความสามารถให้กับผู้เรียนที่มีความสนใจทางด้านงานทัศนศิลป์
3. ร้อยละ 90 ของผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนวิชาศิลปะ (ทัศนศิลป์)

เชิงคุณภาพ
 1. เพื่อให้ครูและผู้เรียนได้มีวัสดุอุปกรณ์ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เพียงพอต่อความต้องการ
2. เพื่อส่งเสริมทักษะความสามารถให้กับผู้เรียนที่มีความสนใจทางด้านงานทัศนศิลป์
3. เพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับผู้เรียนที่มีต่อการเรียนการสอนวิชาศิลปะ (ทัศนศิลป์)
วิธีการ
 สอบถามความคิดเห็นและความพึงพอใจ
เครื่องมือ
 สอบถามความคิดเห็นและความพึงพอใจ

เงิน
อุดหนุนฯ
36,315.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมทัศนศิลป์สู่ความเป็นเลิศ
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- ประชุมครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนดำเนินงาน
- สำรวจรายการวัสดุอุปกรณ์และสื่อการเรียนการสอนในวิชาทัศนศิลป์
- การเสนอโครงการเพื่ออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- มอบหมายให้คณะกรรมการสำรวจรายการวัสดุอุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอนวิชาทัศนศิลป์

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- คณะกรรมการกำหนดรายการที่จำเป็นต้องซื้อ
- ตรวจสอบราคา
- ดำเนินการจัดซื้อจัดซ่อมตามระเบียบพัสดุ
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- ตรวจรับพัสดุ และรายงานผลการดำเนินงาน
- สำรวจความเพียงพอในการให้บริการวัสดุอุปกรณ์
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- จัดทำรายงานโครงการ พร้อมติดตามการดำเนินโครงการ นำเสนอผู้บริหารโรงเรียน

7/10/2566 ถึง
6/10/2567

 

 

นางสาวกมลชณัฐ ฝนเมฆ





พัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (วิชาดนตรีไทย)

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ครูและผู้เรียน ได้มีเครื่องดนตรีไทยในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เพียงพอต่อความต้องการ
2. เพื่อส่งเสริมทักษะความสามารถให้กับผู้เรียนที่มีความสนใจทางด้านดนตรีไทย
3. เพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับผู้เรียนที่มีต่อการเรียนการสอนวิชาศิลปะ (ดนตรี )
2, เชิงปริมาณ
 1. ร้อยละ 85 ครูและผู้เรียนได้มีเครื่องดนตรีไทย ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เพียงพอต่อความต้องการ
2. ร้อยละ 85 มีการส่งเสริมทักษะความสามารถให้กับผู้เรียนที่มีความสนใจทางด้านดนตรีไทย
3. ร้อยละ 90 ของผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนวิชาศิลปะ (ดนตรี )
เชิงคุณภาพ
 1. ครูและผู้เรียนได้มีเครื่องดนตรีไทย ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เพียงพอต่อความต้องการ
2. มีการส่งเสริมทักษะความสามารถให้กับผู้เรียนที่มีความสนใจทางด้านดนตรีไทย
3. ผู้เรียนได้เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ เห็นคุณค่าของดนตรีและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
4. ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนวิชาศิลปะ (ดนตรี )
วิธีการ
 - ประเมินความพึงพอใจ
เครื่องมือ
 - ประเมินความพึงพอใจ

เงิน
อุดหนุนฯ
20,700.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : ส่งเสริมผู้เรียนทางด้านดนตรีไทย
ขั้นเตรียม
 1.ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- ประชุมคณะทำงานวางแผนการดำเนินงาน
- บันทึกขออนุมัติการดำเนินงานตามแผน
2.ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- ประชุมแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ

ขั้นดำเนินการ
 3.ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- สำรวจผู้เรียนที่มีความสนใจทางด้านดนตรีไทย
- บันทึกขออนุญาตให้นักเรียนทำกิจกรรม
- ดำเนินการจัดกิจกรรมพัฒนา ส่งเสริมผู้เรียนที่มีความสนใจทางด้านดนตรีไทย
4.ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประสานงานกับทุกฝ่าย

ขั้นสรุป  5.ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- สำรวจความเพียงพอในการจัดกิจกรรมส่งเสริมผู้เรียนทางด้านดนตรีไทย
- สอบถามความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมส่งเสริมผู้เรียนทางด้านดนตรีไทย
6.ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- จัดทำรายงานโครงการ พร้อมติดตามการดำเนินโครงการ นำเสนอผู้บริหารโรงเรียน

กิจกรรมที่ 2 : จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ และ ซ่อมบำรุงสื่อการเรียนการสอนดนตรีไทย
ขั้นเตรียม
 1.ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- ประชุมครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผน ดำเนินงาน
- สำรวจรายการวัสดุอุปกรณ์ และ สื่อการเรียนการสอนดนตรีไทยที่ต้องซ่อมแซม
- การเสนอโครงการเพื่ออนุมัติ
2.ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- มอบหมายให้คณะกรรมการสำรวจรายการวัสดุอุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอนดนตรีไทย

ขั้นดำเนินการ
 3.ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
- คณะกรรมการกำหนดรายการที่จำเป็นต้องซื้อ และซ่อมบำรุงรักษา
4.ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- คณะกรรมการเขียนเอกสารดำเนินการจัดซื้อและซ่อมบำรุงรักษาเครื่องดนตรีไทย ประสานงานพัสดุในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ และร้านค้าซ่อมบำรุงเครื่องดนตรี
- งานพัสดุจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ และสื่อการเรียนการสอนดนตรีไทย
- คณะทำงานเบิกวัสดุอุปกรณ์ไปใช้ในการจัดเรียนการสอนดนตรีไทย

ขั้นสรุป  5.ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- สำรวจความเพียงพอในการให้บริการวัสดุอุปกรณ์
- สอบถามความพึงพอใจในการให้บริการวัสดุอุปกรณ์
6.ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- จัดทำรายงานโครงการ พร้อมติดตามการดำเนินโครงการ นำเสนอผู้บริหารโรงเรียน

9/10/2566 ถึง
8/10/2567

 

 

9/10/2566 ถึง
8/10/2567

 

 

นางสาวณัฐกาญจน์ จานแก้ว
นางสาวชมพูนุช จูฑะเศษฐ์





1.นางสาวณัฐกาญจน์ จานแก้ว
2.นางสาวชมพูนุช จูฑะเศษฐ์





ส่งเสริมคุณภาพนักเรียนตามมาตรฐานสากล

วัตถุประสงค์
1. พัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถในการเรียนรู้และทักษะการทำงานร่วมกัน
2.เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน
1,2,4,5, เชิงปริมาณ
 1. ร้อยละ 95 ของนักเรียนที่สามารถเรียนรู้ร่วมกัน
2. นักเรียนร้อยละ 90 ใช้ทักษะ และ เทคโนโลยีในการปฏิบัติงาน นำเสนองาน และ มีวัสดุอุปกรณ์ในการเรียนรู้ที่เหมาะสม

เชิงคุณภาพ
 นักเรียนมีทักษะ มีสื่อเทคโนโลยี นวัตกรรม และ วัสดุอุปกรณ์ในการเรียนรู้ที่เหมาะสมอยู่ใน ระดับ ดี
วิธีการ
 1.การสังเกตุ
2.การทดสอบ
เครื่องมือ
 การประเมิน ชิ้นงาน

เงิน
อุดหนุนฯ
20,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : ส่งเสริมคุณภาพนักเรียนตามมาตรฐานสากล
ขั้นเตรียม
 1.ประชุมคณะครูกลุ่มสาระการงานอาชีพ เพื่อวางแผนการดำเนินงาน
2.ประสานงานกับกลุ่มงานที่เกี่ยวข้อง
ขั้นดำเนินการ
 1.ดำเนินการตามแผนโครงการ
2.รวบรวมข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ในระหว่างการปฏิบัติงาน
ขั้นสรุป  1.ตรวจสอบ สอบถาม สัมภาษณ์ และรวบรวมข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง หลังการปฏิบัติงาน
2.ประเมินผลสัมฤทธิ์ จากการสังเกตุการปฏิบัติงานตามโครงการ
3.สรุปและรายงานโครงการ

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

นายอนุรักษ์ ปลื้มจิตต์





พัฒนาการจัดการเรียนรู้ด้านเกษตรกรรมที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

วัตถุประสงค์
1.เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถในการเรียนรู้ และทำงานร่วมกัน.
2.เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน
3.เพื่อผลิตสื่อเทคโนโลยี นวัตกรรมและจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอน
2, เชิงปริมาณ
 1. นักเรียนจำนวน 350 คน มีวัสดุอุปกรณ์ในการเรียนรู้ที่เหมาะสม
2. นักเรียนจำนวน 350 คน ได้ฝึกประสบการณ์ด้านอาชีพที่เหมาะสม

เชิงคุณภาพ
 1. นักเรียนร้อยล่ะ 95 มีวัสดุอุปกรณ์เพียงพอในการเรียนรู้
2. นักเรียนร้อยล่ะ 95 ได้ฝึกประสบการณ์ด้านอาชีพ
วิธีการ
 การประเมิน
เครื่องมือ
  การประเมิน

เงิน
อุดหนุนฯ
55,425.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : การเลี้ยงสัตว์ทั่วไป
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน(T1)
2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ(T2)
3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
ขั้นดำเนินการ
 1.จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์(M1)
2. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง (M2)

ขั้นสรุป  1.สรุปผลการดำเนินการ(V1)
2. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการ(V2)

กิจกรรมที่ 2 : ไม้ดอกไม้ประดับ
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน(T1)
2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ(T2)
3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
ขั้นดำเนินการ
 1.จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์(M1)
2. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง (M2)

ขั้นสรุป  1.สรุปผลการดำเนินการ(V1)
2. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการ(V2)

กิจกรรมที่ 3 : การปลูกไม้ผล
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน(T1)
2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ(T2)
3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน

ขั้นดำเนินการ
 1.จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์(M1)
2. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง (M2)

ขั้นสรุป  1.สรุปผลการดำเนินการ(V1)
2. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการ(V2)

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

นายสัมฤทธิ์ พุ่มปรีชา





นายสัมฤทธิ์ พุ่มปรีชา





นายสัมฤทธิ์ พุ่มปรีชา





ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการงานอาชีพ(คหกรรม)

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์กลุ่มสาระการงานอาชีพเป็นไปตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
2. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการทำงาน มีเจตคติที่ดีต่องาน สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพ
1,4, เชิงปริมาณ
 1. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์รายวิชาการงานอาชีพระดับ 3 ขึ้นไปร้อยละ 86
2. นักเรียนร้อยละ 86 มีความรู้ มีทักษะในการทำงาน มีเจตคติที่ดีต่องาน สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพ

เชิงคุณภาพ
 1. นักเรียนร้อยละ 86 มีผลสัมฤทธิ์รายวิชาการงานอาชีพระดับ 3 ขึ้นไป
2. นักเรียนร้อยละ 86 มีความรู้ มีทักษะในการทำงาน มีเจตคติที่ดีต่องาน สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพ
วิธีการ
 สอบถาม

เครื่องมือ
 สอบถาม

เงิน
อุดหนุนฯ
5,225.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์การจัดการเรียนการสอน
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- ประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- แบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละงาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- กำหนดรายการจัดซื้อวัสดุ
- ขออนุมัติการจัดซื้อ
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปผลการดำเนินการ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

10/11/2566 ถึง
15/8/2567

 

 

นางอรอนงค์ ชัยประเสริฐ





การใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้และบำรุงรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์

วัตถุประสงค์
1. เพื่อซ่อมบำรุงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการใช้สื่อการสอนของครู
3. เพื่อจัดซื้ออุปกรณ์เทคโนโลยีเพื่อจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1,1,2, เชิงปริมาณ
 1. ผู้เรียนร้อยละ 80 มีอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พอเพียง
2. ครูร้อยละ 80 ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาการใช้สื่อการสอน
3. มีอุปกรณ์เทคโนโลยีร้อยละ 80 ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
เชิงคุณภาพ
 1. ผู้เรียนมีความพึงพอใจในการใช้อุปกรณ์
2. ครูมีความพึงพอใจในการได้รับการส่งเสริมและพัฒนาการใช้สื่อการสอน
3. ครูและนักเรียนมีความพึงพอใจในการมีอุปกรณ์และเทคโนโลยีในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
วิธีการ
 สำรวจอุปกรณ์เทคโนโลยี
เครื่องมือ
 ประเมินความพึงพอใจ

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
1,334,000.00

กิจกรรมที่ 1 : การซ่อมบำรุงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการ
- ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม
- ดำเนินกิจกรรม
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการประเมินกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 : ส่งเสริมและพัฒนาการใช้สื่อการสอนของครู
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการ
- ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม
- ดำเนินกิจกรรม
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการประเมินกิจกรรม
กิจกรรมที่ 3 : จัดซื้อวัสดุ-ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) - จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการ - ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) - บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม - ดำเนินกิจกรรม ขั้นตอนการประสานงาน(M2) - ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1) - สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) - รายงานผลการประเมินกิจกรรม

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

นางนันทนา วิราศรีและคณะ





นางนันทนา วิราศรีและคณะ





นางนันทนา วิราศรีและคณะ





โครงการส่งเสริมศักยภาพทางการเรียนคณิตศาสตร์นักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ระดับชั้น ม.1 และ ม. 4

วัตถุประสงค์
เพื่อส่งเสริมศักยภาพและพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
เชิงปริมาณ
 1. จำนวนผู้เรียนร้อยละ 65 มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณอยู่ในระดับดีขึ้นไป
2. จำนวนผู้เรียนร้อยละ 70 มีความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหาอยู่ในระดับดีขึ้นไป
3.จำนวนผู้เรียนร้อยละ 85 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อยู่ในระดับดีขึ้นไป
4. จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมศักยภาพ และพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ จำนวน 1 ครั้ง
เชิงคุณภาพ
 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 อยู่ในระดับมากที่สุด
วิธีการ
 ประเมินผลงานนักเรียน
เครื่องมือ
 ให้ผู้เรียนตอบสำรวจความพึงพอใจ

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
51,070.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมการอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการใช้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP) เพื่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ขั้นเตรียม
 1.ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
- ขออนุมัติโครงการ
2.ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
- ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ

ขั้นดำเนินการ
 3.ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
- จัดเตรียมอุปกรณ์ เอกสารประกอบการอบรม
- จัดซื้ออาหาร อาหารว่าง น้ำดื่มสำหรับนักเรียน วิทยากร คณะกรรมการดำเนินงาน
- จัดกิจกรรมการอบรมโปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP)
4.ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
4.1 ประสานงานภายใน
- งานอาคารสถานที่
- งานประชาสัมพันธ์
- งานการเงิน
- งานโสตและทัศนูปกรณ์
4.2 ประสานงานภายนอก
- ขอความอนุเคราะห์วิทยากรภายนอก
- ขอความอนุเคราะห์มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
4.3 ภาพถ่ายกิจกรรม

ขั้นสรุป  5.ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- แบบสอบถามความพึงพอใจ
- แบบบันทึกผลงานนักเรียน
6.ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- ประเมินผลแบบสอบถามความพึงพอใจ
- สรุป ประเมินผลโครงการ เพื่อปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาโครงการ
- ข้อเสนอแนะจากผู้บริหาร/ผู้รับผิดชอบกิจกรรม/ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

16/5/2567 ถึง
30/9/2567

 

 

นายประณต ฉัฐมะ





อบรมเชิงปฏิบัติการทางด้านเทคโนโลยี

วัตถุประสงค์
1. นักเรียนสามารถเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ตามโจทย์ที่กำหนดได้
2. นักเรียนสามารถคิดวิเคราะห์ปัญหา สังเคราะห์ รวบรวมข้อมูล และคิดสร้างสรรค์เพื่อเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์เพื่อแก้ปัญหาได้
2,3,3,4,4, เชิงปริมาณ
 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการคิดแก้ปัญหา การวางแผน รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ โดยอบรมนักเรียนจำนวน 70 คน แบ่งเป็นชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 35 คน และชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 35 คน และอบรมให้ความรู้ครูคอมพิวเตอร์ จำนวน 5 คน
เชิงคุณภาพ
 1. นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับกระบวนการคิดแก้ปัญหา การวางแผน รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์
2. นักเรียนมีความรู้ความสามารถในการเข้าร่วมแข่งขันหุ่นยนต์ในรายการต่างๆ
วิธีการ
 การประเมิน
เครื่องมือ
 การสังเกต

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
100,000.00

กิจกรรมที่ 1 : อบรมเชิงปฏิบัติการทางด้านเทคโนโลยี ม.ต้น
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- ประชุม เตรียมความพร้อม จัดทำเอกสารจัดการอบรม
- จัดหา ติดต่อวิทยากรเพื่อให้การอบรม
- รับสมัครนักเรียนที่สนใจเข้าร่วมอบรมหุ่นยนต์
- จัดหาหุ่นยนต์สำหรับอบรม
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง และออกคำสั่งการดำเนินงาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- ดำเนินการอบรมหุ่นยนต์
- แข่งขันการเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประสานงานกับทุกฝ่าย

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลต่อหัวหน้างานห้องเรียนพิเศษ และฝ่ายบริหาร

กิจกรรมที่ 2 : อบรมเชิงปฏิบัติการทางด้านเทคโนโลยี ม.ปลาย
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- ประชุม เตรียมความพร้อม จัดทำเอกสารจัดการอบรม
- จัดหา ติดต่อวิทยากรเพื่อให้การอบรม
- รับสมัครนักเรียนที่สนใจเข้าร่วมอบรมหุ่นยนต์
- จัดหาหุ่นยนต์สำหรับอบรม
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง และออกคำสั่งการดำเนินงาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- ดำเนินการอบรมหุ่นยนต์
- แข่งขันการเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประสานงานกับทุกฝ่าย

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลต่อหัวหน้างานห้องเรียนพิเศษ และฝ่ายบริหาร

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

นายก่อกิจ ธีราโมกข์





นายก่อกิจ ธีราโมกข์





โครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม

วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมความสามารถของนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ให้มีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมีสติ
2. เพื่อพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมความสามารถของนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ให้มีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
3. เพื่อให้นักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ได้เพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์
4. เพื่อให้ผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างโรงเรียนในกลุ่มภาคกลางตอนล่าง เข้าร่วมกิจกรรมปฐมนิเทศระหว่างโรงเรียนในกลุ่มภาคกลางตอนล่าง เข้าร่วมกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ในประเทศ
5. เพื่อสนับสนุนและพัฒนาขีดความสามารถและศักยภาพของนักเรียนที่มีความสามารถทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมให้บรรลุตามศักยภาพของผู้เรียนจากการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงกับแหล่งเรียนรู้
6. เพื่อให้นักเรียนมีทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ฝึกการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ภาค
สนาม 7. เพื่อส่งเสริมและปลูกฝังให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์เทคโนโลนีและสิ่งแวดล้อมและสร้างแรงจูงใจในการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในระดับที่สูงขึ้นไป
3, เชิงปริมาณ
 1. ร้อยละ 90 ของผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมีสติ
2. ร้อยละ 90 ของผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
3. ร้อยละ 90 ของผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์
4. ร้อยละ 90 ของผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างโรงเรียนนำเสนอผลงาน โครงงาน แข่งขันกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ในระดับโรงเรียน
5. ร้อยละ 90 ของผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจ ทักษะปฏิบัติการ และประสบการณ์ตรงจากการศึกษาแหล่งเรียนรู้
6. ร้อยละ90 ของผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่เข้าร่วมกิจกรรมมีทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์
7. ร้อยละ90 ของผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่เข้าร่วมกิจกรรมมีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลนีและสิ่งแวดล้อม

เชิงคุณภาพ
 1. ผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหา อยู่ในระดับดีขึ้นไป
2. ผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดีขึ้น
3. ผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มีความรู้ความเข้าใจภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์มากขึ้น
4. ผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มีทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์มากขึ้น
5. ผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์เทคโนโลนีและสิ่งแวดล้อมและสร้างแรงจูงใจในการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในระดับดีขึ้นไป
วิธีการ
 1.สังเกตพฤติกรรม
2.ตรวจใบงาน/ใบกิจกรรม
3.ตรวจแบบสอบถาม

เครื่องมือ
 1.สังเกตพฤติกรรม
2.ตรวจใบงาน/ใบกิจกรรม
3.ตรวจแบบสอบถาม

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
769,545.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมแข่งขันฟิสิกส์สัประยุทธ์
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ(T1)
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ (T1)
3. จัดทำคำสั่งผู้รับผิดชอบในการดำเนินโครงการ(T2)

ขั้นดำเนินการ
 1. ขออนุญาตดำเนินกิจกรรมแข่งขันฟิสิกส์สัประยุทธ์(M1)
2. ติดต่อประสานงานกับบุคลากรที่เกี่ยวข้องดำเนินกิจกรรมแข่งขันฟิสิกส์สัประยุทธ์(M2)
ขั้นสรุป  1. ประเมินความพึงพอใจ(V1)
2. รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม(V2)
กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมสานสัมพันธ์พี่รักน้องนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ(T1)
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ(T1)
3. จัดทำคำสั่งผู้รับผิดชอบในการดำเนินโครงการ(T2)
ขั้นดำเนินการ
 1. ดำเนินการจัดทำตารางการปฏิบัติกิจกรรมสานสัมพันธ์พี่รักน้องนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม(M1)
2.ติดต่อประสานงานกับบุคลากรที่เกี่ยวข้อง และดำเนินกิจกรรมสานสัมพันธ์พี่รักน้องนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม(M2)
ขั้นสรุป  1. ประเมินความพึงพอใจ(V1)
2. รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม(V2)
กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์เชิงปฏิบัติการแบบบูรณาการของนักเรียนห้องเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ(T1)
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ (T1)
3. จัดทำคำสั่งผู้รับผิดชอบในการดำเนินโครงการ(T2)
ขั้นดำเนินการ
 1. ดำเนินการจัดทำตารางกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์เชิงปฏิบัติการแบบบูรณาการของนักเรียนห้องเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น(M1)
2. ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง/ติดต่อวิทยากร(M2)
3. ดำเนินการจัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์เชิงปฏิบัติการแบบบูรณาการของนักเรียนห้องเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น(M2)
ขั้นสรุป  1. ประเมินความพึงพอใจ(V1)
2. รายงานผลการดำเนินการจัดค่าย(V2)
กิจกรรมที่ 4 : กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์เชิงปฏิบัติการแบบบูรณาการของนักเรียนห้องเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ(T1)
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ (T1)
3. จัดทำคำสั่งผู้รับผิดชอบในการดำเนินโครงการ(T2)
ขั้นดำเนินการ
 1. ดำเนินการจัดทำตารางกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์เชิงปฏิบัติการแบบบูรณาการของนักเรียนห้องเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย(M1)
2. ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง/ติดต่อวิทยากร(M2)
3. ดำเนินการจัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์เชิงปฏิบัติการแบบบูรณาการของนักเรียนห้องเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย(M2)
ขั้นสรุป  1. ประเมินความพึงพอใจ(V1)
2. รายงานผลการดำเนินการจัดค่าย(V2)
กิจกรรมที่ 5 : กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี และชีววิทยานักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ(T1)
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ (T1)
3. จัดทำคำสั่งผู้รับผิดชอบในการดำเนินโครงการ(T2)
ขั้นดำเนินการ
 1. ดำเนินการจัดทำตารางการอบรมเชิงปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี และชีววิทยา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (M1)
2. ประสานงานกับทีมวิทยากร เพื่อเตรียมพร้อมและดำเนินการอบรมเชิงปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี และชีววิทยา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (M2)
ขั้นสรุป  1. ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถาม(V1)
2. รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม(V2)
กิจกรรมที่ 6 : กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ด้วยภาษาอังกฤษเสริมนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ(T1)
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง(T1)
3. จัดทำคำสั่งผู้รับผิดชอบในการดำเนินโครงการ(T2)
ขั้นดำเนินการ
 1. ดำเนินการจัดทำตารางค่ายวิทยาศาสตร์ด้วยภาษาอังกฤษเสริมนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (M1)
2. ประสานงานกับทีมวิทยากร เพื่อเตรียมพร้อมและดำเนินการจัดค่ายวิทยาศาสตร์ด้วยภาษาอังกฤษเสริมนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น(M2)
ขั้นสรุป  1. ประเมินความพึงพอใจ(V1)
2. รายงานผลการดำเนินการจัดค่าย(V2)
กิจกรรมที่ 7 : กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ด้วยภาษาอังกฤษเสริมนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ(T1)
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง(T1)
3. จัดทำคำสั่งผู้รับผิดชอบในการดำเนินโครงการ(T2)
ขั้นดำเนินการ
 1. ดำเนินการจัดทำตารางค่ายวิทยาศาสตร์ด้วยภาษาอังกฤษเสริมนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (M1)
2. ประสานงานกับทีมวิทยากร เพื่อเตรียมพร้อมและดำเนินการจัดค่ายวิทยาศาสตร์ด้วยภาษาอังกฤษเสริมนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย(M2)
ขั้นสรุป  1. ประเมินความพึงพอใจ(V1)
2. รายงานผลการดำเนินการจัดค่าย(V2)
กิจกรรมที่ 8 : กิจกรรมเตรียมความพร้อมนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ(T1)
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ (T1)
3. จัดทำคำสั่งผู้รับผิดชอบในการดำเนินโครงการ(T2)
ขั้นดำเนินการ
 1. ขออนุญาตดำเนินการจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมนักเรียนชั้นมัธยมศึกาาปีที่ 4 ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม(M1)
2. ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง(M2)
3. ดำเนินการจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมนักเรียนชั้นมัธยมศึกาาปีที่ 4 ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม (M2)
ขั้นสรุป  1. ประเมินความพึงพอใจ(V1)
2. รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม(V2)
กิจกรรมที่ 9 : กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิชาการของนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ(T1)
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ (T1)
3. จัดทำคำสั่งผู้รับผิดชอบในการดำเนินโครงการ(T2)
ขั้นดำเนินการ
 1. ขออนุญาตดำเนินการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิชาการของนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม(M1)
2. ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง(M2)
3. ดำเนินการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิชาการของนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม(M2)
ขั้นสรุป  1. ประเมินความพึงพอใจ(V1)
2. รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม(V2)
กิจกรรมที่ 10 : กิจกรรมจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์และสารเคมีห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(T1)
2. สำรวจตรวจสอบวัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี ทุกห้องปฏิบัติการ(T1)
3. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณในการจัดซื้อ(T1)
4. จัดทำคำสั่งผู้รับผิดชอบในการดำเนินโครงการ(T2)
ขั้นดำเนินการ
 1. ดำเนินการจัดรายการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี(M1)
2. ประสานงานกับฝ่ายพัสดโรงเรียนเพื่อดำเนินการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี(M2)
3. จัดทำทะเบียนการใช้สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ สารเคมี (M2)
ขั้นสรุป  1. ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ และสารเคมี(V1)
2. รายงานผลการดำเนินกิจกรรม(V2)

8/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

8/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

8/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

8/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

8/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

8/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

8/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

8/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

8/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

8/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

ครูเกรียงไกร จันหอม





ครูเกรียงไกร จันหอม





ครูเกรียงไกร จันหอม





ครูเกรียงไกร จันหอม





ครูเกรียงไกร จันหอม





ครูเกรียงไกร จันหอม





ครูเกรียงไกร จันหอม





ครูเกรียงไกร จันหอม





ครูเกรียงไกร จันหอม





ครูเกรียงไกร จันหอม





พัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความสามารถในทักษะการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ทางด้านวิชาภาษาจีน
2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ และเจตคติที่ดีต่อศิลปวัฒนธรรมจีน
3. เพื่อส่งเสริมให้ครู ผลิตสื่อ/นวัตกรรมที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
4. เพื่อปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆและปรับปรุงด้านสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องศูนย์ภาษาจีน
1, เชิงปริมาณ
 1. นักเรียนร้อยละ ๘๐ ได้รับการพัฒนาทางด้านการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ทางด้านวิชาภาษาจีน
2. นักเรียนร้อยละ ๘๐ มีความรู้ และเจตคติที่ดีต่อศิลปวัฒนธรรมจีน
3. ครูที่สอนในรายวิชาภาษาจีน ร้อยละ 100 ผลิตสื่อ/นวัตกรรมที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
4. ห้องศูนย์ภาษาจีน ได้รับการปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆและปรับปรุงด้านสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

เชิงคุณภาพ
 1. นักเรียนได้รับการพัฒนาทางด้านการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ทางด้านวิชาภาษาจีนอยู่ในระดับดีขึ้นไป
2. นักเรียนมีความรู้ และเจตคติที่ดีต่อศิลปวัฒนธรรมจีนอยู่ในระดับดีขึ้นไป
3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูที่สอนในรายวิชาภาษาจีน โดยใช้สื่อ/นวัตกรรมที่ผลิต อยู่ในระดับ ดี
4. ห้องศูนย์ภาษาจีนได้รับการปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆและปรับปรุงด้านสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกให้เป็นบรรยากาศแห่งการเรียนรู้
วิธีการ
 ครูนักเรียนและผู้เกี่ยวข้องทำแบบสอบถาม
เครื่องมือ
 ครูนักเรียนและผู้เกี่ยวข้องทำแบบสอบถาม

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
130,000.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมค่ายภาษาจีน
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
- เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- ประชุมคณะกรรมการเพื่อเตรียมดำเนินการและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) - เตรียมเนื้อหาเอกสารในการจัดกิจกรรม
- ดำเนินการจัดกิจกรรมค่ายภาษาจีน
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประชาสัมพันธ์รับสมัครนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม
- ติดต่อประสานงานวิทยากรชาวต่างประเทศและติดต่อประสานงานแหล่งเรียนรู้ต่างๆ

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- ประเมินผลการจัดกิจกรรม
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ
- นำผลการปฏิบัติมาปรับปรุงกิจกรรม
- นำกิจกรรมที่ปรับปรุงแล้ว ใช้เป็นต้นแบบของโครงการต่อไป

กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมปรับปรุงวัสดุ-อุปกรณ์ต่างๆในห้องศูนย์วิชาภาษาจีน
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- สำรวจวัสดุอุปกรณ์ต่างในห้องศูนย์ภาษาจีน
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการเพื่อขออนุมัติ

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- ดำเนินงานตามโครงการกิจกรรมพัฒนาปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆในห้องศูนย์วิชาภาษาจีน
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปผลการดำเนินการ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการดำเนินการตามโครงการ

กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมพัฒนาทักษะสู่ความเป็นเลิศทางภาษาจีน
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- ประชุมวางแผนการดำเนินงาน
- แจ้งกิจกรรมและหลักเกณฑ์การประกวดแข่งขัน
- ดำเนินงานแข่งขันตามรายการต่างๆ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) -ประชุมคณะกรรมการดำเนินการและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ -เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการ
ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- ดำเนินการประกวด แข่งขันกิจกรรมต่างๆ ในระดับเขต ระดับภาคและระดับประเทศ
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้กิจกรรมดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปผลการแข่งขัน ในระดับเขต ระดับภาค และระดับประเทศ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการดำเนินการตามโครงการ

กิจกรรมที่ 4 : กิจกรรมเสริมสร้างวัฒนธรรมจีน
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
- เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- ประชุมคณะกรรมการเพื่อเตรียมดำเนินการและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- เตรียมเนื้อหาเอกสารและวัสดุอุปกรณืในการจัดกิจกรรมวันตรุษจีน
- ดำเนินการจัดกิจกรรมวันตรุษจีน
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประชาสัมพันธ์รับสมัครนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมและการแข่งขันต่างๆ
- ติดต่อประสานงานระหว่างคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายบริหาร เพื่อให้กิจกรรมดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1) - ประเมินผลการจัดกิจกรรม ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ
- นำผลการปฏิบัติมาปรับปรุงกิจกรรม
- นำกิจกรรมที่ปรับปรุงแล้ว ใช้เป็นต้นแบบของโครงการต่อไป

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

นางกิติยา พันธ์ครุฑ





นางกิติยา พันธ์ครุฑ นางสาวมนัชญา กาติ๊บ และ นางสาวณัฐชฎา ทองเอีย





นางกิติยา พันธ์ครุฑ นางสาวมนัชญา กาติ๊บ และ นางสาวณัฐชฎา ทองเอีย





นางสาวมนัชญา กาติ๊บ





โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการฟัง พูดอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคำนวณด้านภาษาญี่ปุ่นและตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม
2. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพด้านภาษาญี่ปุ่น
4,5, เชิงปริมาณ
 1. นักเรียนที่เข้าค่ายภาษาร้อยละ 70 มีความสามารถในการฟัง พูดอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคำนวณด้านภาษาญี่ปุ่นและตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม
2. นักเรียนที่เข้าค่ายภาษาร้อยละ 70 มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพด้านภาษาญี่ปุ่น

เชิงคุณภาพ
 1. นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารด้านภาษาญี่ปุ่นและตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมอยู่ในระดับดีขึ้นไป
2. นักเรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพด้านภาษาญี่ปุ่นอย่ในระดับดีขึ้นไป
วิธีการ
 ถามตอบกับนักเรียนเพื่อวัดความรู้
เครื่องมือ
 แบบประเมินความพึงพอใจ
แบบสอบถาม

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
130,000.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมค่ายภาษาญี่ปุ่น
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- ประชุมคณะกรรมการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ และนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพภาษาญี่ปุ่นดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงานกิจกรรม
- เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ - ออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ และนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพภาษาญี่ปุ่น - ประชุมคณะกรรมการเพื่อเตรียมดำเนินการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ และนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพภาษาญี่ปุ่น
ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- เตรียมเนื้อหาเอกสารในการจัดกิจกรรม
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประชาสัมพันธ์รับสมัครนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม
- ติดต่อประสานงานวิทยากรชาวต่างประเทศหรือวิทยากรภาษาญี่ปุ่น และติดต่อประสานงานแหล่งเรียนรู้ต่างๆ
- ดำเนินการเข้าค่ายภาษาญี่ปุ่น
ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- ประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่เข้าค่าย
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- นำผลการปฏิบัติมาปรับปรุงกิจกรรม
- นำกิจกรรมที่ปรับปรุงแล้ว ใช้เป็นต้นแบบของโครงการต่อไป
กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมพัฒนาทักษะสู่ความเป็นเลิศทางภาษาญี่ปุ่น
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- ประชุมวางแผนการ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- แจ้งกิจกรรมและหลักเกณฑ์การประกวดแข่งขัน
- ดำเนินงาน
ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- ดำเนินการประกวด แข่งขันกิจกรรมต่างๆ ในระดับเขต ระดับภาค ระดับประเทศ
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- คณะครู เเละ นักเรียนเบิกวัสดุอุปกรณ์ไปใช้ในการฝึกซ้อม

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปผลการแข่งขัน ระดับเขต ระดับภาค ระดับประเทศ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- สรุปรายงานผลการดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆในห้องศูนย์วิชาภาษาญี่ปุ่น
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- ดำเนินงานตามโครงการกิจกรรมพัฒนาปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆในห้องศูนย์วิชาภาษาญี่ปุ่น
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปผลการดำเนินการ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อฝ่ายบริหาร

6/10/2566 ถึง
15/9/2567

 

 

6/10/2566 ถึง
15/9/2567

 

 

6/10/2566 ถึง
15/9/2567

 

 

นางสาวณัฐชนก บุตรดาวงษ์ และนางกัญญารัตน์ เรือนอินทร์





นางสาวณัฐชนก บุตรดาวงษ์ และนางสาวกัญญารัตน์ เรือนอินทร์





นางสาวณัฐชนก บุตรดาวงษ์ และนางสาวกัญญารัตน์ เรือนอินทร์





ประเมินการจัดโครงการหรือกิจกรรมของกลุ่มบริหารงานวิชาการ

วัตถุประสงค์
เพื่อนำผลการประเมินโครงการหรือกิจกรรมไปใช้ในการตัดสินใจเกี่ยวกับการปรับปรุงโครงการหรือกิจกรรมในอนาคต
4, เชิงปริมาณ
 กลุ่มงานบริหารวิชาการได้รับการประเมินโครงการหรือกิจกรรมที่มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการการประเมินผลการดำเนินงาน ร้อยละ 100

เชิงคุณภาพ
 กลุ่มงานบริหารวิชาการนำผลการประเมินโครงการหรือกิจกรรมไปใช้ในการตัดสินใจเกี่ยวกับการปรับปรุงโครงการหรือกิจกรรมในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วิธีการ
 รายงานสรุปความพึงพอใจในการประเมินโครงการต่อคณะผู้บริหาร
เครื่องมือ
 รายงานผลการดำเนินการโครงการ

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : ประเมินการจัดโครงการหรือกิจกรรมของกลุ่มงานบริหารวิชาการ
ขั้นเตรียม
 T1-Team management to framework
- การจัดการประชุมการวางแผนงานการดำเนินโครงการประเมินการจัดโครงการหรือกิจกรรมของกลุ่มงานบริหารวิชาการ
- การเขียนแผนงานการดำเนินโครงการประเมินการจัดโครงการหรือกิจกรรมของกลุ่มงานบริหารวิชาการ
- การเสนอแผนงานการดำเนินโครงการประเมินการจัดโครงการหรือกิจกรรมของกลุ่มงานบริหารวิชาการเพื่อขอเสนออนุมัติ
- การบันทึกการประชุมการวางแผนงานการดำเนินโครงการประเมินการจัดโครงการหรือกิจกรรมของกลุ่มงานบริหารวิชาการ
T2-Tabulation to organization
- การประชุมการดำเนินงานตามแผนการดำเนินโครงการต่าง ๆ ในกลุ่มงานบริหารวิชาการ เพื่อกำหนดภาระงาน หน้าที่ ผู้รับผิดชอบ และแต่งตั้งคำสั่ง
- การแต่งตั้งคำสั่งการประเมินการจัดโครงการหรือกิจกรรมของกลุ่มงานบริหารวิชาการ
ขั้นดำเนินการ
 M1-Management to command
- การจัดทำแบบประเมินความคิดเห็นเเละความพึงพอใจในการดำเนินโครงการหรือกิจกรรมของกลุ่มงานบริหารวิชาการตามคำสั่งที่ได้รับมอบหมาย โดยวิธีประเมินแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale)
M2-Making a correlation
- การเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เข้าร่วมโครงการหรือกิจกรรมโดยใช้เครื่องมือ Application Google form
ขั้นสรุป  V1-Validity to evaluation
- การวิเคราะห์ผลการดำเนินโครงการหรือกิจกรรมโดยใช้เครื่องมือ SPSS, Microsoft excel
V2-Variation from supervising
- การบันทึกข้อความสรุปผลการดำเนินโครงการหรือกิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมาย นำเสนอต่อผู้บริหารโรงเรียนทราบและพิจารณา
- การนำผลสรุปการดำเนินโครงการหรือกิจกรรมนำเสนอต่อผู้ดำเนินโครงการหรือกิจกรรมเพื่อใช้ในการพิจารณาโครงการต่อไป

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

นายมนตรี แต่งจันทร์





ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม (ค่ายคุณธรรม) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เข้าร่วมโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม (ค่ายคุณธรรม)
2. เพื่อให้นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม (ค่ายคุณธรรม)
1,3,5, เชิงปริมาณ
 1. นักเรียนชั้น ม.4 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม เข้าร่วมโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม (ค่ายคุณธรรม) ร้อยละ 90

เชิงคุณภาพ
 1. นักเรียนชั้น ม.4 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ร้อยละ 90 มีความพึงพอใจที่ดีต่อการเข้าร่วมโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม (ค่ายคุณธรรม)
วิธีการ
 1. ให้นักเรียนลงทะเบียนการเข้าร่วมกิจกรรมลงในใบเช็คชื่อ
เครื่องมือ
 1. ให้นักเรียนทำแบบประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม

เงิน
อุดหนุนฯ
48,215.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม (ค่ายคุณธรรม) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ขั้นเตรียม
 1. ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
1.1 ประชุมวางแผน ขออนุมัติโครงการ และแต่งตั้งคณะกรรมการ
1.2 ประชุมชี้แจงครูและนักเรียน
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
2.1 จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม (ค่ายคุณธรรม)

ขั้นดำเนินการ
 3.ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
3.1 บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม
3.2 ติดต่อวิทยากร
3.3 ทำหนังสือเชิญวิทยากร,หนังสือแจ้งผู้ปกครองนักเรียน เตรียมอุปกรณ์ในการอบรม
3.4 ตารางการอบรม
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
4.1 ทำบันทึกรายชื่อผู้เข้าร่วมอบรม
4.2 ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม

ขั้นสรุป  5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
5.1 ทำแบบประเมินความพึงพอใจ
5.2 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
6.1 บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินโครงการ
6.2 สรุปรูปเล่มรายงานโครงการ

16/5/2567 ถึง
31/7/2567

 

 

นางสาวกมลชนก หาดรื่น





ส่งเสริมวิชาการความรู้ความสามารถและทักษะของนักเรียน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้นักเรียนได้แสดงความรู้ความสามารถทางทักษะวิชาการ
2. เพื่อให้นักเรียนได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันอันจะนำไปสู่การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้
3. เพื่อเป็นการนำเสนอและเผยแพร่ผลงานของนักเรียน ครู และสร้างความมั่นใจด้านวิชาการ ความรู้แก่นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน สังคม
เชิงปริมาณ
 1. นักเรียน ร้อยละ 80 ได้แสดงความรู้ความสามารถทางทักษะวิชาการทั้งในโรงเรียนเเละนอกโรงเรียน
2. นักเรียน ร้อยละ 85 ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในกิจกรรมนิทรรศการวิชาการของโรงเรียน
3. ผู้ปกครอง ชุมชน และ หน่วยงานภายนอก มีความพึงพอใจกิจกรรมนิทรรศการวิชาการของโรงเรียนในระดับดี ร้อยละ 80 ขึ้นไป

เชิงคุณภาพ
 1. นักเรียนมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมทักษะวิชาการทั้งในโรงเรียนเเละนอกโรงเรียนเเละกิจกรรมนิทรรศการวิชาการของโรงเรียนในระดับดีขึ้นไป
2. ผู้ปกครอง ชุมชน และ หน่วยงานภายนอก มีความพึงพอใจกิจกรรมนิทรรศการวิชาการของโรงเรียนในระดับดีขึ้นไป
วิธีการ
 การเข้าร่วมการแข่งขัน กิจกรรมต่างๆ

เครื่องมือ
 การเข้าร่วมการแข่งขัน กิจกรรมต่างๆ

เงิน
อุดหนุนฯ
1,934,080.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : การแข่งขันทักษะทางวิชาการงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน
ขั้นเตรียม
 T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการดำเนินงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนฝึกซ้อมนักเรียน เเละเตรียมการแข่งขัน

ขั้นดำเนินการ
 M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการดำเนินงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนดำเนินการฝึกซ้อมนักเรียนเเละเตรียมการแข่งขัน
M2 การประสานงาน
4. คณะกรรมการดำเนินงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนประสานงานแข่งขันในแต่ละรายการ
5. งานพัสดุจัดซื้อวัสดุเเละอุปกรณ์ต่าง ๆ
6. คณะครู เเละ นักเรียนเบิกวัสดุอุปกรณ์ไปใช้ในการฝึกซ้อม

ขั้นสรุป  V1 การประเมินผล
7. รายงานผลการดำเนินงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน
V2 การกำกับติดตาม
8. ติดตามผลการดำเนินงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน

กิจกรรมที่ 2 : นิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการ
ขั้นเตรียม
 T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการ
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการสำรวจรายการวัสดุอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอน

ขั้นดำเนินการ
 M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการกำหนดรายการที่จำเป็นต้องซื้อ
M2 การประสานงาน
4. คณะกรรมการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการเขียนเอกสารดำเนินการจัดซื้อเเละประสานงานพัสดุในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
5. งานพัสดุจัดซื้อวัสดุเเละอุปกรณ์ต่าง ๆ
6. ครู เเละ นักเรียนเบิกวัสดุอุปกรณ์ไปใช้ในการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการ

ขั้นสรุป  V1 การประเมินผล
7. รายงานผลการจัดนิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการ
V2 การกำกับติดตาม
8. จัดทำรายงานโครงการ

กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมพัฒนาทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศ
ขั้นเตรียม
 T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศ
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการดำเนินงานทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศฝึกซ้อมนักเรียน เเละเตรียมการแข่งขัน

ขั้นดำเนินการ
 M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการดำเนินงานทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศฝึกซ้อมนักเรียนเเละเตรียมการแข่งขัน
M2 การประสานงาน
4. คณะกรรมการดำเนินงานทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศประสานงานแข่งขันในแต่ละรายการ
5. งานพัสดุจัดซื้อวัสดุเเละอุปกรณ์ต่าง ๆ
6. คณะครู เเละ นักเรียนเบิกวัสดุอุปกรณ์ไปใช้ในการฝึกซ้อม

ขั้นสรุป  V1 การประเมินผล
7. รายงานผลการดำเนินงานทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศ
V2 การกำกับติดตาม
8. ติดตามผลการดำเนินงานทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศ

กิจกรรมที่ 4 : ส่งเสริมงานวิชาการด้านการพัฒนาแหล่งเรียนรู้
ขั้นเตรียม
 T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานส่งเสริมงานวิชาการ
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการดำเนินงานส่งเสริมงานวิชาการ

ขั้นดำเนินการ
 M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการดำเนินงานส่งเสริมงานวิชาการฝึกซ้อมนักเรียนเเละเตรียมการแข่งขัน
M2 การประสานงาน
4. คณะกรรมการดำเนินงานส่งเสริมงานวิชาการประสานงานแข่งขันในแต่ละรายการ
5. งานพัสดุจัดซื้อวัสดุเเละอุปกรณ์ต่าง ๆ
6. คณะครู เเละ นักเรียนเบิกวัสดุอุปกรณ์ไปใช้ในการฝึกซ้อม

ขั้นสรุป  V1 การประเมินผล
7. รายงานผลการดำเนินงานส่งเสริมงานวิชาการ
V2 การกำกับติดตาม
8. ติดตามผลการดำเนินส่งเสริมงานวิชาการ

กิจกรรมที่ 5 : ค่ายเตรียมความพร้อมเพื่อก้าวสู่มัธยมศึกษาตอนปลาย และมหาวิทยาลัย
ขั้นเตรียม
 T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานจัดค่ายเตรียมความพร้อมฯ
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการดำเนินงานจัดเตรียมความพร้อมฯ

ขั้นดำเนินการ
 M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
M2 การประสานงาน
4. คณะกรรมการดำเนินงานประสานงานกับผู้เกี่ยวข้องในการดำเนินกิจกรรม
5. งานพัสดุจัดซื้อวัสดุเเละอุปกรณ์ต่าง ๆ
6. นักเรียน เข้าค่ายเตรียมความพร้อมฯ
ขั้นสรุป  V1 การประเมินผล
7. รายงานผลการดำเนินงานส่งเสริมงานวิชาการ
V2 การกำกับติดตาม
8. ติดตามผลการดำเนินส่งเสริมงานวิชาการ

กิจกรรมที่ 6 : กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะ และการเรียนรู้ (กระดาษ)
ขั้นเตรียม
 T1 การวางแผนการทำงานเป็นทีม
1. แต่งตั้งคณะกรรมการสำนักงานวิชาการ
T2 การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
2. มอบหมายให้คณะกรรมการสำนักงานวิชาการสำรวจจำนวนกระดาษA4

ขั้นดำเนินการ
 M1 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่
3. คณะกรรมการสำนักงานวิชาการกำหนดรายการที่ต้องซื้อ
M2 การประสานงาน
4. คณะกรรมการสำนักงานวิชาการเขียนเอกสารดำเนินการจัดซื้อเเละประสานงานพัสดุในการจัดซื้อกระดาษ A4 ขาว
5. งานพัสดุจัดซื้อกระดาษA4
6. คณะครู นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษา เบิกกระดาษ A4 ขาว ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน

ขั้นสรุป  7. สำรวจความเพียงพอ
8. สอบถามความพึงพอใจ
V2 การกำกับติดตาม
9. จัดทำรายงานโครงการ

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

นางนิชนันท์ จันหอม





นางนิชนันท์ จันหอม





นางนิชนันท์ จันหอม





นางนิชนันท์ จันหอม





นางนิชนันท์ จันหอม





นางนิชนันท์ จันหอม





ส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรม (ลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด)

วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมวันสำคัญของลูกเสือและกิจกรรมต่างๆของลูกเสือ
2. เพื่อการจัดซื้อและจัดจ้างและอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอนลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด
3. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมยุวอาสา
4. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมการอยู่ค่ายพักแรมของลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด
1, เชิงปริมาณ
 1. นักเรียนร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรมวันสำคัญของลูกเสือและกิจกรรมต่างๆของลูกเสือ
2. ครูร้อยละ 100 มีอุปกรณ์ที่ใช้การจัดการเรียนการสอนลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด
3. นักเรียนร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรมยุวอาสา
4. นักเรียนร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรมการอยู่ค่ายพักแรมของลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด

เชิงคุณภาพ
 1. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมวันสำคัญของลูกเสือและกิจกรรมต่างๆของลูกเสือ อยู่ในระดับ ดี ขึ้นไป
2. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด อยู่ในระดับ ดี ขึ้นไป
3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมยุวอาสา อยู่ในระดับ ดี ขึ้นไป
4. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมชุมนุม อยู่ในระดับ ดี ขึ้นไป
5. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมการอยู่ค่ายพักแรมของลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด อยู่ในระดับ ดี ขึ้นไป
วิธีการ
 สังเกต สัมภาษณ์ และ ตรวจสอบรายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
เครื่องมือ
 ประเมินความพึงพอใจ

เงิน
อุดหนุนฯ
322,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมวันสำคัญของลูกเสือระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4. ดำเนินกิจกรรมวันสำคัญของลูกเสือระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6. สรุปผลการดำเนินการ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
7. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป

กิจกรรมที่ 2 : จัดซื้อจัดจ้างและอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอนลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4. ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ สำรวจความต้องการใช้วัสดุ อุปกรณ์ ประสานงานผู้เกี่ยวข้อง และดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6. สรุปผลการดำเนินการ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
7. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป

กิจกรรมที่ 3 : ลูกเสืออาสา กกต.
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4. ดำเนินการกิจกรรมลูกเสือ กกต.
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6. สรุปผลการดำเนินการ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
7. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป

กิจกรรมที่ 4 : กิจกรรมยุวอาสา
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4. ดำเนินการกิจกรรมยุวอาสา
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6. สรุปผลการดำเนินการ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
7. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป

กิจกรรมที่ 5 : กิจกรรมอยู่ค่ายพักแรมของลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4. ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ ประสานงานผู้เกี่ยวข้อง และจัดกิจกรรมค่ายพักแรม สถานที่เข้าค่าย คือ ค่ายบ้านเสธ์รีสอร์ท แอนด์แคมป์ อ.เมือง จ.ราชบุรี
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6. สรุปผลการดำเนินการ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
7. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป

กิจกรรมที่ 6 : กิจกรรมอยู่ค่ายพักแรมของลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4. ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ ประสานงานผู้เกี่ยวข้อง และจัดกิจกรรมค่ายพักแรม สถานที่เข้าค่าย คือ ค่ายบ้านเสธ์รีสอร์ท แอนด์แคมป์ อ.เมือง จ.ราชบุรี
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6. สรุปผลการดำเนินการ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
7. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป

กิจกรรมที่ 7 : กิจกรรมอยู่ค่ายพักแรมของลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4. ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ ประสานงานผู้เกี่ยวข้อง และจัดกิจกรรมค่ายพักแรม สถานที่เข้าค่าย คือ ค่ายลูกเสือ เอลละเฟิ่น แคมป์ จ.ราชบุรี
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6. สรุปผลการดำเนินการ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
7. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป

6/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

6/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

6/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

6/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

6/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

6/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

6/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

นายจีระศักดิ์ กลมวง





นายจีระศักดิ์ กลมวง





นายจีระศักดิ์ กลมวง





นางกันหา อินจีน





นางสาวณัฐกาญจน์ จานแก้ว





นางสาวปวีณา ปูชะพันธ์





นายอรรถพล ศรัทธาผล





ทัศนศึกษานอกสถานที่

วัตถุประสงค์
เพื่อให้นักรียนได้รับความรู้และประสบการณ์ตรงจากการเข้าร่วมกิจกรรมทัศนศึกษา
1, เชิงปริมาณ
 นักเรียนร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรมทัศนศึกษานอกสถานที่

เชิงคุณภาพ
 นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมทัศนศึกษานอกสถานที่ อยู่ในระดับ ดี ขึ้นไป
วิธีการ
  สังเกต ตรวจสอบรายชื่อ
เครื่องมือ
  ประเมินความพึงพอใจ

เงิน
อุดหนุนฯ
639,300.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมทัศนศึกษานักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1.ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2.เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4. ดำเนินกิจกรรมตามแผนที่วางไว้ ติดต่อสถานที่ ประชาสัมพันธ์สถานที่ทัศนศึกษาให้นักเรียนทราบ ทำหนังสือขออนุญาตผู้ปกครองนักเรียน เตรียมเอกสารและอุปกรณ์ และดำเนินการจัดกิจกรรมทัศนศึกษาตามวันเวลาที่กำหนด
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6.ประเมินผล สรุป และจัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
7.บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม

กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมทัศนศึกษานักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1.ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2.เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4. ดำเนินกิจกรรมตามแผนที่วางไว้ ติดต่อสถานที่ ประชาสัมพันธ์สถานที่ทัศนศึกษาให้นักเรียนทราบ ทำหนังสือขออนุญาตผู้ปกครองนักเรียน เตรียมเอกสารและอุปกรณ์ และดำเนินการจัดกิจกรรมทัศนศึกษาตามวันเวลาที่กำหนด
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6.ประเมินผล สรุป และจัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
7.บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม

กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมทัศนศึกษานักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1.ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2.เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4. ดำเนินกิจกรรมตามแผนที่วางไว้ ติดต่อสถานที่ ประชาสัมพันธ์สถานที่ทัศนศึกษาให้นักเรียนทราบ ทำหนังสือขออนุญาตผู้ปกครองนักเรียน เตรียมเอกสารและอุปกรณ์ และดำเนินการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา ตามวันเวลาที่กำหนด br> ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6.ประเมินผล สรุป และจัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
7.บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม

กิจกรรมที่ 4 : กิจกรรมทัศนศึกษานักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1.ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2.เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4. ดำเนินกิจกรรมตามแผนที่วางไว้ ติดต่อสถานที่ ประชาสัมพันธ์สถานที่ทัศนศึกษาให้นักเรียนทราบ ทำหนังสือขออนุญาตผู้ปกครองนักเรียน เตรียมเอกสารและอุปกรณ์ และดำเนินการจัดกิจกรรมทัศนศึกษาตามกำหนดการ
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6.ประเมินผล สรุป และจัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
7.บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม

กิจกรรมที่ 5 : กิจกรรมทัศนศึกษานักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1.ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2.เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4. ดำเนินกิจกรรมตามแผนที่วางไว้ ติดต่อสถานที่ ประชาสัมพันธ์สถานที่ทัศนศึกษาให้นักเรียนทราบ ทำหนังสือขออนุญาตผู้ปกครองนักเรียน เตรียมเอกสารและอุปกรณ์ และดำเนินการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา ตามวันเวลาที่กำหนด
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6.ประเมินผล สรุป และจัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
7.บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม

กิจกรรมที่ 6 : กิจกรรมทัศนศึกษานักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1.ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2.เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4. ดำเนินกิจกรรมตามแผนที่วางไว้ ติดต่อสถานที่ ประชาสัมพันธ์สถานที่ทัศนศึกษาให้นักเรียนทราบ ทำหนังสือขออนุญาตผู้ปกครองนักเรียน เตรียมเอกสารและอุปกรณ์ และดำเนินการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา ตามวันเวลาที่กำหนด
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6.ประเมินผล สรุป และจัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
7.บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม

1/1/2567 ถึง
31/3/2567

 

 

1/1/2567 ถึง
31/3/2567

 

 

1/1/2567 ถึง
31/3/2567

 

 

1/1/2567 ถึง
31/3/2567

 

 

1/1/2567 ถึง
31/3/2567

 

 

1/1/2567 ถึง
31/3/2567

 

 

นางสาวนันทิพร วงษ์ดาว





ว่าที่ร้อยตรีหญิงทิพย์มาศ สำแดง





นายมนตรี แต่งจันทร์





นายจิรภัทร เหลือวัฒนวิไล





นายประณต ฉัฐมะ





นางสาวชมพูนุท คำธารา





โครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (กิจกรรมชุมนุม)

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ครูการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
2. เพื่อให้นักเรียนสามารถเลือกเรียนชุมนุมได้ตามความถนัดและความสนใจ
1, เชิงปริมาณ
 1. ครูผู้สอนร้อยละ 100 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ให้กับนักเรียนในชุมนุม
2. นักเรียนร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรมชุนุมตามความถนัดและความสนใจ

เชิงคุณภาพ
 1. ครูผู้สอนจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ให้กับนักเรียนในชุมนุมทุกคน
2. นักเรียนมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมชุมนุมตามความถนัดและความสนใจ อยู่ในระดับ ดี ขึ้นไป
วิธีการ
 การจัดการเรียนการสอนกิจกรรมชุมนุม และตรวจสอบรายชื่อนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมชุมนุม
เครื่องมือ
 ประเมินความพึงพอใจ

เงิน
อุดหนุนฯ
1,150.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมชุมนุมนักเรียน
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4. ดำเนินกิจกรรมชุมนุมตามแผนที่วางไว้ ประชาสัมพันธ์ ประสานงานผู้เกี่ยวข้อง และดำเนินกิจกรรมตามวันและเวลาที่กำหนด ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6. สรุปผลการดำเนินการ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
7. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป

30/10/2566 ถึง
30/3/2567

 

 

นางสาวนุจรีย์ รอดประสิทธิ์





ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม (ค่ายคุณธรรม) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เข้าร่วมโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม (ค่ายคุณธรรม
2. เพื่อให้นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม (ค่ายคุณธรรม)
1,3, เชิงปริมาณ
 นักเรียนชั้น ม.1 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม เข้าร่วมโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม (ค่ายคุณธรรม) ร้อยละ 90

เชิงคุณภาพ
 นักเรียนชั้น ม.1 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม มีความพึงพอใจที่ดีต่อการเข้าร่วมโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม (ค่ายคุณธรรม)
วิธีการ
 ลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการ
เครื่องมือ
 ประเมินความพึงพอใจ

เงิน
อุดหนุนฯ
46,300.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม (ค่ายคุณธรรม) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ขั้นเตรียม
 1. ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
1.1 ประชุมวางแผน ขออนุมัติโครงการ และแต่งตั้งคณะกรรมการ
1.2 ประชุมชี้แจงครูและนักเรียน
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
2.1 จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม (ค่ายคุณธรรม)
ขั้นดำเนินการ
 3.ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
3.1 บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม
3.2 ติดต่อวิทยากร
3.3 ทำหนังสือเชิญวิทยากร,หนังสือแจ้งผู้ปกครองนักเรียน เตรียมอุปกรณ์ในการอบรม
3.4 ตารางการอบรม
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
4.1 ทำบันทึกรายชื่อผู้เข้าร่วมอบรม
4.2 ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม
ขั้นสรุป  5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
5.1 ทำแบบประเมินความพึงพอใจ
5.2 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
6.1 บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินโครงการ
6.2 สรุปรูปเล่มรายงานโครงการ

16/5/2567 ถึง
31/7/2567

 

 

นางสาวบุษยมาศ อินทร์พรหม





บริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)

วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้การบริหารเงินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นไปตามรายการที่ได้รับจัดสรร
2.เพื่อควบคุมการเบิกจ่ายเงินค่าเช่าใช้บริการสัญญาณและเครื่อข่ายเอินเตอร์เน็ตของโรงเรียนกับผู้ให้เช่าสัญญาณเป็นไปตามวงเงินที่ได้รับ
1, เชิงปริมาณ
 1.โรงเรียนสามารถควบคุมการเบิกจ่ายเงินค่าเช่าใช้สัญญาณและเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้ตามสัญญาร้อยละ 100
เชิงคุณภาพ
 1.โรงเรียนสามารถบริหารเงินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้าน ICT ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วิธีการ
 1.ตรวจสอบเอกสารหลักฐาน
1) สัญญาการเช่าใช้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ตระหว่างโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมกับบริษัทที่ให้บริการ
2) หลักฐานการเบิกจ่ายเงินค่าเช่าใช้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต ตามสัญญา
3) บัญชีคุมเงินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้าน ICT
2.ตรวจสอบคุณภาพสัญญาณอินเตอร์เน็ต /การใช้งานสัญญาณอินเตอร์เน็ต

เครื่องมือ
 1.ตรวจสอบการใช้เงินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้าน ICT ตามวงเงินที่ได้รับ
2.ตรวจสอบการเบิกจ่ายเงินตามกำหนดเวลาในสัญญาการเช่าใช้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต
3.การตรวจสอบจากหน่วยตรวจสอบภายใน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาญจนบุรี
4.ตรวจสอบคุณภาพสัญญาณอินเตอร์เน็ต /การใช้งานสัญญาณอินเตอร์เน็ต

เงิน
อุดหนุนฯ
241,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : การบริหารจัดการเงินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้าน ICT (ค่าอินเตอร์เน็ต )
ขั้นเตรียม
 1.ประมาณการเงินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้าน ICT ประจำปีงบประมาณ 2565
2.ประชุมกับผู้ดูแลระบบอินเตอร์เน็ตของโรงเรียนเพื่อหาข้อมูลเกี่ยวกับการใช้สัญญาณและเครือข่ายอินเอต์เน็ต เพื่อนำไปแจ้งผู้ให้บริการปรับปรุงแก้ไขพัฒนา
3.ประสานกับผู้ให้บริการสัญญาณและเครื่อข่ายอินเตอร์เน็ตในการปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาคุณภาพการให้บริหาร

ขั้นดำเนินการ
 1.ทำสัญญาการเช่าใช้สัญญาณและเครือข่ายอินเตอร์เน็ตกับบริษัทผู้ให้บริการ (บริษัท 3BB)
2.เขียนโครงการเสนอขอให้เงินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้าน ICT
3.ดำเนินการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการเช่าใช้บริการสัญญาณและเครือข่ายอินเตอร์เน็ตตามสัญญา
4.เก็บเอกสารหลักฐานให้เป็นระบบเพื่อการตรวจสอบ
ขั้นสรุป  1.ประเมินผลการให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ตและเครือข่ายของผู้ให้บริการ (บริษัท 3BB)
2.สรุปผลการใช้จ่ายเงินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้าน ICT
กิจกรรมที่ 2 : การอบรมให้ความรู้ด้านการใช้งานเครือข่ายอินเตอร์เน็ตโรงเรียนสำหรับนักเรียนใหม่ ชั้น ม.1 และ ชั้น ม.4
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการ
- ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม
- ดำเนินกิจกรรม
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการประเมินกิจกรรม

1/10/2566 ถึง
20/9/2567

 

 

1/10/2566 ถึง
20/9/2567

 

 

นายไพรัชน์ จารุจิระวงศ์





นางนันทนา วิราศรี