รหัสโครงการ 4-01-1
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2566
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานทั่วไป
กลุ่มสาระ/งาน งานอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม
ชื่อโครงการ เพิ่มศักยภาพด้านความปลอดภัยของสถานศึกษา (สร้างรั้วโรงเรียน)
ลักษณะโครงการ โครงการใหม่
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 1. การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ข้อที่ 4. การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ข้อที่ 5. การพัฒนาการศึกษาเพื่อความมั่นคง
ข้อที่ 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 3. การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
ข้อที่ 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
ข้อที่ 6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและจัดการเรียนรู้
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 2. ส่งเสริมคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 5. ร่วมรับผิดชอบสังคมโลก
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายอุดมศักดิ์ นาคะพันธ์

1. หลักการและเหตุผล

           เพื่อเป็นการสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน โดยสร้างสภาพแวดล้อมที่ดีต่อโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม การเสริมสร้าง ซ่อมบำรุง และการดูแลความเรียบร้อยต่าง ๆ ภายในสถาบัน เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง และถือว่าเป็นปัจจัยสำคัญของการจัดการ ให้ดำเนินงานอย่างมีคุณภาพต่อการศึกษา ซึ่งสิ่งที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอน ส่งผลไปยังผู้เรียนและบุคลากรของโรงเรียน การสร้างบรรยากาศที่ดีภายในสถาบัน จึงเป็นหัวใจของการศึกษาอย่างหนึ่ง ด้วยโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม มีพื้นที่ 43 ไร่ 67.5 ตารางวา มีลำคลองพาดผ่านใจกลางโรงเรียน ทั้งนี้ เทศบาลตำบลท่ามะกา มี โครงการปรับปรุงคลองเป็นคลองปูน เพื่อเป็นคลองระบายน้ำ พร้อมถนนคนเดินบริเวณแนวคลองทั้ง 2 ฝั่ง ซึ่งแนวคลองทั้ง 2 ฝั่ง จะเป็น พื้นที่สาธารณะ อันเป็นจุดเสี่ยงที่กำลังจะเกิดขึ้นในภายภาคหน้า เพื่อป้องกันเหตุ และปกป้องสถานที่ราชการ จึงมีความจำเป็นในการดำเนินการสร้างรั้วโดยรอบเพื่อป้องกันเหตุต่างๆต่อไป ดังนั้นงานอาคารสถานที่ได้จัดทำโครงการปรับปรุงประตูและรั้วทางเข้าโรงเรียน และดูแลอาคารสถานที่ขึ้นภายในโรงเรียน เพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่องให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับเวลาที่ใช้ดำเนินกิจกรรม ตั้งแต่เตรียมการจัดงานและสรุปประเมินผล
- พอประมาณกับกำลังและความสามารถของครู นักเรียนที่จะช่วยกันดำเนินงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
- พอประมาณกับวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆที่ต้องใช้ในการจัดโครงการ/กิจกรรม
- พอประมาณกับสถานที่จัดโครงการ/กิจกรรม
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและชุมชน
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่พัฒนาสภาพแวดล้อม สื่อ เทคโนโลยี
- มีการวางแผนการดำเนินงานและเตรียมการจัดกิจกรรมอย่างดี
- มีการตั้งคณะกรรมการดำเนินงานรับผิดชอบด้านต่าง ๆ ให้ชัดเจน
- มีการประชุม ปรึกษาหารืออย่างสม่ำเสมอ
- มีการประสานงานกับกลุ่มเป้าหมาย ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง
- มีการติดตามประเมิน และสรุปโครงการ/กิจกรรม
- มีการใช้ข้อมูลงานลักษณะนี้มาวางแผนการจัดการอย่างต่อเนื่อง
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- การประหยัด ใช้จ่ายงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์อย่างคุ้มค่า
- ความขยัน อดทน
- ความมีสติปัญญา รู้ผิดรู้ชอบ ตัดสินใจกระทำการใด ๆ บนเหตุผล
- ความรู้ด้านการบริหารจัดการ การศึกษา
- ความรู้ด้านการสรุปงาน ประเมินผลงาน

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - นักเรียนอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
- ปฏิบัติตามกฎหมาย
ด้านเศรษฐกิจ - รู้จักใช้วัสดุ อุปกรณ์ อย่างประหยัดเห็นคุณค่าของสรรพสิ่งไม่ฟุ่มเฟือย
- ประยุกต์ใช้วัสดุอุปกรณ์ในท้องถิ่น
ด้านวัฒนธรรม - มีคุณธรรม มีความรัก เมตตาต่อคนอื่น และสรรพสิ่งต่าง ๆ
- ไม่ทำลายชีวิตผู้อื่น ด้วยความคึกคะนอง ตระหนักถึงหลักชีวิต จริยธรรม
- อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
- กตัญญู รู้คุณ
- รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
- ซื่อสัตย์สุทจริต
- ทำนุบำรุงศาสนา
ด้านสิ่งแวดล้อม - ทำนุบำรุงศาสนา
- ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม
- อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. สร้างรั้วทึบโดยรอบเขตพื้นที่โรงเรียนบริเวณแนวคันคลอง 2. สร้างความปลอดภัยในสถานศึกษา 3. ป้องกันเหตุต่างๆ

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ข้าราชการครูและบุคลากร นักเรียน ร้อยละ 100 มีความปลอดภัยเมื่ออยู่ในสถานศึกษา
  เชิงคุณภาพ
    1. ข้าราชการครูและบุคลากร นักเรียน มีความมั่นใจในความปลอดภัยเมื่ออยู่ในสถานศึกษา ในระดับมากขึ้นไป

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2565          ถึงวันที่ : 30/1/2566

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    สร้างรั้วทึบบริเวณแนวคันคลองในโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ขั้นเตรียมการ 1.สำรวจความต้องการ (T1) 2.ประชุมคณะกรรมการ 3.เขียนโครงการ 4.จัดทำคำสั่งการดำเนินงาน (T2)
  ขั้นดำเนินการ 1.สร้างรั้วทึบบริเวณแนวคันคลองในโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม (M1) 2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม (M2)
  ขั้นสรุป 1.ประเมินผล(V1) 2.รายงานผล(V2)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 1500000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ แนวคลองภายในโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 30/10/2565     ถึงวันที่ 1/9/2565
  ผู้รับผิดชอบ นายอุดมศักดิ์ นาคะพันธ์

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 1,500,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 1,500,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
งานงบประมาณ งานพัสดุ งานบริหารทั่วไป
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
โรงเรียนมีความปลอดภัยโดยมีรั้วรอบขอบชิดป้องกันบุคคลภายนอกเข้ามาในบริเวณโดยไม่ได้รับอนุญาต และป้องกันเหตุต่างๆ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 4-12-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2566
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานทั่วไป
กลุ่มสาระ/งาน งานดูแลระบบเครื่อข่ายข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร
ชื่อโครงการ เพื่อส่งเสริมความปลอดภัยของผู้เรียนภายในสถานศึกษา (ปรับปรุงและติดตั้งระบบกล้องวงจรปิด)
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 5. การพัฒนาการศึกษาเพื่อความมั่นคง
ข้อที่ 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 2. ความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 3. การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 5. ร่วมรับผิดชอบสังคมโลก
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายอุดมศักดิ์ นาคะพันธ์

1. หลักการและเหตุผล

           นักเรียน คือ หัวใจของการจัดการศึกษาโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม มีความตระหนักในความสำคัญ และเล็งเห็นความจำเป็นเร่งด่วน ที่ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย จะต้องร่วมกันหาแนวทางที่เป็นรูปธรรม ในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้ได้เรียนรู้อย่างมีความสุข เป็นไปตามหลักสูตร มีทักษะชีวิตที่จะดูแลตนเองให้ปลอดภัยท่ามกลางสภาพแวดล้อมทางสังคม อุบัติเหตุ และอุบัติภัย ที่จะก่อให้เกิดความเสียหายแก่นักเรียน ดังนั้นผู้บริหาร ครู-อาจารย์ เจ้าหน้าที่ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ซึ่งมีภารกิจและความรับผิดชอบในการจัดการศึกษา ต้องดำเนินการอย่างทั่วถึง มีคุณภาพ และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศตามมาตรฐานสากล โดยการให้ความรู้ ความเข้าใจแก่ผู้ที่รับผิดชอบ และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการรักษาความปลอดภัย
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับเวลาที่ใช้ดำเนินกิจกรรม ตั้งแต่เตรียมการจัดงานและสรุปประเมินผล
- พอประมาณกับกำลังและความสามารถของครู นักเรียนที่จะช่วยกันดำเนินงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
- พอประมาณกับวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆที่ต้องใช้ในการจัดโครงการ/กิจกรรม
- พอประมาณกับสถานที่จัดโครงการ/กิจกรรม
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ผู้บริหารการจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและชุมชน
- มีการวางแผนการดำเนินงานและเตรียมการจัดกิจกรรมอย่างดี
- มีการตั้งคณะกรรมการดำเนินงานรับผิดชอบด้านต่าง ๆ ให้ชัดเจน
- มีการประชุม ปรึกษาหารืออย่างสม่ำเสมอ
- มีการประสานงานกับกลุ่มเป้าหมาย ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง
- มีการติดตามประเมิน และสรุปโครงการ/กิจกรรม
- มีการใช้ข้อมูลงานลักษณะนี้มาวางแผนการจัดการอย่างต่อเนื่อง
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- การประหยัด ใช้จ่ายงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์อย่างคุ้มค่า
- ความขยัน อดทน
- ความมีสติปัญญา รู้ผิดรู้ชอบ ตัดสินใจกระทำการใด ๆ บนเหตุผล
- ความรู้ด้านการบริหารจัดการ การศึกษา

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - นักเรียนอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
- นักเรียนมีความสามัคคี ปรองดอง
- คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม เสียสละเพื่อส่วนรวม
- ปฏิบัติตามกฎหมาย
ด้านเศรษฐกิจ - รู้จักใช้วัสดุ อุปกรณ์ อย่างประหยัดเห็นคุณค่าของสรรพสิ่งไม่ฟุ่มเฟือย
ด้านวัฒนธรรม - มีคุณธรรม มีความรัก เมตตาต่อคนอื่น และสรรพสิ่งต่าง ๆ
- ไม่ทำลายชีวิตผู้อื่น ด้วยความคึกคะนอง ตระหนักถึงหลักชีวิต จริยธรรม
- อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
- กตัญญู รู้คุณ
- รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
- ซื่อสัตย์สุทจริต
- ทำนุบำรุงศาสนา
ด้านสิ่งแวดล้อม - ทำนุบำรุงศาสนา
- ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้มีรูปแบบแนวทางการรักษาความปลอดภัยของโรงเรียนด้านอุบัติเหตุ ด้านอุบัติภัย และด้านปัญหาทางสังคม โดยอาศัยแนวคิดเชิงสร้างสรรค์ภายใต้หลักการกระจายอำนาจ การมีส่วนร่วม และยึดประโยชน์สูงสุดของนักเรียนเป็นสำคัญ 2. เพื่อสร้างความเข้มแข็งระบบการรักษาความปลอดภัยของโรงเรียน ให้มีความพร้อม สามารถป้องกัน และแก้ไขสถานการณ์ปัญหาของนักเรียน ทั้งด้านอุบัติเหตุ อุบัติภัย และปัญหาทางสังคมที่จะเกิดขึ้นกับนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ 3. เพื่อสร้างความตระหนักในการรักษาความปลอดภัยของโรงเรียน โดยการให้ความรู้ ความเข้าใจแก่ผู้ที่รับผิดชอบ และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการรักษาความปลอดภัยในโรงเรียน

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1.คณะผู้บริหาร ครู-อาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักเรียน โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม เข้าร่วมโครงการติดตั้งกล้องวงจรปิดเพื่อควบคุมดูแลทรัพย์สินความปลอดภัยของนักเรียน และบุคลากรในสถานศึกษา ปีการศึกษา 2565
  เชิงคุณภาพ
    1.ผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองนักเรียนมีแนวทางในการป้องกันและรักษาความปลอดภัยนักเรียน

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2565          ถึงวันที่ : 30/9/2566

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    ปรับปรุงติดตั้งระบบกล้องวงจรปิด
  ขั้นเตรียมการ 1.สำรวจความต้องการ (T1) 2.ประชุมคณะกรรมการ 3.เขียนโครงการ 4.จัดทำคำสั่งการดำเนินงาน (T2)
  ขั้นดำเนินการ 1.ปรับปรุงติดตั้งระบบกล้องวงจรปิด (M1) 2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม (M2)
  ขั้นสรุป 1.ประเมินผล(V1) 2.รายงานผล(V2)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 25000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 25/10/2565     ถึงวันที่ 24/11/2565
  ผู้รับผิดชอบ นายอุดมศักดิ์ นาคะพันธ์

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 25,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 25,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1.งานอาคารสถานที่ 2.งานงบประมาณ 3.งานพัสดุโรงเรียน
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้บริหาร ครู-อาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักเรียน รักษาความปลอดภัยของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม โดยการให้ความรู้ ความเข้าใจแก่ผู้ที่รับผิดชอบ และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการรักษาความปลอดภัย
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 4-02-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2566
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานทั่วไป
กลุ่มสาระ/งาน งานยานพาหนะ
ชื่อโครงการ งานยานพาหนะ
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 2. การสร้างความสามารถในการแข่งขัน
ข้อที่ 3. การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา
ข้อที่ 5. การพัฒนาการศึกษาเพื่อความมั่นคง
ข้อที่ 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
ข้อที่ 3. ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
ข้อที่ 2. ส่งเสริมคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
ข้อที่ 4. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 1. เป็นเลิศวิชาการ
ข้อที่ 3. ล้ำหน้าทางความคิด
ข้อที่ 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายอุดมศักดิ์ นาคะพันธ์

1. หลักการและเหตุผล

           งานยานพาหนะโรงเรียน ฝ่ายบริหารทั่วไป ได้กำหนดแผนการใช้ยานพาหนะด้านงบประมาณ การใช้ยานพาหนะตามแผนงานเป็นงาน ให้การบริหารอำนวยความสะดวกให้กับนักเรียน ข้าราชการครูและบุคลากรในโรงเรียน โดย มีการตรวจสอบประสิทธิภาพความพร้อมและ ผลการให้บริการในการใช้ยานพาหนะ พร้อมทั้งนำข้อบกพร่องต่างๆมาปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและเกิด ประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การใช้พลังงานเชื้อเพลิง ความปลอดภัยของยานพาหนะ การซ่อมบำรุงเพื่อรองรับความต้องการ จึงจัด ให้มีกิจกรรมตามโครงการซ่อมบำรุงยานพาหนะโรงเรียน โดยน้อมนำหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับกำลังและความสามารถของครู นักเรียนที่จะช่วยกันดำเนินงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ผู้บริหารการจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์
- มีการประสานงานกับกลุ่มเป้าหมาย ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความมีสติปัญญา รู้ผิดรู้ชอบ ตัดสินใจกระทำการใด ๆ บนเหตุผล
- ความรู้ด้านการบริหารจัดการ การศึกษา

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - นักเรียนได้นำความรู้จากการทำกิจกรรมไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
- นักเรียนมีความสามัคคี ปรองดอง
- คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม เสียสละเพื่อส่วนรวม
- ปฏิบัติตามกฎหมาย
ด้านเศรษฐกิจ - การออม
ด้านวัฒนธรรม - มีคุณธรรม มีความรัก เมตตาต่อคนอื่น และสรรพสิ่งต่าง ๆ
- ไม่ทำลายชีวิตผู้อื่น ด้วยความคึกคะนอง ตระหนักถึงหลักชีวิต จริยธรรม
- อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
- กตัญญู รู้คุณ
- รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
- ซื่อสัตย์สุทจริต
- ทำนุบำรุงศาสนา
ด้านสิ่งแวดล้อม - ทำนุบำรุงศาสนา
- ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม
- ลดภาวะโลกร้อน
- อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้มีการดำเนินการจัดหาเชื้อเพลิงและซ่อมบำรุงพาหนะโรงเรียนที่ชำรุดเสียหาย
2. เพื่อให้ผู้บริหารมีการบริหารงานยานพาหนะที่มีประสิทธิภาพ
3. เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนพึงพอใจผลการบริหารการจัดการศึกษา

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. การดำเนินการจัดหาเชื้อเพลิงและซ่อมบำรุงยานพาหนะโรงเรียน ร้อยละ 95 สามารถใช้งานได้ดี
2. ผู้บริหารมีการบริหารจัดการยานพาหนะ ร้อยละ 95 มีประสิทธิภาพ
3. นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ร้อยละ 95 พึงพอใจผลการบริหารการจัดการศึกษา
  เชิงคุณภาพ
    โรงเรียนมีเชื้อเพลิงและยานพาหนะที่สามารถใช้งานได้อยู่ในระดับดีเยี่ยม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2565          ถึงวันที่ : 30/9/2566

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    ซ่อมบำรุงยานพาหนะ
  ขั้นเตรียมการ 1.ซ่อมบำรุงดูแลรักษารถยนต์(T1) 1.สำรวจสภาพทั่วไปของรถยนต์ที่ใช้งาน 2.จัดทำคำสั่งการดำเนินกิจกรรม (T2)
  ขั้นดำเนินการ 1.ซ่อมบำรุงดูแลรักษารถยนต์(M1) 1.1กำหนดภาระงานให้พนักงานขับรถ 1.2ตรวจเช็คสภาพรถก่อนบริการและหลังบริการให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานอย่างปลอดภัย 2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม (M2)
  ขั้นสรุป 1.ซ่อมบำรุงดูแลรักษารถยนต์(V1),(V2) 1.2นำข้อเสนอแนะมาแก้ไขปรับปรุงในการปฎิบัติงานในคร้งต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 150000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นายอุดมศักด์
    กิจกรรมที่ 2    ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง
  ขั้นเตรียมการ 1.จัดซื้อน้ำมันเชื้อเพลิง(T1) 1.1สถิติการซื้อน้ำมันเชื้อเพลิงย้อนหลัง 1 ปี 1.2ประมาณการจัดซื้อน้ำมันปี 2564 2.จัดทำคำสั่งการดำเนินกิจกรรม (T2)
  ขั้นดำเนินการ 1.จัดซื้อน้ำมันเชื้อเพลิ(M1) 1.1ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างตามระเบีนบพัสดุเป็นประจำ 2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม (M2)
  ขั้นสรุป 1.จัดซื้อน้ำมันเชื้อเพลิง(V1),(V2) 2.นำข้อเสนอแนะจากการบันทึกมาแก้ไขปรับปรุงในการปฎิบัติงานในครั้งต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 250000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นายอุดมศักด์

   รวม 2 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 400,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 400,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1.ฝ่ายบริหารงบประมาณ 2.งานยานพาหนะ ฝ่ายบริหารทั่วไป
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.โรงเรียนมีเชื้อเพลิงสำหรับยานพาหนะที่เพียงพอและสามารถใช้งานได้ดี 2.ฝ่ายบริหารทั่วไปมีการบริหารจัดการยานพาหนะได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน มีความพึงพอใจผลการบริหารการจัดการศึกษาตามเกณฑ์ที่กำหนด
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 4-12-4
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2566
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานทั่วไป
กลุ่มสาระ/งาน งานดูแลระบบเครื่อข่ายข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร
ชื่อโครงการ พัฒนาและปรับปรุงการให้บริการระบบสัญญาณอินเตอร์เน็ตสำหรับนักเรียน ครู และบุคลากร
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 5. ส่งเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา
ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 4. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
ข้อที่ 6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและจัดการเรียนรู้
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรูที่เอื้อต่อการเรียนรู้
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน -
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายอุดมศักดิ์ นาคะพันธ์

1. หลักการและเหตุผล

           การจัดการเรียนรู้ในปัจจุบันมุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพตามกรอบแนวคิดการจัดการเรียนรู้ในยุคศตวรรษที่ 21 ที่มุ่งเน้นการเรียนรู้ นวัตกรรม การสื่อสารและเทคโนโลยี ทักษะชีวิตและอาชีพ โดยครูผู้สอนต้องปรับเปลี่ยนบทบาทตนเองจากผู้ถ่ายทอดความรู้มาเป็นผู้อ านวยความสะดวกให้เกิดการเรียนรู้กับผู้เรียน โดยใช้การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ สอดคล้องกับแนวการจัดการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความส าคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ นอกจากนี้นโยบายของรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการในปัจจุบันมีการขับเคลื่อนการจัดการศึกษาตามแนวทางลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ซึ่งนอกจากจะเป็นการลดชั่วโมงเรียนตามหลักสูตรแล้ว ยังหมายรวมถึงการลดบทบาทของครูในชั้นเรียนจากผู้สอนเพียง อย่างเดียวกลายเป็นการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งให้นักเรียนได้เกิดการเรียนรู้มากขึ้น ดังนั้น จึงเป็นหน้าที่ของสถานศึกษาทุกแห่งในการส่งเสริมและพัฒนาครูให้มีการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ เพื่อมุ่งสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้ครอบคลุมตามจุดมุ่งหมายทางการศึกษาทั้งด้านความรู้ เจตคติ ทักษะและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ปัจจุบันองค์กรต่างๆ ได้มีการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้บริหารจัดการ เพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการติดต่อสื่อสาร การเรียนรู้ การรอบรู้ การบริหารจัดการ ดังนั้นโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมจำเป็นต้องมีระบบเครือข่ายเน็ตเวิร์คที่ทันสมัยและรองรับการใช้งานด้วยระบบ อินเตอร์เน็ตที่ครอบคลุมทุกพื้นที่ โรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นโดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับเวลาที่ใช้ดำเนินกิจกรรม ตั้งแต่เตรียมการจัดงานและสรุปประเมินผล
- พอประมาณกับสถานที่จัดโครงการ/กิจกรรม
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยี
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่พัฒนาสภาพแวดล้อม สื่อ เทคโนโลยี
- มีการติดตามประเมิน และสรุปโครงการ/กิจกรรม
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- การประหยัด ใช้จ่ายงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์อย่างคุ้มค่า
- ความมีสติปัญญา รู้ผิดรู้ชอบ ตัดสินใจกระทำการใด ๆ บนเหตุผล
- ความรู้ด้านการผลิตสื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - นักเรียนได้นำความรู้จากการทำกิจกรรมไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
ด้านเศรษฐกิจ - ประยุกต์ใช้วัสดุอุปกรณ์ในท้องถิ่น
ด้านวัฒนธรรม - มีคุณธรรม มีความรัก เมตตาต่อคนอื่น และสรรพสิ่งต่าง ๆ
- ไม่ทำลายชีวิตผู้อื่น ด้วยความคึกคะนอง ตระหนักถึงหลักชีวิต จริยธรรม
- รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ด้านสิ่งแวดล้อม - ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. จัดทำระบบเครือข่ายเน็ตเวิร์คภายในองค์กรเพื่อรองรับการใช้งานอินเตอร์เน็ตได้อย่างพอเพียงและทั่วถึง

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    -คณะครู อาจารย์ และบุคลากร ร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการใช้อินเตอร์เน็ต.
  เชิงคุณภาพ
    -มีระบบเครือข่ายเน็ตเวิร์คภายในโรงเรียนเพื่อรองรับการใช้งานอินเตอร์เน็ตได้อย่างพอเพียงและทั่วถึง

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 18/10/2565          ถึงวันที่ : 18/10/2566

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    พัฒนาและปรับปรุงการให้บริการระบบสัญญาณอินเตอร์เน็ตสำหรับนักเรียน ครู และบุคลากร
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) - ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน - เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) - เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) - สำรวจความเสียหายของอุปกรณ์ และความจำเป็นที่จะเพิ่มจุดขยายเครือข่ายอินเตอร์เน็ต - จัดซื้ออุปกรณ์มาปรับปรุงและเพิ่มเติม จัดจ้างในส่วนที่เกินความสามารถในการทำ ขั้นตอนการประสานงาน(M2) - ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) - สรุปผลการดำเนินการ ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) - รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 150000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นายอุดมศักดิ์

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 150,000.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 150,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
บริษัท 3bb และนายอุดมศักดิ์ นาคะพันธ์
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
มีระบบเครือข่ายเน็ตเวิร์คภายในโรงเรียนเพื่อรองรับการใช้งานอินเตอร์เน็ตได้อย่างพอเพียงและทั่วถึง
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 4-03-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2566
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานทั่วไป
กลุ่มสาระ/งาน งานสาธารณูปโภค
ชื่อโครงการ งานสาธารณูปโภค
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 1. การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ข้อที่ 4. การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ข้อที่ 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
ข้อที่ 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 1. เป็นเลิศวิชาการ
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายอุดมศักดิ์ นาคะพันธ์

1. หลักการและเหตุผล

           โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำอำเภอท่ามะกา เปิดสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 มีนักเรียนจำนวน 2,019 คน และข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตลอดจนนักการ แม่บ้าน รวมกันประมาณ 140 คน จึงเป็นภารกิจที่สำคัญอย่างยิ่งที่ โรงเรียนจะต้องมีการบริหารจัดการเพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้กระบวนการจัดการศึกษาของโรงเรียนประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์และ เป้า หมายที่ตั้งไว้ ซึ่งจะส่งผลให้การบริหารจัดการมีคุณภาพ และผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนดีขึ้น ดังนั้นโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมจึงได้จัดทำ โครงการค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภค เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการเกี่ยวกับค่าไฟฟ้า ค่าน้ำประปา ค่าโทรศัพท์ ไปรษณีย์ และค่า บริการกำจัดขยะ โดยใช้เงินอุดหนุนฯและเงินระดมทรัพย์ในการดำเนินการตามโครงการ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับเวลาที่ใช้ดำเนินกิจกรรม ตั้งแต่เตรียมการจัดงานและสรุปประเมินผล
- พอประมาณกับกำลังและความสามารถของครู นักเรียนที่จะช่วยกันดำเนินงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
- พอประมาณกับวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆที่ต้องใช้ในการจัดโครงการ/กิจกรรม
- พอประมาณกับสถานที่จัดโครงการ/กิจกรรม
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่พัฒนาสภาพแวดล้อม สื่อ เทคโนโลยี
- มีการวางแผนการดำเนินงานและเตรียมการจัดกิจกรรมอย่างดี
- มีการตั้งคณะกรรมการดำเนินงานรับผิดชอบด้านต่าง ๆ ให้ชัดเจน
- มีการประชุม ปรึกษาหารืออย่างสม่ำเสมอ
- มีการประสานงานกับกลุ่มเป้าหมาย ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง
- มีการติดตามประเมิน และสรุปโครงการ/กิจกรรม
- มีการใช้ข้อมูลงานลักษณะนี้มาวางแผนการจัดการอย่างต่อเนื่อง
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- การประหยัด ใช้จ่ายงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์อย่างคุ้มค่า
- ความขยัน อดทน
- ความมีสติปัญญา รู้ผิดรู้ชอบ ตัดสินใจกระทำการใด ๆ บนเหตุผล
- ความรู้ด้านการบริหารจัดการ การศึกษา

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - จิตอาสา บำเพ็ญสาธารณประโยชน์
ด้านเศรษฐกิจ - รู้จักใช้วัสดุ อุปกรณ์ อย่างประหยัดเห็นคุณค่าของสรรพสิ่งไม่ฟุ่มเฟือย
- ประยุกต์ใช้วัสดุอุปกรณ์ในท้องถิ่น
ด้านวัฒนธรรม - มีคุณธรรม มีความรัก เมตตาต่อคนอื่น และสรรพสิ่งต่าง ๆ
- ไม่ทำลายชีวิตผู้อื่น ด้วยความคึกคะนอง ตระหนักถึงหลักชีวิต จริยธรรม
- อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
- กตัญญู รู้คุณ
- รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
- ซื่อสัตย์สุทจริต
- ทำนุบำรุงศาสนา
ด้านสิ่งแวดล้อม - ทำนุบำรุงศาสนา
- ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม
- อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อใช้จ่ายค่าไฟฟ้า ค่าน้ำประปา ค่าโทรศัพท์ ไปรษณีย์ และค่าบริการกำจัดขยะของโรงเรียน 2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เกิดประสิทธิภาพแก่ผู้เรียนยิ่งขึ้น 3. เพื่อให้การบริหารจัดการด้านสาธารณูปโภคภายในโรงเรียนเป็นไปด้วยความถูกต้องตามระเบียบการของทางราชการ

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1.จ่ายค่าไฟฟ้าของโรงเรียนได้ร้อยละ 1001.จ่ายค่าไฟฟ้าของโรงเรียนได้ร้อยละ 100 2.จ่ายค่าโทรศัพท์ของโรงเรียนได้ร้อยละ 100 3.จ่ายค่าน้ำประปาของโรงเรียนได้ร้อยละ 100 4.จ่ายค่าเก็บขยะของโรงเรียนได้ร้อยละ 100 5.จ่ายค่าไปรษณีย์ของโรงเรียนได้ร้อยละ 100 6. นักเรียน ครูและบุคลากรทุกคนในโรงเรียนได้รับการสนับสนุนให้มีสาธารณูปโภคอย่างเพียงพอและเหมาะสมร้อยละ 100
  เชิงคุณภาพ
    1. การใช้จ่ายงบประมาณของโรงเรียนมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดอยู่ในระดับดีมาก

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2565          ถึงวันที่ : 30/9/2566

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    ค่าไฟฟ้า
  ขั้นเตรียมการ T1 (Team management to framework) การวางแผนการทำงานเป็นทีม มีการประสานกับงานการเงินเพื่อขอข้อมูล และรวบรวมข้อมูลค่าไฟฟ้าของโรงเรียนในระยะ 3 ปีงบประมาณย้อนหลัง T2 (Tabulation to organization) การกำหนดหน้าที่ภาระงาน โดยประสานกับกลุ่มบริหารงบงานประมาณ และกลุ่มบรริหารงานทั่วไป มอบหมายคณะกรรมการดำเนินงานจัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ
  ขั้นดำเนินการ M1 (Management to command) การปฏิบัติตามภาระหน้าที่ คือ จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินงานตามคำสั่งแบ่งหน้าที่ปฏิบัติภาระงานที่มอบหมายแต่ละฝ่ายเพื่อพิจารณาจัดสรรหาค่าสาธารณูปโภคที่จำเป็นต่อการบริหารจัดการพัฒนาการศึกษาภายในโรงเรียน M2 (Making a correlation) การประสานงาน กลุ่มบริหารงานทั่วไป และกลุ่มบริหารงานงบปีระมาณเพื่อสำรวจค่าใช้จ่ายค่าไฟฟ้าของโรงเรียน เพื่อประมาณการค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภคที่จะใช้ในปีงบประมาณ 2565 และดำเนินการจ่ายค่าสาธารณูปโภคตามใบแจ้งหนี้ของแต่ละเดือน
  ขั้นสรุป V1 (Validity to valuation) การประเมินผล มีการประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ จัดทำเเสนอต่อคณะผู้บริหาร และนำเสนอรายงานสรุปโครงการต่อคณะผู้บริหารรับทราบ V2 (Variation from supervising) การกำกับติดตาม โดยร่วมกับคณะผู้บริหาร ผู้รับผิดชอบที่เกี่ยวข้องกำกับดูแลพร้อมทั้งแก้ปัญหาเพื่อให้เป็นไปตามแผนงานที่กำหนดจนสิ้นสุดโครงกา
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 1900000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 1710000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2565
  ผู้รับผิดชอบ นายอุดมศักดิ์ นาคะพันธ์
    กิจกรรมที่ 2    ค่าน้ำปะปา
  ขั้นเตรียมการ T1 (Team management to framework) การวางแผนการทำงานเป็นทีม มีการประสานกับงานการเงินเพื่อขอข้อมูล และรวบรวมข้อมูลค่าน้ำประปาของโรงเรียนในระยะ 3 ปีงบประมาณย้อนหลัง T2 (Tabulation to organization) การกำหนดหน้าที่ภาระงาน โดยประสานกับกลุ่มบริหารงบงานประมาณ และกลุ่มบรริหารงานทั่วไป มอบหมายคณะกรรมการดำเนินงานจัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ
  ขั้นดำเนินการ M1 (Management to command) การปฏิบัติตามภาระหน้าที่ คือ จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินงานตามคำสั่งแบ่งหน้าที่ปฏิบัติภาระงานที่มอบหมายแต่ละฝ่ายเพื่อพิจารณาจัดสรรหาค่าสาธารณูปโภคที่จำเป็นต่อการบริหารจัดการพัฒนาการศึกษาภายในโรงเรียน M2 (Making a correlation) การประสานงาน กลุ่มบริหารงานทั่วไป และกลุ่มบริหารงานงบปีระมาณเพื่อสำรวจค่าใช้จ่ายค่าน้ำประปาของโรงเรียน เพื่อประมาณการค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภคที่จะใช้ในปีงบประมาณ 2565 และดำเนินการจ่ายค่าสาธารณูปโภคตามใบแจ้งหนี้ของแต่ละเดือน
  ขั้นสรุป V1 (Validity to valuation) การประเมินผล มีการประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ จัดทำเเสนอต่อคณะผู้บริหาร และนำเสนอรายงานสรุปโครงการต่อคณะผู้บริหารรับทราบ V2 (Variation from supervising) การกำกับติดตาม โดยร่วมกับคณะผู้บริหาร ผู้รับผิดชอบที่เกี่ยวข้องกำกับดูแลพร้อมทั้งแก้ปัญหาเพื่อให้เป็นไปตามแผนงานที่กำหนดจนสิ้นสุดโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 4200 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/1/2565
  ผู้รับผิดชอบ นายอุดมศักดิ์ นาคะพันธ์
    กิจกรรมที่ 3    ค่าบริการกำจัดขยะ
  ขั้นเตรียมการ T1 (Team management to framework) การวางแผนการทำงานเป็นทีม มีการประสานกับงานการเงินเพื่อขอข้อมูล และรวบรวมข้อมูลค่ากำจัดขยะของโรงเรียนในระยะ 3 ปีงบประมาณย้อนหลัง T2 (Tabulation to organization) การกำหนดหน้าที่ภาระงาน โดยประสานกับกลุ่มบริหารงบงานประมาณ และกลุ่มบรริหารงานทั่วไป มอบหมายคณะกรรมการดำเนินงานจัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ
  ขั้นดำเนินการ M1 (Management to command) การปฏิบัติตามภาระหน้าที่ คือ จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินงานตามคำสั่งแบ่งหน้าที่ปฏิบัติภาระงานที่มอบหมายแต่ละฝ่ายเพื่อพิจารณาจัดสรรหาค่าสาธารณูปโภคที่จำเป็นต่อการบริหารจัดการพัฒนาการศึกษาภายในโรงเรียน M2 (Making a correlation) การประสานงาน กลุ่มบริหารงานทั่วไป และกลุ่มบริหารงานงบปีระมาณเพื่อสำรวจค่าใช้จ่ายค่ากำจัดขยะของโรงเรียน เพื่อประมาณการค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภคที่จะใช้ในปีงบประมาณ 2565 และดำเนินการจ่ายค่าสาธารณูปโภคตามใบแจ้งหนี้ของแต่ละเดือน
  ขั้นสรุป V1 (Validity to valuation) การประเมินผล มีการประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ จัดทำเเสนอต่อคณะผู้บริหาร และนำเสนอรายงานสรุปโครงการต่อคณะผู้บริหารรับทราบ V2 (Variation from supervising) การกำกับติดตาม โดยร่วมกับคณะผู้บริหาร ผู้รับผิดชอบที่เกี่ยวข้องกำกับดูแลพร้อมทั้งแก้ปัญหาเพื่อให้เป็นไปตามแผนงานที่กำหนดจนสิ้นสุดโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 6000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2565
  ผู้รับผิดชอบ นายอุดมศักดิ์ นาคะพันธ์
    กิจกรรมที่ 4    ค่าโทรศัพท์
  ขั้นเตรียมการ T1 (Team management to framework) การวางแผนการทำงานเป็นทีม มีการประสานกับงานการเงินเพื่อขอข้อมูล และรวบรวมข้อมูลค่าโทรศัพท์ของโรงเรียนในระยะ 3 ปีงบประมาณย้อนหลัง T2 (Tabulation to organization) การกำหนดหน้าที่ภาระงาน โดยประสานกับกลุ่มบริหารงบงานประมาณ และกลุ่มบรริหารงานทั่วไป มอบหมายคณะกรรมการดำเนินงานจัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ
  ขั้นดำเนินการ M1 (Management to command) การปฏิบัติตามภาระหน้าที่ คือ จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินงานตามคำสั่งแบ่งหน้าที่ปฏิบัติภาระงานที่มอบหมายแต่ละฝ่ายเพื่อพิจารณาจัดสรรหาค่าสาธารณูปโภคที่จำเป็นต่อการบริหารจัดการพัฒนาการศึกษาภายในโรงเรียน M2 (Making a correlation) การประสานงาน กลุ่มบริหารงานทั่วไป และกลุ่มบริหารงานงบปีระมาณเพื่อสำรวจค่าใช้จ่าค่าโทรศัพท์ของโรงเรียน เพื่อประมาณการค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภคที่จะใช้ในปีงบประมาณ 2565 และดำเนินการจ่ายค่าสาธารณูปโภคตามใบแจ้งหนี้ของแต่ละเดือน
  ขั้นสรุป V1 (Validity to valuation) การประเมินผล มีการประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ จัดทำเเสนอต่อคณะผู้บริหาร และนำเสนอรายงานสรุปโครงการต่อคณะผู้บริหารรับทราบ V2 (Variation from supervising) การกำกับติดตาม โดยร่วมกับคณะผู้บริหาร ผู้รับผิดชอบที่เกี่ยวข้องกำกับดูแลพร้อมทั้งแก้ปัญหาเพื่อให้เป็นไปตามแผนงานที่กำหนดจนสิ้นสุดโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 2500 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2565
  ผู้รับผิดชอบ นายอุดมศักดิ์ นาคะพันธ์
    กิจกรรมที่ 5    ค่าไปรษณีย์
  ขั้นเตรียมการ T1 (Team management to framework) การวางแผนการทำงานเป็นทีม มีการประสานกับงานการเงินเพื่อขอข้อมูล และรวบรวมข้อมูลค่าไปรษณีย์ของโรงเรียนในระยะ 3 ปีงบประมาณย้อนหลัง T2 (Tabulation to organization) การกำหนดหน้าที่ภาระงาน โดยประสานกับกลุ่มบริหารงบงานประมาณ และกลุ่มบรริหารงานทั่วไป มอบหมายคณะกรรมการดำเนินงานจัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ
  ขั้นดำเนินการ M1 (Management to command) การปฏิบัติตามภาระหน้าที่ คือ จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินงานตามคำสั่งแบ่งหน้าที่ปฏิบัติภาระงานที่มอบหมายแต่ละฝ่ายเพื่อพิจารณาจัดสรรหาค่าสาธารณูปโภคที่จำเป็นต่อการบริหารจัดการพัฒนาการศึกษาภายในโรงเรียน M2 (Making a correlation) การประสานงาน กลุ่มบริหารงานทั่วไป และกลุ่มบริหารงานงบปีระมาณเพื่อสำรวจค่าใช้จ่ายค่าไปรษณีย์ของโรงเรียน เพื่อประมาณการค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภคที่จะใช้ในปีงบประมาณ 2565 และดำเนินการจ่ายค่าสาธารณูปโภคตามใบแจ้งหนี้ของแต่ละเดือน
  ขั้นสรุป 1 (Validity to valuation) การประเมินผล มีการประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ จัดทำเเสนอต่อคณะผู้บริหาร และนำเสนอรายงานสรุปโครงการต่อคณะผู้บริหารรับทราบ V2 (Variation from supervising) การกำกับติดตาม โดยร่วมกับคณะผู้บริหาร ผู้รับผิดชอบที่เกี่ยวข้องกำกับดูแลพร้อมทั้งแก้ปัญหาเพื่อให้เป็นไปตามแผนงานที่กำหนดจนสิ้นสุดโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 13000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2565
  ผู้รับผิดชอบ นายอุดมศักดิ์ นาคะพันธ์

   รวม 5 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 1,925,700.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 1,710,000.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 3,635,700.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1.งานพัสดุฝ่ายบริหารทั่วไป 2.งานการเงิน 3.กลุ่มบริหารงานงบประมาณ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมโรงเรียนมีการบริหารจัดการค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภคอย่างเป็นระบบ 2.โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมมีการบริหารจัดการด้านสาธารณูปโภคภายในโรงเรียนเป็นไปด้วยความถูกต้องตามระเบียบการของทางราชการ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
การใช้จ่ายค่าไฟฟ้าอาจไม่เพียงพอกับงบประมาณที่ตั้งไว้ในโครงการ หากไม่มีมาตรการประหยัดไฟฟ้าและประกาศทั่วถึงทั้งโรงเรียน

 

 

รหัสโครงการ 4-04-7
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2566
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานทั่วไป
กลุ่มสาระ/งาน งานโสตทัศนูปกรณ์
ชื่อโครงการ ผลิตสื่อ/พัฒนาเทคโนโลยีโสตทัศนูปกรณ์และบุคลากรด้านโสต
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ -
จุดเน้น กระทรวงฯ -
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน -
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายอุดมศักดิ์ นาคะพันธ์

1. หลักการและเหตุผล

           <ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้มีส่วนช่วยให้การศึกษาพัฒนาได้อย่างรวดเร็ว โดย เฉพาะเทคโนโลยีการสื่อสารแบบ สื่อผสม (Multimedia) มีส่วนช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้สิ่งต่างๆ ได้อย่างดีขึ้น เนื่องจากสามารถ เข้าถึงได้จาก หลายสถานที่ สะดวกสบาย และ สามารถทำซ้ำได้หลายครั้ง เทคโนโลยีการผลิตสื่อวิดีทัศน์แบบสื่อผสม เป็นสื่อที่สามารถเข้าถึงและถ่ายทอดเรื่องราวทั้ง เนื้อหา สาระความรู้ ได้เป็นอย่างดีดังนั้นจึง ไม่เป็นที่น่าแปลกใจว่าในปัจจุบันเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยมในเรื่องการเผยแพร่และเป็นแหล่ง เรียนรู้ ผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้คือเว็บไซต์ ยูทูป ( www.youtube.com ) และเฟสบุค www.facebook.com ได้จากหลายที่ การจัด โครงการ กิจกรรมนี้เพื่อดำเนินการ จัดทำสื่อ เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรงเรียน กิจกรรมที่ดีงามของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ท้องถิ่นใน อำเภอท่ามะกา ตลอดจนถึงในจังหวัด กาญจนบุรี ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการผลิตและอยู่ในกระบวนการผลิต เพื่อให้เกิดการสร้างอาชีพ และรายได้ในอนาคต


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. จัดทำสื่อเผยแพร่คุณงามความดีชื่อเสียงเกียรติยศของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
2. เป็นสื่อ และแหล่งเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ในการประยุกต์ใช้แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในท้องถิ่น
3. จัดทำสื่อให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรในโรงเรียน ชุมชน ประชาชนทั่วไป
4. บริการอำนวยความสะดวกในการบริการด้านภาพถ่าย วิดีทัศน์ ภาพถ่ายคำสั่งโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม และการจัดทำระบบการประชุมทางไกลด้วยสื่อออนไลน์ ในระบบที่สามารถเข้าถึงได้ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ทุกที่ทุกเวลา รวมถึงฝึกความมีจิตอาสารและจิตสาธารณะ

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ให้บริการห้องประชุมร้อยละ 95
2. ร่วมกิจกรรมบันทึกภาพและวิดีทัศน์กิจกรรมงานโรงเรียนร้อยละ 95
3. ร่วมช่วยเหลืองานบุคลากรภายในโรงเรียนร้อยละ 80
  เชิงคุณภาพ
    1. มีความพึงพอใจในการใช้บริการไม่น้อยกว่าร้อยละ 60

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2565          ถึงวันที่ : 30/9/2566

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    ปรับปรุงพัฒนาสื่อการเรียนรู้ในห้องเรียน
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) - ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน - เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) - เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ 1.จัดทำการผลิตสื่อ/เผยแพร่สื่อ/จัดการสื่อ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (M1) 2.ประสนงานในการจัดทำการผลิตสื่อ/เผยแพร่สื่อ/จัดการสื่อ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (M2)
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) - สรุปผลการดำเนินการ ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) - รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นายพรพีระ สังข์กระแสร์

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
-งานธุรการ -งานวิชาการ -งานประชาสัมพันธ์ -กลุ่มสาระการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระ -งานอาคารสถานที่
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. มีสื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับท้องถิ่นอำเภอท่ามะกา 2. มีสื่อที่เผยแพร่คุณงามความดีชื่อเสียงเกียรติยศของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม เพื่อเก็บเป็นประวัติศาสตร์ของโรงเรียน 3. มีช่องทางสื่อให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรในโรงเรียน ชุมชน ประชาชนทั่วไป 4. เกิดการบริการอำนวยความสะดวกในการบริการด้านภาพถ่าย วิดีทัศน์ ภาพถ่ายคำสั่งโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ในระบบที่สามารถเข้าถึงได้ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ทุกที่ทุกเวลา
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 4-04-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2566
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานทั่วไป
กลุ่มสาระ/งาน งานโสตทัศนูปกรณ์
ชื่อโครงการ ปรับปรุงพัฒนาบำรุงรักษาโสตทัศนูปกรณ์ และเทคโนโลยีสำหรับโสตทัศนูปกรณ์
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 5. ส่งเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 4. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและจัดการเรียนรู้
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรูที่เอื้อต่อการเรียนรู้
ข้อที่ 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 2. ส่งเสริมคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายอุดมศักดิ์ นาคะพันธ์

1. หลักการและเหตุผล

           ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้มีส่วนช่วยให้การศึกษาพัฒนาได้อย่างรวดเร็ว โดย เฉพาะเทคโนโลยีการสื่อสารแบบ สื่อผสม (Multimedia) มีส่วนช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้สิ่งต่างๆ ได้อย่างดีขึ้น เนื่องจากสามารถ เข้าถึงได้จาก หลายสถานที่ สะดวกสบาย และ สามารถทำซ้ำได้หลายครั้ง เทคโนโลยีการผลิตสื่อวิดีทัศน์แบบสื่อผสม เป็นสื่อที่สามารถเข้าถึงและถ่ายทอดเรื่องราวทั้ง เนื้อหา สาระ ความรู้ ได้เป็นอย่างดีดังนั้นจึง ไม่เป็นที่น่าแปลกใจว่าในปัจจุบันเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยมในเรื่องการเผยแพร่และเป็นแหล่ง เรียนรู้ ผู้ เรียนสามารถเข้าถึงได้คือเว็บไซต์ ยูทูป ( www.youtube.com ) และเฟสบุค www.facebook.com ได้จากหลายที่ การจัด โครงการ กิจกรรมนี้เพื่อดำเนินการ จัดทำสื่อ เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรงเรียน กิจกรรมที่ดีงามของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ท้องถิ่นใน อำเภอ ท่ามะกา ตลอดจนถึงในจังหวัด กาญจนบุรี ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการผลิตและอยู่ในกระบวนการผลิต เพื่อให้เกิดการสร้างอาชีพ และ รายได้ในอนาคต


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับเวลาที่ใช้ดำเนินกิจกรรม ตั้งแต่เตรียมการจัดงานและสรุปประเมินผล
- พอประมาณกับวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆที่ต้องใช้ในการจัดโครงการ/กิจกรรม
- พอประมาณกับสถานที่จัดโครงการ/กิจกรรม
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยี
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและชุมชน
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่พัฒนาสภาพแวดล้อม สื่อ เทคโนโลยี
- มีการวางแผนการดำเนินงานและเตรียมการจัดกิจกรรมอย่างดี
- มีการตั้งคณะกรรมการดำเนินงานรับผิดชอบด้านต่าง ๆ ให้ชัดเจน
- มีการประชุม ปรึกษาหารืออย่างสม่ำเสมอ
- มีการใช้ข้อมูลงานลักษณะนี้มาวางแผนการจัดการอย่างต่อเนื่อง
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- การประหยัด ใช้จ่ายงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์อย่างคุ้มค่า
- ความขยัน อดทน
- ความมีสติปัญญา รู้ผิดรู้ชอบ ตัดสินใจกระทำการใด ๆ บนเหตุผล
- ความรู้ด้านการผลิตสื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม เสียสละเพื่อส่วนรวม
- จิตอาสา บำเพ็ญสาธารณประโยชน์
ด้านเศรษฐกิจ - รู้จักใช้วัสดุ อุปกรณ์ อย่างประหยัดเห็นคุณค่าของสรรพสิ่งไม่ฟุ่มเฟือย
ด้านวัฒนธรรม - มีคุณธรรม มีความรัก เมตตาต่อคนอื่น และสรรพสิ่งต่าง ๆ
- ไม่ทำลายชีวิตผู้อื่น ด้วยความคึกคะนอง ตระหนักถึงหลักชีวิต จริยธรรม
- กตัญญู รู้คุณ
- รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ด้านสิ่งแวดล้อม - ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. จัดทำสื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับท้องถิ่นอำเภอท่ามะกา
2. จัดทำสื่อเผยแพร่คุณงามความดีชื่อเสียงเกียรติยศของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
3. เป็นสื่อ และแหล่งเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ในการประยุกต์ใช้แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในท้องถิ่น
4. จัดทำสื่อให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรในโรงเรียน ชุมชน ประชาชนทั่วไป
5. บริการอำนวยความสะดวกในการบริการด้านภาพถ่าย วิดีทัศน์ ภาพถ่ายคำสั่งโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ในระบบที่สามารถเข้าถึงได้ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ทุกที่ทุกเวลา รวมถึงฝึกความมีจิตอาสารและจิตสาธารณะ


3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ให้บริการห้องประชุมร้อยละ 95 2. ร่วมกิจกรรมบันทึกภาพและวิดีทัศน์กิจกรรมงานโรงเรียนร้อยละ 95 3. ร่วมช่วยเหลืองานบุคลากรภายในโรงเรียนร้อยละ 80
  เชิงคุณภาพ
    1.มีความพึงพอใจในการใช้บริการไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2565          ถึงวันที่ : 30/9/2566

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    ปรับปรุงพัฒนาสื่อการเรียนรู้ในห้องเรียน
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) - ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน - เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) - เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ 1.จัดทำการผลิตสื่อ/เผยแพร่สื่อ/จัดการสื่อ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (M1) 2.ประสนงานในการจัดทำการผลิตสื่อ/เผยแพร่สื่อ/จัดการสื่อ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (M2)
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) - สรุปผลการดำเนินการ ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) - รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 50000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวอทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นายพรพีระ สังข์กระแสร์
    กิจกรรมที่ 2    ปรับปรุงพัฒนาบำรุงรักษาโสตทัศนูปกรณ์ และเทคโนโลยีสำหรับโสตทัศนูปกรณ์
  ขั้นเตรียมการ 1.ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน ตุลาคม 2565 (T1) 2.กำหนดขอบเขตการทำงาน -จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ และดำเนินการผลิตสื่อ 1 พฤศจิกายน 2565 – 30 กันยายน 2565 (T2)
  ขั้นดำเนินการ 1.จัดทำการผลิตสื่อ/เผยแพร่สื่อ/จัดการสื่อ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (M1) 2.ประสนงานในการจัดทำการผลิตสื่อ/เผยแพร่สื่อ/จัดการสื่อ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (M2)
  ขั้นสรุป 1.รายงานผลการปฏิบัติงานสม่ำเสมอทุกๆเดือน (V1 2.สรุป/ประเมินผล/รายงานผล กันยายน 2564 (V2
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 109580 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวอทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/11/2565     ถึงวันที่ 17/11/2565
  ผู้รับผิดชอบ นายอุดมศักดิ์
    กิจกรรมที่ 3    ติดตั้งจอฉายภาพ LED เพื่อสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมการเรียนรู้สู่ผู้เรียน บุคลากร โรงเรียน และชุมชน
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) - ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน - เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) - เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) - สำรวจความเสียหายของอุปกรณ์ และความจำเป็นที่จะเพิ่มจุดขยายเครือข่ายอินเตอร์เน็ต - จัดซื้ออุปกรณ์มาปรับปรุงและเพิ่มเติม จัดจ้างในส่วนที่เกินความสามารถในการทำ ขั้นตอนการประสานงาน(M2) - ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) - สรุปผลการดำเนินการ ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) - รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 400000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ห้องประชุมเจ้าคุณทองดำ อาคารเรียน 5
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/12/2565     ถึงวันที่ 31/12/2565
  ผู้รับผิดชอบ นายสิทธา ทับปิ่นทอง

   รวม 3 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 559,580.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 559,580.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
-งานธุรการ -งานวิชาการ -งานประชาสัมพันธ์ -กลุ่มสาระการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระ -งานอาคารสถานที่
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. มีสื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับท้องถิ่นอำเภอท่ามะกา 2. มีสื่อที่เผยแพร่คุณงามความดีชื่อเสียงเกียรติยศของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม เพื่อเก็บเป็นประวัติศาสตร์ของโรงเรียน 3. มีช่องทางสื่อให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรในโรงเรียน ชุมชน ประชาชนทั่วไป 4. เกิดการบริการอำนวยความสะดวกในการบริการด้านภาพถ่าย วิดีทัศน์ ภาพถ่ายคำสั่งโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ในระบบที่สามารถเข้าถึงได้ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ทุกที่ทุกเวลา
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 4-01-5
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2566
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานทั่วไป
กลุ่มสาระ/งาน งานอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม
ชื่อโครงการ ส่งเสริมประสิทธิภาพการบริหารจัดการฝ่ายบริหารทั่วไป
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 1. พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 5. การพัฒนาการศึกษาเพื่อความมั่นคง
ข้อที่ 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
ข้อที่ 6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและจัดการเรียนรู้
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 4. ส่งเสริมหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
ข้อที่ 2. ส่งเสริมคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
ข้อที่ 4. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 1. เป็นเลิศวิชาการ
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายอุดมศักดิ์ นาคะพันธ์

1. หลักการและเหตุผล

           การบริหารจัดการจำเป็นอย่างยิ่งต้องมีวัสดุ อุปกรณ์เพื่อใช้ในงานบริหารจัดการ เพื่อการขับเคลื่อนกลยุทธ์ให้เกิดประสิทธิภาพในการ จัด องค์กร โรงเรียนได้แบ่งระบบการบริหารจัดการตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่งและภาระงานตามที่สำนักงานคณะกรรมการขั้นพื้นฐาน มอบ หมายเพื่อการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนให้มีคุณภาพตามที่ชุมชนคาดหวังโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ดังนั้นเพื่อให้การ ดำเนินงานในกรอบงานตามที่กำหนดจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับเวลาที่ใช้ดำเนินกิจกรรม ตั้งแต่เตรียมการจัดงานและสรุปประเมินผล
- พอประมาณกับกำลังและความสามารถของครู นักเรียนที่จะช่วยกันดำเนินงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
- พอประมาณกับวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆที่ต้องใช้ในการจัดโครงการ/กิจกรรม
- พอประมาณกับสถานที่จัดโครงการ/กิจกรรม
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ผู้บริหารการจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์
- มีการวางแผนการดำเนินงานและเตรียมการจัดกิจกรรมอย่างดี
- มีการติดตามประเมิน และสรุปโครงการ/กิจกรรม
- มีการใช้ข้อมูลงานลักษณะนี้มาวางแผนการจัดการอย่างต่อเนื่อง
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- การประหยัด ใช้จ่ายงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์อย่างคุ้มค่า
- ความขยัน อดทน
- ความมีสติปัญญา รู้ผิดรู้ชอบ ตัดสินใจกระทำการใด ๆ บนเหตุผล
- ความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร
- ความรู้ด้านการออกแบบการเรียนการสอน
- ความรู้ด้านการบริหารจัดการ การศึกษา

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - นักเรียนอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
- นักเรียนมีความสามัคคี ปรองดอง
- คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม เสียสละเพื่อส่วนรวม
- จิตอาสา บำเพ็ญสาธารณประโยชน์
- ปฏิบัติตามกฎหมาย
ด้านเศรษฐกิจ - รู้จักใช้วัสดุ อุปกรณ์ อย่างประหยัดเห็นคุณค่าของสรรพสิ่งไม่ฟุ่มเฟือย
ด้านวัฒนธรรม - มีคุณธรรม มีความรัก เมตตาต่อคนอื่น และสรรพสิ่งต่าง ๆ
- ไม่ทำลายชีวิตผู้อื่น ด้วยความคึกคะนอง ตระหนักถึงหลักชีวิต จริยธรรม
- อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
- กตัญญู รู้คุณ
- รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
- ซื่อสัตย์สุทจริต
- ทำนุบำรุงศาสนา
ด้านสิ่งแวดล้อม - ทำนุบำรุงศาสนา
- ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1.เพื่อให้มีวัสดุอุปกรณ์ในการทำงาน
2.เพื่อให้มีระบบงานสารสนเทศ และการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.เพื่อให้โรงเรียนปฏิบัติงานด้านระบบงบประมาณ ได้สอดคล้องกับนโยบาย
4.เพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1.จัดซื้อวัสดุสำนักงานได้ตามวัตถุประสงค์
  เชิงคุณภาพ
    1.สำรวจความต้องการ / ขออนุมัติโครงการ 2.ศึกษารายละเอียดและรวบรวมข้อมูล

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2565          ถึงวันที่ : 30/9/2566

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    จัดซื้อวัสดุครุภัณฑ์ฝ่ายบริหารทั่วไป
  ขั้นเตรียมการ 1.สำรวจความต้องการ / ขออนุมัติโครงการ(T1) 2.ศึกษารายละเอียดและรวบรวมข้อมูล(T1)
  ขั้นดำเนินการ 1.แต่งตั้งคณะกรรมการ(T2) 2.จัดประชุมให้ความรู้ข้าราชการครู / นักเรียน(M1) 3.ดำเนินการตามแผนที่กำหนด / กิจกรรม(M1)
  ขั้นสรุป 1.ประเมินผล(V1) 2.สรุปผล และรายงานผล(V1),(V2)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 10000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นายอุดมศักด์

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 10,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 10,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1.ฝ่ายงบประมาน 2.พัสดุฝ่ายบริหารทั่วไป
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
การบริหารจัดการงานสารสนเทศของโรงเรียนสะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 4-08-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2566
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานทั่วไป
กลุ่มสาระ/งาน งานการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ชื่องาน สารสนเทศ
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 5. ส่งเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 5. การพัฒนาการศึกษาเพื่อความมั่นคง
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและจัดการเรียนรู้
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 3. ล้ำหน้าทางความคิด
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายณัฐพล กลีบสัตบุตร

1. หลักการและเหตุผล

          ตามมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ สถานศึกษาต้องจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ โดยการบริหารจัดการสถานศึกษา เพื่อมุ่งเน้นพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ผู้บริหารสถานศึกษาจำเป็นต้องได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นปัจจุบันประกอบการตัดสินใจ เพื่อลดความเสี่ยงในการตัดสินใจที่ไม่ถูกต้อง ซึ่งในปีงบประมาณที่ผ่านมา การจัดทำระบบข้อมูลสารสนเทศและการใช้สารสนเทศในการบริหารจัดการ เพื่อพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาอย่างครอบคลุมและทันต่อการใช้งานอยู่ในเกณฑ์ระดับดีเลิศ โดยข้อมูลสารสนเทศที่จัดเก็บเน้นความสมบูรณ์ถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน เพื่อให้โครงการดำเนินการอย่างต่อเนื่องทางโรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น โดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับเวลาที่ใช้ดำเนินกิจกรรม ตั้งแต่เตรียมการจัดงานและสรุปประเมินผล
- พอประมาณกับกำลังและความสามารถของครู นักเรียนที่จะช่วยกันดำเนินงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
- พอประมาณกับวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆที่ต้องใช้ในการจัดโครงการ/กิจกรรม
- พอประมาณกับสถานที่จัดโครงการ/กิจกรรม
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ผู้บริหารการจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่พัฒนาสภาพแวดล้อม สื่อ เทคโนโลยี
- มีการวางแผนการดำเนินงานและเตรียมการจัดกิจกรรมอย่างดี
- มีการตั้งคณะกรรมการดำเนินงานรับผิดชอบด้านต่าง ๆ ให้ชัดเจน
- มีการประชุม ปรึกษาหารืออย่างสม่ำเสมอ
- มีการประสานงานกับกลุ่มเป้าหมาย ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง
- มีการติดตามประเมิน และสรุปโครงการ/กิจกรรม
- มีการใช้ข้อมูลงานลักษณะนี้มาวางแผนการจัดการอย่างต่อเนื่อง
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- การประหยัด ใช้จ่ายงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์อย่างคุ้มค่า
- ความขยัน อดทน
- ความมีสติปัญญา รู้ผิดรู้ชอบ ตัดสินใจกระทำการใด ๆ บนเหตุผล
- ความรู้ด้านการผลิตสื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้
- ความรู้ด้านการบริหารจัดการ การศึกษา
- ความรู้ด้านการสรุปงาน ประเมินผลงาน

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม เสียสละเพื่อส่วนรวม
ด้านเศรษฐกิจ - รู้จักใช้วัสดุ อุปกรณ์ อย่างประหยัดเห็นคุณค่าของสรรพสิ่งไม่ฟุ่มเฟือย
ด้านวัฒนธรรม - มีคุณธรรม มีความรัก เมตตาต่อคนอื่น และสรรพสิ่งต่าง ๆ
ด้านสิ่งแวดล้อม - ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อจัดทำระบบข้อมูลสารสนเทศของโรงเรียน
2. เพื่อให้บริการและเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศแก่ครู บุคลากร และผู้ที่เกี่ยวข้อง

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมมีรายงานข้อมูลสารสนเทศ 1 เล่มต่อปีการศึกษา
2. คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา ร้อยละ 95 มีส่วนร่วมและสนับสนุนในการให้ข้อมูลในด้านต่าง ๆ
  เชิงคุณภาพ
    1. ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมมีความพึงพอใจในระบบข้อมูลสารสนเทศในระดับดีขึ้นไป

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2565          ถึงวันที่ : 30/9/2566

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การจัดทำรายงานสารสนเทศ ประจำปีการศึกษา 2565
  ขั้นเตรียมการ การวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
1. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
2. ขออนุมัติโครงการ
3. ประชุมคณะกรรมการวางแผนการปฏิบัติงาน
การกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
1. จัดทำคำสั่งการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ การปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
1. ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากลุ่มบริหารงานต่าง ๆ และจัดทำข้อมูลสารสนเทศต่อไป
การประสานงาน (M2)
1. ประสานงานกับทุกกลุ่มบริหารงานต่าง ๆ
  ขั้นสรุป การประเมินผล (V1)
1. จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจ
2. สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน
การกำกับติดตาม (V2)
1. บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 5000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นายณัฐพล กลีบสัตบุตร

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 5,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 5,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ทุกกลุ่มบริหารงานของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
โรงเรียนใช้ข้อมูลสารสนเทศในการบริหารจัดการสถานศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาในด้านต่าง ๆ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 4-11-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2566
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานทั่วไป
กลุ่มสาระ/งาน งานส่งเสริมพลังงานทดแทน
ชื่อโครงการ ส่งเสริมพลังงานทดแทน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ -
จุดเน้น กระทรวงฯ -
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายพรพีระ สังข์กระแสร์

1. หลักการและเหตุผล

           พลังงานทดแทน หมายถึง พลังงานที่นำมาใช้แทนน้ำมันเชื้อเพลิง สามารถแบ่งตามแหล่งที่ได้มาเป็น 2 ประเภท คือ พลังงาน ทดแทน จากแหล่งที่ใช้แล้วหมดไป อาจเรียกว่า พลังงานสิ้นเปลือง ได้แก่ ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ นิวเคลียร์ หินน้ำมัน และทราย น้ำมัน เป็นต้น และพลังงานทดแทนอีกประเภทหนึ่งเป็นแหล่งพลังงานที่ใช้แล้วสามารถหมุนเวียนมาใช้ได้อีก เรียกว่า พลังงาน หมุนเวียน ได้แก่ แสง อาทิตย์ ลม ชีวมวล น้ำ และไฮโดรเจน เป็นต้น

โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมประสบปัญหาเรื่องค่าใช้จ่ายในกาใช้ไฟฟ้าสูงเนื่องจากมีความ ต้องการ ใช้ ไฟฟ้าจำนวนมากต่อวัน แนวทางการพึ่งพาตนเองด้านพลังงานของโรงเรียนคือติดตั้งเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell) ทดลองผลิต ไฟฟ้า บนหลังคาของอาคารเรียน และเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับนักเรียนรวมทั้งโรงเรียน ชุมชนต่างๆ ได้ให้ความสนใจเข้ามา ศึกษาดูงานเพื่อ จะนำไป ประยุกต์ใช้ในรูปแบบต่างๆ แต่ด้วยข้อจำกัดเรื่องอายุการใช้งานของเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell) จึงพบ ปัญหาการชำรุด ของอุปกรณ์ ส่งผลต่อการผลิตกระแสไฟฟ้า กลุ่มงานส่งเสริมพลังงานทดแทน จึงจัดทำโครงการส่งเสริมพลังงานทดแทนเพื่อซ่อมบำรุง เซลล์ แสงอาทิตย์ (Solar Cell) ให้อยู่ใน สภาพพร้อมใช้งาน และผลิตกระแสไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆที่ต้องใช้ในการจัดโครงการ/กิจกรรม
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ผู้บริหารการจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่พัฒนาสภาพแวดล้อม สื่อ เทคโนโลยี
- มีการตั้งคณะกรรมการดำเนินงานรับผิดชอบด้านต่าง ๆ ให้ชัดเจน
- มีการประชุม ปรึกษาหารืออย่างสม่ำเสมอ
- มีการติดตามประเมิน และสรุปโครงการ/กิจกรรม
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- ความรู้ด้านการบริหารจัดการ การศึกษา
- ความรู้ด้านการสรุปงาน ประเมินผลงาน

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม เสียสละเพื่อส่วนรวม
ด้านเศรษฐกิจ - รู้จักใช้วัสดุ อุปกรณ์ อย่างประหยัดเห็นคุณค่าของสรรพสิ่งไม่ฟุ่มเฟือย
ด้านวัฒนธรรม - ซื่อสัตย์สุทจริต
ด้านสิ่งแวดล้อม - ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม
- ลดภาวะโลกร้อน
- อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

เพื่อซ่อมบำรุงเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell) ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมมีเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell) ที่อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน คิดเป็นร้อยละ 80
  เชิงคุณภาพ
    โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมมีเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell) ที่อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน และผลิตกระแสไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 19/10/2565          ถึงวันที่ : 19/10/2566

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    ซ่อมบำรุงและส่งเสริมพลังงานทดแทน
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1) - ประชุมชี้แจงและวางแผนการทำงาน - จัดทำกิจกรรมเพื่อขออนุมัติจากผู้บริหารโรงเรียน ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2) - จัดทำคำสั่งการดำเนินกิจกรรม
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1) - จัดทำบันทึกขออนุญาตจัดกิจกรรม - ดำเนินการสำรวจสภาพการใช้งาน ขั้นตอนการประสานงาน (M2) - ดำเนินการซ่อมบำรุง - ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล (V1) - สำรวจสภาพการใช้งาน - สรุปผลการสำรวจสภาพการใช้งาน ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2) - บันทึกข้อความรายงานผลการดำเนินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 5000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 19/10/2565     ถึงวันที่ 18/11/2565
  ผู้รับผิดชอบ นายพรพีระ สังข์กระแสร์ และคณะ

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 5,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 5,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
งานอาคารสถานที่ งานพัสดุ งานการเงิน
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมมีเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell) ที่อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน และสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 4-01-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2566
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานทั่วไป
กลุ่มสาระ/งาน งานอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม
ชื่อโครงการ ลดและคัดแยกขยะมูลฝอยภายในโรงเรียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 4. การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 6. มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 2. ส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนมีทักษะในการประกอบอาชีพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 4. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 5. ร่วมรับผิดชอบสังคมโลก
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวน้ำฝน ใจผ่อง

1. หลักการและเหตุผล

           ปัจจุบันในแต่ละวันมีขยะเกิดขึ้นจากกิจวัตรประจำวันของเราแต่ละคน มากน้อยต่างกันตามอายุ เพศ สภาพเศรษฐกิจ ราย ได้ สถานที่ กิจกรรม ค่านิยม ฯลฯ ขยะที่เราก่อขึ้นมีตั้งแต่เศษอาหาร กระดาษชำระ เศษกระดาษ ถุงพลาสติก ขวด แก้ว ขวด พลาสติก กระเบื้อง อะลูมิเนียม นมกล่อง ถ่านไฟฉาย หลอดไฟใช้แล้ว ฯลฯ จากปริมาณขยะที่เกิดขึ้นใน แต่ละวัน มีประมาณ 0.5-1 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน เป็นขยะจากคนในเมืองเฉลี่ย 1 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน ขยะส่วนใหญ่มา จากวัสดุที่เราไม่ได้ใช้ ประโยชน์ แล้ว เช่น เศษกระดาษ ขวด พลาสติก กระป๋อง เศษแก้ว เชื่อหรือไม่ว่าเราสามารถจัด เก็บและกำจัดขยะได้ไม่ถึง 70 % ของขยะที่ เกิดขึ้น ขยะจึงตกค้างอยู่ตาม สถานที่ต่างๆและสร้างปัญหามลพิษต่อตัวเรา และชุมชน ปัญหาขยะชุมชน และในโรงเรียนนั้นเป็นปัญหา สาธารณะ ที่ส่งผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมและสุขภาพของ นักเรียนและคนใน ชุมชน เพราะ นักเรียนและคนในชุมชนยังขาดความรู้และ เทคนิควิธีการการจัดขยะที่ เหมาะสม ดังนั้น การมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบ ของ ชุมชนจึงเป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องรวมกลุ่มดำเนินกิจกรรม อื่นๆ เช่น กลุ่มส่งเสริมฟื้นฟู การเกษตร กลุ่มธนาคารขยะ กลุ่มทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ การเลี้ยงสุกรเพื่อกำจัดเศษอาหาร และ กลุ่มกิจกรรมอื่นๆ อันเนื่องมา จากมีผลประโยชน์เกิดขึ้นอย่างชัดเจน อีกทั้ง ยังสร้างรายได้ให้กับโรงเรียน และคนในชุมชนอีกด้วย การคัด แยกขยะจะทำให้เรารู้ว่า ควรจะจัดการกำจัดขยะแต่ละ ประเภทอย่างไร จึงจะเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและงบ ประมาณ หรือ ขยะเช่นใดบ้างที่ควรนำกลับมา หมุนเวียนใช้ใหม่ การ คัดแยกขยะเป็นขั้นตอนที่ดําเนินการภายหลังการเกิดขึ้นของ ขยะ และถือว่าเป็น กิจกรรมหนึ่งที่มีความสําคัญต่อ ระบบ การนํา ขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ เพราะสามารถลดการปน เปื้อนของ วัสดุรีไซเคิลได้ รวม ทั้งลดปริมาณขยะ ที่จะนําไปกําจัด ทิ้ง ขั้นสุดท้ายลงได้ เนื่องจากขยะของสังคมเมืองมี ปริมาณมาก หากไม่คัด แยก ค่าใช้จ่ายใน การจัดการขยะทั้งด้านงบประมาณ คน สถานที่ฝังกลบ การเก็บขน ก็ย่อมต้อง สูงตามไปด้วย

โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม เปิดสอน นักเรียนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 พบว่าในแต่ละ วันขยะในโรงเรียนมีปริมาณมากและนักเรียน ทิ้งขยะไม่เป็นที่จึงทำให้ขยะในโรงเรียนมีเป็น จำนวน มาก สกปรกและมีกลิ่นเหม็น ดังนั้นทางโรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการ การลด คัดแยกขยะมูลฝอยภายในโรงเรียน เพื่อ จัด กิจกรรมให้ ความรู้กับนักเรียน โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมี จิตสำนึก เข้าใจ ปัญหาที่เกิดขึ้น และร่วมกันหาแนวทางในการจัดการขยะ มูลฝอยอย่างถูกวิธี ตาม กระบวนการและขั้นตอนต่อไป


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับเวลาที่ใช้ดำเนินกิจกรรม ตั้งแต่เตรียมการจัดงานและสรุปประเมินผล
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ฝึกฝนให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีจิตสาธารณะ
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ฝึกฝน สร้างนักเรียนให้มีทักษะในการทำงาน
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและชุมชน
- มีการวางแผนการดำเนินงานและเตรียมการจัดกิจกรรมอย่างดี
- มีการติดตามประเมิน และสรุปโครงการ/กิจกรรม
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- การประหยัด ใช้จ่ายงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์อย่างคุ้มค่า
- ความรู้ด้านการสรุปงาน ประเมินผลงาน

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - นักเรียนได้นำความรู้จากการทำกิจกรรมไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
ด้านเศรษฐกิจ - รู้จักใช้วัสดุ อุปกรณ์ อย่างประหยัดเห็นคุณค่าของสรรพสิ่งไม่ฟุ่มเฟือย
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม - ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรเข้าใจปัญหา และผลกระทบที่เกิดขึ้นจากขยะมูลฝอยที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัยของทุกคนในโรงเรียน
2. เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรมีความรู้ความเข้าใจประเภทของขยะและสามารถบอกวิธีการจัดการกับขยะได้อย่างถูกต้อง
3. เพื่อให้โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมสามารถลดและคัดแยกขยะมูลฝอยได้อย่างเป็นระบบ

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนและบุคลากรร้อยละ 80 เข้าใจปัญหา และผลกระทบที่เกิดขึ้นจากขยะมูลฝอยที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัยของทุกคนในโรงเรียน
2. นักเรียนและบุคลากรร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจประเภทของขยะและสามารถบอกวิธีการจัดการกับขยะได้อย่างถูกต้อง
  เชิงคุณภาพ
    1. โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมสามารถลดและคัดแยกขยะมูลฝอยได้อย่างเป็นระบบ
2. สิ่งแวดล้อมและภูมิทัศน์ดีขึ้น เนื่องจากขยะน้อยลง สิ่งแวดล้อมและภูมิทัศน์ก็จะต้องดีขึ้น สะอาดขึ้น ปลอดภัยต่อสุขภาพมากขึ้น เป็นผลประโยชน์ต่อทุกคนในโรงเรียน

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/11/2565          ถึงวันที่ : 30/8/2566

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การคัดแยกขยะรีไซเคิล และกิจกรรมธนาคารขยะรีไซเคิล
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- ประชุมชี้แจงและวางแผนการทำงาน
- จัดทำกิจกรรมเพื่อขออนุมัติจากผู้บริหารโรงเรียน
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- จัดทำคำสั่งการดำเนินกิจกรรม
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
- จัดทำบันทึกขออนุญาตจัดกิจกรรม
- จัดทำกำหนดการประชุม
ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- รายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
- ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- สำรวจความคิดเห็นและความพึงพอใจ
- สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม
- ข้อเสนอแนะจากผู้บริหาร / ผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 7500 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/11/2565     ถึงวันที่ 30/8/2566
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวน้ำฝน ใจผ่อง คณะครูกลุ่มวิทยาศาสตร์

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 7,500.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 7,500.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1. เทศบาลตำบลท่ามะกา
2. ร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล
3. สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดกาญจนบุรี
4. กลุ่มงานอาคารสถานที่ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนนำความรู้ในการคัดแยกขยะมูลฝอย ไปเพิ่มมูลค่าและสร้างสิ่งเป็นประโยชน์ต่อสังคม
2. นักเรียนเห็นคุณค่า และความสำคัญของสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียน
3. นักเรียนมีจิตสำนึกในการคัดแยกขยะก่อนทิ้งได้อย่างถูกต้อง
4. โรงเรียนมีความเป็นระเบียบ เรียบร้อย และปริมาณขยะลดลง
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
ราคารับซื้อขยะรีไซเคิลที่ปรับขึ้น

 

 

รหัสโครงการ 4-10-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2566
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานทั่วไป
กลุ่มสาระ/งาน งานธนาคารโรงเรียน
ชื่อโครงการ งานธนาคารโรงเรียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 4. ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 3. การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 6. มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 5. ร่วมรับผิดชอบสังคมโลก
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวขวัญจิตร ยิ่งยวด

1. หลักการและเหตุผล

           <นโยบาย การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ปีพ.ศ. 2552 ได้ดำเนินนโยบายด้านคุณภาพการศึกษา ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับการศึกษา ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ครูสามารถจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพและให้ความสำคัญกับ พื้นฐานและศักยภาพของผู้เรียน และจากการที่โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเป็นโรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ ทางกลุ่มสาระสังคมศึกษา ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้มีการจัดกิจกรรมต่างๆ ที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีค่านิยมที่ดีงาม โดยการ จัดกิจกรรมแบบบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ให้นักเรียนได้รับความรู้จากแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกสถานที่ ตลอด จนมีจิตสาธารณะต่อชุมชนและสังคม พัฒนาเป็นคนดี คนเก่ง มีความสุขอย่างแท้จริง >
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับเวลาที่ใช้ดำเนินกิจกรรม ตั้งแต่เตรียมการจัดงานและสรุปประเมินผล
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ฝึกฝนให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีจิตสาธารณะ
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ฝึกฝน สร้างนักเรียนให้มีทักษะในการทำงาน
- มีการวางแผนการดำเนินงานและเตรียมการจัดกิจกรรมอย่างดี
- มีการตั้งคณะกรรมการดำเนินงานรับผิดชอบด้านต่าง ๆ ให้ชัดเจน
- มีการประชุม ปรึกษาหารืออย่างสม่ำเสมอ
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- การประหยัด ใช้จ่ายงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์อย่างคุ้มค่า
- ความรู้ด้านการบริหารจัดการ การศึกษา
- ความรู้ด้านการสรุปงาน ประเมินผลงาน

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - นักเรียนอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
- จิตอาสา บำเพ็ญสาธารณประโยชน์
ด้านเศรษฐกิจ - รู้จักใช้วัสดุ อุปกรณ์ อย่างประหยัดเห็นคุณค่าของสรรพสิ่งไม่ฟุ่มเฟือย
ด้านวัฒนธรรม - ซื่อสัตย์สุทจริต
ด้านสิ่งแวดล้อม - ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีนิสัยประหยัดอดออม
2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักวางแผนการทำงาน ทำงานเป็นทีม มีทักษะชีวิตโดยเน้นหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ผู้เรียนร้อยละ 85 มีนิสัยรักการออม และมีบัญชีธนาคารโรงเรียน
  เชิงคุณภาพ
    ผู้เรียนร้อยละ 85 มีความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์ รู้จักวางแผนการทำงานและมีนิสัยประหยัดอดออมอยู่ในระดับดีขึ้นไป

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 19/10/2565          ถึงวันที่ : 19/10/2566

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมส่งเสริมการออม
  ขั้นเตรียมการ -ประชุมคณะกรรมการงานธนาคารโรงเรียนเพื่อเตรียมการ -คััดสรรนักเรียนเพื่อร่วมเป็นคณะทำงานธนาคารโรงเรียน -มอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบตามความถนัด
  ขั้นดำเนินการ -ประชาสัมพันธ์การให้บริการของงานธนาคารโรงเรียนและจัดกิจกรรมส่งเสริมการออม -รับเปิดบัญชี รับฝาก-ถอนเงิน และปิดบัญชี ตามเวลาที่กำหนด -จัดกิจกรรมส่งเสริมการออมในช่วงเวลาพิเศษ เช่นวันเด็ก
  ขั้นสรุป -รายงานผลการทำงานประจำวันกับธนาคารออมสิน สาขาท่ามะกา -รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีการศึกษา
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 5300 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 19/10/2565     ถึงวันที่ 18/11/2565
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวขวัญจิตร ยิ่งยวด และคณะ

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 5,300.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 5,300.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ธนาคารออมสิน สาขาท่ามะกา
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
-ผู้เรียนมีคุณธรรม ความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์และรู้จักวางแผนการทำงาน -ผู้เรียนรักการออม ใช้ชีวิตอย่างพอเพียง
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ

 

 

รหัสโครงการ 4-06-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2566
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานทั่วไป
กลุ่มสาระ/งาน งานประชาสัมพันธ์
ชื่อโครงการ งานประชาสัมพันธ์
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 5. ส่งเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 4. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและจัดการเรียนรู้
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวกมลชนก หาดรื่น

1. หลักการและเหตุผล

          

งานประชาสัมพันธ์ เป็นงานในการนำข้อมูลข่าวสาร และความเคลื่อนไหวต่างๆ ภายในโรงเรียน ทั้งในด้านการบริหารจัดการ ด้านวิชาการ ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน ข้อมูลข่าวสารและเกร็ดความรู้ต่างๆ ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ให้ชุมชนทราบ ก่อให้เกิดความรู้และความเข้าใจอันดีต่อกันระหว่างโรงเรียนกับชุมชน และหน่วยงานต่างๆ อันจะก่อให้เกิดความร่วมมือ ร่วมใจกัน ในการพัฒนาแก้ไขปัญหาการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้ดำเนินไปด้วยดี และบรรลุผลตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาต่อไป ดังนั้น งานประชาสัมพันธ์โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมจึงจัดทำโครงการงานประชาสัมพันธ์โรงเรียนขึ้น เพื่อประโยชน์ทางด้านความสัมพันธ์อันดีระหว่างโรงเรียน หน่วยงานราชการ และชุมชน โดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับกำลังและความสามารถของครู นักเรียนที่จะช่วยกันดำเนินงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะในการฟัง พูด อ่าน เขียน
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยี
- มีการวางแผนการดำเนินงานและเตรียมการจัดกิจกรรมอย่างดี
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- ความรู้ด้านการผลิตสื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - นักเรียนอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ด้านเศรษฐกิจ - รู้จักใช้วัสดุ อุปกรณ์ อย่างประหยัดเห็นคุณค่าของสรรพสิ่งไม่ฟุ่มเฟือย
ด้านวัฒนธรรม - รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ด้านสิ่งแวดล้อม - ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ต่างๆในโรงเรียน
2. เพื่อจัดทำวารสารโรงเรียน “ร่มมะกาสาร”จำนวนอย่างน้อย 1,000เล่มและจัดทำจดหมายข่าวประชาสัมพันธ์กิจกรรมในโรงเรียนเป็นประจำทุกเดือน
3. เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์แนะแนวการศึกษาให้กับโรงเรียนประถมศึกษาในเขตพื้นที่บริการไม่น้อยกว่า 3 ครั้ง/ปีการศึกษา
4. เพื่อจัดทำเกียรติบัตรให้กับผู้ที่เก็บสิ่งของ , ทรัพย์สินได้

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียน บุคลากรในโรงเรียนตลอดจน ผู้ปกครองและชุมชน ร้อยละ 80 ได้รับข้อมูลข่าวสารจากงานประชาสัมพันธ์
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียน บุคลากรในโรงเรียนตลอดจน ผู้ปกครองและชุมชน ร้อยละ 80 ได้รับข้อมูลข่าวสารอย่างต่อเนื่องทั้งทางด้านเสียงและเอกสาร อยู่ในระดับดีขึ้นไป

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2565          ถึงวันที่ : 30/9/2566

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมเผยแพร่ข่าวสาร และให้บริการงานประชาสัมพันธ์ต่างๆของโรงเรียน
  ขั้นเตรียมการ 1. ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
1.1 จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
1.2 ขออนุมัติโครงการ
1.3 แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
1.4 ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
2.1 จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
  ขั้นดำเนินการ 3.ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
3.1 เผยแพร่ข่าวสารและให้บริการงานประชาสัมพันธ์ต่างๆในโรงเรียน
3.2 การประชาสัมพันธ์ด้านเอกสาร มีดังนี้
- จดหมายข่าว
- เอกสารอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
3.3 การประชาสัมพันธ์ ด้านเสียงได้แก่
- การประชาสัมพันธ์ทั่วไป
- การจัดรายการเสียงตามสาย
- การต้อนรับ พิธีกร พิธีการและการประสานงานต่าง ๆ
- มีการออกไปประชาสัมพันธ์แนะแนวการศึกษาให้กับโรงเรียนประถมศึกษาในเขตพื้นที่บริการ
3.4 การจัดบอร์ดประชาสัมพันธ์
3.5 การประชาสัมพันธ์สู่ชุมชนตามวาระโอกาส เช่น วันแห่เทียนเข้าพรรษา,การเดินรณรงค์ตามวาระโอกาส
3.6 การให้บริการงานประชาสัมพันธ์ด้านต่างๆ ได้แก่
- บริการจดหมายไปรษณียภัณฑ์
- บริการต่อชุมชนตามที่ได้รับ หรือร้องขอ เช่น พิธีกร ,จำหน่ายหนังสือวันเด็กแห่งชาติ,จำหน่ายดอกมะลิเนื่องในวันแม่แห่งชาติ เป็นต้น
-บริการอื่นๆตามที่ได้รับมอบหมาย
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
4.1 ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม
  ขั้นสรุป 5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
5.1 ทำแบบประเมินความพึงพอใจ
5.2 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
6.1 บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินโครงการ
6.2 สรุปรูปเล่มรายงานโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 10000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวกมลชนก หาดรื่น
    กิจกรรมที่ 2    วารสารโรงเรียน
  ขั้นเตรียมการ 1. ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
1.1 จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
1.2 ขออนุมัติโครงการ
1.3 แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
1.4 ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
2.1 จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
  ขั้นดำเนินการ 3.ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
3.1 จัดทำวารสารโรงเรียน“ร่มมะกาสาร”
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
4.1 ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม
  ขั้นสรุป 5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
5.1 ทำแบบประเมินความพึงพอใจ
5.2 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
6.1 บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินโครงการ
6.2 สรุปรูปเล่มรายงานโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 45000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/12/2565     ถึงวันที่ 31/3/2566
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวกมลชนก หาดรื่น
    กิจกรรมที่ 3    ของหายได้คืน
  ขั้นเตรียมการ 1. ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
1.1 จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
1.2 ขออนุมัติโครงการ
1.3 แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
1.4 ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
2.1 จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
  ขั้นดำเนินการ 3.ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
3.1 จัดทำเอกสาร แบบบันทึก การรับคืน สิ่งของ , ทรัพย์สิน
3.2 ดำเนินการ รับ สิ่งของ , ทรัพย์สิน ที่มีผู้เก็บได้ และรับแจ้งของหาย
3.3 ผู้แจ้งกรอกข้อมูลลงแบบประกาศ ประชาสัมพันธ์ตามข้อมูล
3.4 เจ้าของทรัพย์สิน ติดต่อขอรับคืนโดยผ่านการตรวจสอบข้อมูลอย่างถูกต้องและลงชื่อรับคืนเป็นหลักฐาน พร้อมแจ้งให้ขอบคุณผู้เก็บได้
3.5 มอบเกียรติบัตรแก่ผู้เก็บสิ่งของ , ทรัพย์สินได้
3.6 กรณีไม่มีเจ้าของแสดงตน เจ้าหน้าที่จะมอบสิ่งของ,ทรัพย์สินนั้นๆแก่ผู้เก็บได้พร้อมลงชื่อ บันทึกเป็นหลักฐาน
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
4.1 ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม
  ขั้นสรุป 5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
5.1 ทำแบบประเมินความพึงพอใจ
5.2 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
6.1 บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินโครงการ
6.2 สรุปรูปเล่มรายงานโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 1500 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวกมลชนก หาดรื่น

   รวม 3 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 56,500.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 56,500.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียน ครู บุคลากรของโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานต่างๆ รับรู้ มีความเข้าใจ รับข่าวสารข้อมูลของโรงเรียน และการปฏิรูปการศึกษาของโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง และมีทัศนคติที่ดีต่อโรงเรียน
2. นักเรียน เกิดความภาคภูมิใจที่มีคุณธรรม จริยธรรม ไม่คิดนำสิ่งของของผู้อื่นมาเป็นของตน และเกิดความตระหนัก มั่นใจที่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี มีสังคมดี และปลอดภัย
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
ระบบเครื่องเสียงมักมีปัญหาบ่อย

 

 

รหัสโครงการ 4-09-5
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2566
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานทั่วไป
กลุ่มสาระ/งาน โครงการส่งเสริมงานโภชนาการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมงานโภชนาการ
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ -
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 1. การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ข้อที่ 4. การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 2. ความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 3. การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
ข้อที่ 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 4. ส่งเสริมหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 4. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 5. ร่วมรับผิดชอบสังคมโลก
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวบุษรารัตน์ แก้วสะอาด

1. หลักการและเหตุผล

          สุขภาพเป็นปัจจัยที่สำคัญในการดำรงชีวิต ถ้าบุคคลมีสุจภาพดีจะเป็นพื้นฐานสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ในปัจจุบัน ประชากรต้องเผชิญกับสภาวะความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมโลกที่ส่งผลต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตเป็นอย่างมาก การ ส่งเสริมสุขภาพจึงเป็นปัจจัยสำคัญและจำเป็นมากในโรงเรียนเพราะการที่เยาวชนมีสุขภาพดี สมบูรณ์แข็งแรง เป็นพื้นฐานให้ นักเรียนสามารถที่จะพัฒนาด้านอื่นๆได้เต็มที่ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมได้ดำเนินการจัดกิจกรรมด้านโภชนากาารมาอย่างต่อเนื่อง โดยเน้นกิจกรรมส่งเสริมด้านการให้ความรู้ ปลูกฝังเจตคติ และสร้างทักษะที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมที่ดีทางด้านการบริโภคสำหรับ นักเรียนและบุคลากรของโรงเรียน
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆที่ต้องใช้ในการจัดโครงการ/กิจกรรม
- พอประมาณกับสถานที่จัดโครงการ/กิจกรรม
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ฝึกฝนให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีจิตสาธารณะ
- มีการใช้ข้อมูลงานลักษณะนี้มาวางแผนการจัดการอย่างต่อเนื่อง
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- การประหยัด ใช้จ่ายงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์อย่างคุ้มค่า
- ความมีสติปัญญา รู้ผิดรู้ชอบ ตัดสินใจกระทำการใด ๆ บนเหตุผล
- ความรู้ด้านการสรุปงาน ประเมินผลงาน

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - นักเรียนอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
- คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม เสียสละเพื่อส่วนรวม
- ปฏิบัติตามกฎหมาย
ด้านเศรษฐกิจ - รู้จักใช้วัสดุ อุปกรณ์ อย่างประหยัดเห็นคุณค่าของสรรพสิ่งไม่ฟุ่มเฟือย
- การออม
ด้านวัฒนธรรม - มีคุณธรรม มีความรัก เมตตาต่อคนอื่น และสรรพสิ่งต่าง ๆ
- ซื่อสัตย์สุทจริต
ด้านสิ่งแวดล้อม - ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม
- ลดภาวะโลกร้อน

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1.เพื่อจัดให้มีการอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคลากรในโรงเรียนและนอกสถานศึกษา 2.เพื่อส่งเสริมให้ความรู้ด้านโภชนาการ

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1.จัดป้ายนิเทศน์ให้ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพด้านการบริโภคและสุขอนามัยเดือนละ 1 ครั้ง
  เชิงคุณภาพ
    นักเรียนร้อยละ 80 สามารถดูแลและปฏิบัติตนตามสุขบัญญัติ 10 ประการ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 25/10/2565          ถึงวันที่ : 25/10/2566

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    พัฒนาโภชนาการนักเรียน
  ขั้นเตรียมการ 1.ประชุมบุคลากรในสายงาน 2.เสนอขออนุมัติ 3.แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ 1.จัดป้ายนิเทศน์ให้ความรู้ 2.อบรมให้ความรู้
  ขั้นสรุป 1.ติดตามผลการดำเนิงาน 2.ประเมินผลการดำเนินงาน 3.สรุปและดำเนินผลการดำเนินงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงอาหารโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 25/10/2565     ถึงวันที่ 24/11/2565
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวบุษรารัตน์ แก้วสอาด

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
อนามัยและโรงพยาบาลมะการักษ์
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ

 

 

รหัสโครงการ 4-01-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2566
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานทั่วไป
กลุ่มสาระ/งาน งานอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม
ชื่อโครงการ รักษ์โรงเรียนรักสิ่งแวดล้อม
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 1. การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ข้อที่ 4. การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
ข้อที่ 4. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
ข้อที่ 5. ร่วมรับผิดชอบสังคมโลก
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายสุรเชษฎ์ ธนะรัตน์

1. หลักการและเหตุผล

           อาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อมที่ดีช่วยเสริมสร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ ส่งเสริมและเอื้อ อำนวยต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ เกิดประสิทธิผลอย่างมีประสิทธิภาพ อาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อมที่ดีจึงมีส่วนสำคัญ ต่อความสำเร็จในการจัดการศึกษาทำให้นักเรียน เกิดการพัฒนาทั้งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผู้ปกครอง ชุมชนรวมทั้งผู้รับบริการเกิดความเชื่อมั่น ศรัทธาต่อ โรงเรียนซึ่งเป็นผลดีต่อการระดมทรัพยากรและความร่วมมือในการพัฒนาใน อนาคตโดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมาเป็นแนวทางในการ ดำเนินงาน


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับเวลาที่ใช้ดำเนินกิจกรรม ตั้งแต่เตรียมการจัดงานและสรุปประเมินผล
- พอประมาณกับกำลังและความสามารถของครู นักเรียนที่จะช่วยกันดำเนินงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
- พอประมาณกับวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆที่ต้องใช้ในการจัดโครงการ/กิจกรรม
- พอประมาณกับสถานที่จัดโครงการ/กิจกรรม
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่พัฒนาสภาพแวดล้อม สื่อ เทคโนโลยี
- มีการวางแผนการดำเนินงานและเตรียมการจัดกิจกรรมอย่างดี
- มีการตั้งคณะกรรมการดำเนินงานรับผิดชอบด้านต่าง ๆ ให้ชัดเจน
- มีการประชุม ปรึกษาหารืออย่างสม่ำเสมอ
- มีการติดตามประเมิน และสรุปโครงการ/กิจกรรม
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- การประหยัด ใช้จ่ายงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์อย่างคุ้มค่า
- ความขยัน อดทน
- ความมีสติปัญญา รู้ผิดรู้ชอบ ตัดสินใจกระทำการใด ๆ บนเหตุผล
- ความรู้ด้านการผลิตสื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้
- ความรู้ด้านการบริหารจัดการ การศึกษา

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - นักเรียนได้นำความรู้จากการทำกิจกรรมไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
- คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม เสียสละเพื่อส่วนรวม
ด้านเศรษฐกิจ - รู้จักใช้วัสดุ อุปกรณ์ อย่างประหยัดเห็นคุณค่าของสรรพสิ่งไม่ฟุ่มเฟือย
- ประยุกต์ใช้วัสดุอุปกรณ์ในท้องถิ่น
ด้านวัฒนธรรม - มีคุณธรรม มีความรัก เมตตาต่อคนอื่น และสรรพสิ่งต่าง ๆ
- ไม่ทำลายชีวิตผู้อื่น ด้วยความคึกคะนอง ตระหนักถึงหลักชีวิต จริยธรรม
ด้านสิ่งแวดล้อม - ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม
- ลดภาวะโลกร้อน
- อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1.ลดปริมาณพื้นที่ที่เป็นจุดอับ จุดบกพร่องและจุดเสื่อมโทรมให้เกิดความสะอาด ร่มรื่น สวยงาม น่าอยู่ปลอดภัย เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ดี เกิดมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ
2. เพิ่มและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
3. พัฒนาทักษะกระบวนการคิดและทักษะการทำงานเป็นทีมให้กับนักเรียนครูและบุคลากร
4. นักเรียน ครู บุคลากรและชุมชนเกิดความพึงพอใจในการใช้บริการ

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในโรงเรียนร้อยละ 95 มีความพึงพอใจอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
2. ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคารเรียนร้อยละ 95 มีความสะอาด มั่นคง และปลอดภัย มีสิ่งอำนวยความสะดวก พอเพียง อยู่ในสภาพใช้การได้ดี สภาพแวดล้อมร่มรื่นและมีแหล่งเรียนรู้สำหรับผู้เรียน
  เชิงคุณภาพ
    1.สถานศึกษาจัดบรรยากาศให้เหมาะแก่การจัดการศึกษาให้แก่นักเรียน จัดสถานที่ อาคารเรียน อาคารประกอบ และแหล่งเรียนรู้อื่นในสถานศึกษาได้เหมาะสมเป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงาม น่าอยู่ ปลอดภัยและเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ดี ทำให้เกิดความพึงพอใจแก่นักเรียน ครู ผู้ปกครอง และชุมชนที่มาใช้บริการโรงเรียน
2. ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคารเรียนมั่นคง สะอาดและปลอดภัย มีสิ่งอำนวยความสะดวก พอเพียง อยู่ในสภาพใช้การได้ดี สภาพแวดล้อมร่มรื่นและมีแหล่งเรียนรู้สำหรับผู้เรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95อยู่ในระดับดีเยี่ยม
3. ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่าย มีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 อยู่ในระดับดีเยี่ยม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2565          ถึงวันที่ : 30/9/2566

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมปรับปรุงพัฒนา ดูแลรักษาระบบน้ำอุปโภคและบริโภค
  ขั้นเตรียมการ 1.สำรวจความต้องการ (T1) 2.ประชุมคณะกรรมการ 3.เขียนโครงการ 4.จัดทำคำสั่งการดำเนินงาน (T2)
  ขั้นดำเนินการ 1.ซ่อมบำรุงรักษาน้ำดื่มน้ำใช้ (M1) 2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม (M2)
  ขั้นสรุป 1.ประเมินผล(V1) 2.รายงานผล(V2)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 70000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นายจีระศักดิ์ กลมวง
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมปรับปรุงพัฒนาประสิทธิภาพกานใช้งานระบบไฟฟ้า
  ขั้นเตรียมการ 1.สำรวจความต้องการ (T1) 2.ประชุมคณะกรรมการ 3.เขียนโครงการ 4.จัดทำคำสั่งการดำเนินงาน (T2)
  ขั้นดำเนินการ 1.ซ่อมบำรุงรักษาอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในโรงเรียน(M1) 2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม (M2
  ขั้นสรุป 1.ประเมินผล(V1) 2.รายงานผล(V2)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 100000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นายสิทธา ทับปิ่นทอง
    กิจกรรมที่ 3    กิจกรรมปรับปรุงพัฒนาประสิทธิภาพในการใช้งานอาคารเรียนอาคารประกอบ
  ขั้นเตรียมการ 1.สำรวจความต้องการ (T1) 2.ประชุมคณะกรรมการ 3.เขียนโครงการ 4.จัดทำคำสั่งการดำเนินงาน (T2)
  ขั้นดำเนินการ 1.ซ่อมบำรุงรักษาอาคารเรียนอาคารประกอบ 1.1ได้ดำเนินการปรับปรุงฐานการเรียนรู้เพียงพอตามคำสอน ได้ดำเนินการตัดแต่งกิ่งมะนาว ตัดหญ้าและดูแลความเรียบร้อยโดยรอบ(M1) 1.2 ไ้ด้ดำเนินการปรับปรุงฐานการเรียนรู้นำพาความยั่งยืน ได้ดำเนินการทาสีใหม่ และซ่อมแซมระบบไฟฟ้าเพื่อเพิ่มแสงสว่างในการทำงาน(M1) 1.3 ไ้ด้ดำเนินการปรับปรุงฐานการเรียนรู้พื้นฐานคุณธรรม ได้ดำเนินการปรับปรุงซ่อมแซมห้องใหม่ และซ่อมแซมระบบไฟฟ้าเพื่อเพิ่มแสงสว่างในการทำงาน(M1) 2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม (M2
  ขั้นสรุป 1.ประเมินผล(V1) 2.รายงานผล(V2)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 440000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นายจีระศักดิ์ กลมวง
    กิจกรรมที่ 4    กิจกรรมปรับปรุงพัฒนา เพิ่มประสิทธิภาพในการดูแลรักษาความปลอดภัยในสถานศึกษา
  ขั้นเตรียมการ 1.สำรวจความต้องการ (T1) 2.ประชุมคณะกรรมการ 3.เขียนโครงการ 4.จัดทำคำสั่งการดำเนินงาน (T2)
  ขั้นดำเนินการ 1.ดำเนินการจัดซื้อ/จ้างเหมาในการดำเนินการ (M1) 2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม (M2)
  ขั้นสรุป 1.ประเมินผล(V1) 2.รายงานผล(V2)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 70000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นายสิทธา ทับปิ่นทอง
    กิจกรรมที่ 5    กิจกรรมซ่อมบำรุงรักษาเครื่องปรับอากาศ
  ขั้นเตรียมการ 1.สำรวจความต้องการ (T1) 2.ประชุมคณะกรรมการ 3.เขียนโครงการ 4.จัดทำคำสั่งการดำเนินงาน (T2)
  ขั้นดำเนินการ 1.ดำเนินการซ่อมบำรุงรักษาเครื่องปรับอากาศ(M1) 2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม (M2)
  ขั้นสรุป 1.ประเมินผล(V1) 2.รายงานผล(V2)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 371000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นายวิภู พรหมรักษ์
    กิจกรรมที่ 6    กิจกรรมดูแลรักษาความสะอาด และสภาพแวดล้อมในสถานศึกษา
  ขั้นเตรียมการ 1.สำรวจความต้องการ (T1) 2.ประชุมคณะกรรมการ 3.เขียนโครงการ 4.จัดทำคำสั่งการดำเนินงาน (T2)
  ขั้นดำเนินการ 1.จัดซื้ออุปกรณ์ทำความสะอาดพัฒนาเขตรับผิดชอบ(M1) 2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม (M2)
  ขั้นสรุป 1.ประเมินผล(V1) 2.รายงานผล(V2)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 130000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นายสุรเชษฎ์ ธนะรัตน์
    กิจกรรมที่ 7    ปรับปรุง พัฒนา แหล่งเรียนรู้เพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพผู้เรียน
  ขั้นเตรียมการ 1.สำรวจความต้องการ (T1) 2.ประชุมคณะกรรมการ 3.เขียนโครงการ 4.จัดทำคำสั่งการดำเนินงาน (T2)
  ขั้นดำเนินการ 1.ดำเนินการปรับภูมิทัศน์จัดสวนหย่อมในโรงเรียนให้มีความสวยงาม (M1) 2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม (M2)
  ขั้นสรุป 1.ประเมินผล(V1) 2.รายงานผล(V2)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 120000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นายสุรเชษฎ์ ธนะรัตน์
    กิจกรรมที่ 8    กิจกรรมบำรุงรักษาห้องน้ำห้องส้วม
  ขั้นเตรียมการ 1.สำรวจความต้องการ (T1) 2.ประชุมคณะกรรมการ 3.เขียนโครงการ 4.จัดทำคำสั่งการดำเนินงาน (T2)
  ขั้นดำเนินการ 1.จัดซื้ออุปกรณ์ทำความสะอาด (M1) 2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม (M2)
  ขั้นสรุป 1.ประเมินผล(V1) 2.รายงานผล(V2)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 167500 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นายสุรเชษฎ์ ธนะรัตน์
    กิจกรรมที่ 9    กิจกรรมซ่อมบำรุงโต๊ะเก้าอีัครู-นักเรียน
  ขั้นเตรียมการ 1.สำรวจความต้องการ (T1) 2.ประชุมคณะกรรมการ 3.เขียนโครงการ 4.จัดทำคำสั่งการดำเนินงาน (T2)
  ขั้นดำเนินการ 1.ซ่อมบำรุงโต๊ะเก้าอี้ครู-นักเรียน(M1) 2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม (M2)
  ขั้นสรุป 1.ประเมินผล(V1) 2.รายงานผล(V2)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 14000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นายจีระศักดิ์ กลมวง

   รวม 9 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 1,482,500.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 1,482,500.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1. โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม 2. ผู้บริหาร คณะครู บุคลากร และนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม 3. คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้แทนชุมชนและผู้ปกครอง
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
สถานศึกษาจัดบรรยากาศเหมาะแก่การจัดการศึกษาให้แก่นักเรียน จัดสถานที่ อาคารเรียน อาคารประกอบ และแหล่งเรียนรู้อื่นในสถานศึกษาได้เหมาะสม สะอาด สวยงาม แข็งแรง และปลอดภัย ทำให้เกิดความพึงพอใจแก่นักเรียน ครู ผู้ปกครอง และชุมชนที่มาใช้บริการโรงเรียน
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 4-01-11
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2566
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานทั่วไป
กลุ่มสาระ/งาน งานอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม
ชื่อโครงการ การศึกษาดูงานเพื่อพัฒนากระบวนการทำงานของนักการภารโรง/แม่บ้าน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 2. ผลิต พัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 1. การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ข้อที่ 5. การพัฒนาการศึกษาเพื่อความมั่นคง
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 4. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายสุรเชษฎ์ ธนะรัตน์

1. หลักการและเหตุผล

           พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 มาตรา 27(3) กล่าว ไว้ว่าให้ผู้บริหารสถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง มาตรา 81 ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่ส่งเสริมสนับสนุนผู้ อยู่ใต้บังคับบัญชา โดยการให้ไปศึกษาฝึกอบรมดู งานเพื่อเพิ่มพูนสมรรถภาพการท างานของผู้ปฏิบัติงานแต่ละคนทั้งในด้านความคิด การท างานให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล การไปศึกษาดูงานสถานศึกษาหรือหน่วยงานอื่น สามารถน าแบบอย่างที่ดีและเหมาะสม มา ประยุกต์และพัฒนาสถานศึกษาหรือการเรียนการสอน


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับเวลาที่ใช้ดำเนินกิจกรรม ตั้งแต่เตรียมการจัดงานและสรุปประเมินผล
- พอประมาณกับวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆที่ต้องใช้ในการจัดโครงการ/กิจกรรม
- พอประมาณกับสถานที่จัดโครงการ/กิจกรรม
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่พัฒนาสภาพแวดล้อม สื่อ เทคโนโลยี
- มีการวางแผนการดำเนินงานและเตรียมการจัดกิจกรรมอย่างดี
- มีการตั้งคณะกรรมการดำเนินงานรับผิดชอบด้านต่าง ๆ ให้ชัดเจน
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- การประหยัด ใช้จ่ายงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์อย่างคุ้มค่า
- ความรู้ด้านการผลิตสื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม - ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม
- อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้ไปศึกษาดูงานในสถานศึกษาและหน่วยงานอื่น
2.เพื่อให้ครูและบุคลากรทางศึกษานำสิ่งที่ได้รับจากการศึกษาดูงานมาปรับปรุงพัฒนาตนเองและหน่วยงาน

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1.ครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 25 คน ไปศึกษาดูงานนอกสถานที่
  เชิงคุณภาพ
    1.ครูและบุคลากรทางการศึกษาน าผลที่ได้จากการอบรมสัมมนาศึกษาดูงานมาพัฒนาตนเอง และหน่วยงานได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2565          ถึงวันที่ : 30/9/2566

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การศึกษาดูงานเพื่อพัฒนากระบวนการทำงานของนักการภารโรง/แม่บ้าน
  ขั้นเตรียมการ 1.สำรวจความต้องการ (T1) 2.ประชุมคณะกรรมการ 3.เขียนโครงการ 4.จัดทำคำสั่งการดำเนินงาน (T2)
  ขั้นดำเนินการ 1. ศึกษา และสำรวจสถานที่ ที่จะไปศึกษา(M1) 2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม (M2)
  ขั้นสรุป 1.ประเมินผล(V1) 2.รายงานผล(V2)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นายสุรเชษฎ์ ธนะรัตน์

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1. โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม 2. ผู้บริหาร คณะครู บุคลากร และนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาในวิชาชีพตามมาตรฐานก าหนด น าผลจากการไปศึกษาดู งานมาพัฒนาตนเองและหน่วยงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 4-07-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2566
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานทั่วไป
กลุ่มสาระ/งาน งานส่งเสริมสัมพันธ์ชุมชน
ชื่อโครงการ งานส่งเสริมสัมพันธ์ชุมชน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 4. ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 1. การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ข้อที่ 4. การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 2. ความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 2. ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
ข้อที่ 3. การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
ข้อที่ 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
ข้อที่ 2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรูที่เอื้อต่อการเรียนรู้
ข้อที่ 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
ข้อที่ 4. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
ข้อที่ 3. มีงานทำ-มีอาชีพ
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 3. ล้ำหน้าทางความคิด
ข้อที่ 5. ร่วมรับผิดชอบสังคมโลก
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายเคบอย สินสุพรรณ์

1. หลักการและเหตุผล

           ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2552 หมวดที่ 4 มาตรา 29 ให้สถานศึกษาร่วม กับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น รัฐบาลและเอกชนสถาบันต่างๆ ส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชนโดยจัดกระบวนการ เรียน รู้และกิจกรรมต่างๆร่วมกับ ชุมชนเพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการสืบสานงานวัฒนธรรมชุมชนให้สอดคล้องกับสภาพความเป็น จริงและ ความต้องการ ของชุมชน รวมทั้งวิธี การสนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การพัฒนาระหว่างชุมชนกับ สถานศึกษา ด้วยหลักการและเหตุผลต่างๆที่กล่าว มา โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเล็งเห็นความสำคัญของการร่วมกัน อนุรักษ์วัฒนธรรมและ ประเพณีที่ดีงามของไทยจึงได้มีการส่งเสริม สนับสนุนให้ นักเรียน บุคลากรผู้ปกครองและชุมชน หน่วยงานต่างๆ ได้มีส่วนร่วม ในการเข้าร่วมโครงการงานส่งเสริมความสัมพันธ์ชุมชน พร้อมกิจกรรมเกี่ยว กับประเพณีต่างๆ ของไทย วันสำคัญของชาติ เพื่อร่วมกันอนุรักษ์วัฒนธรรมของไทย และกิจกรรมที่สืบสาน ขนบธรรมเนียมอันดีงาม รักษาไว้ ซึ่ง เอกลักษณ์ของไทยเคารพ ในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์เห็นคุณค่าความเป็นไทย เพื่อ เป็นการสร้างความ สัมพันธ์อันดีระหว่างสถาน ศึกษา นักเรียน บุคลากร ผู้ปกครองและชุมชนให้มีส่วนร่วมกิจกรรมที่ทางสถานศึกษาจัด ขึ้น


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับเวลาที่ใช้ดำเนินกิจกรรม ตั้งแต่เตรียมการจัดงานและสรุปประเมินผล
- พอประมาณกับกำลังและความสามารถของครู นักเรียนที่จะช่วยกันดำเนินงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
- พอประมาณกับวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆที่ต้องใช้ในการจัดโครงการ/กิจกรรม
- พอประมาณกับสถานที่จัดโครงการ/กิจกรรม
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ฝึกฝนให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีจิตสาธารณะ
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะในการศึกษาหาความรู้ด้วยตัวเอง
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและชุมชน
- มีการวางแผนการดำเนินงานและเตรียมการจัดกิจกรรมอย่างดี
- มีการตั้งคณะกรรมการดำเนินงานรับผิดชอบด้านต่าง ๆ ให้ชัดเจน
- มีการประชุม ปรึกษาหารืออย่างสม่ำเสมอ
- มีการประสานงานกับกลุ่มเป้าหมาย ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง
- มีการติดตามประเมิน และสรุปโครงการ/กิจกรรม
- มีการใช้ข้อมูลงานลักษณะนี้มาวางแผนการจัดการอย่างต่อเนื่อง
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- การประหยัด ใช้จ่ายงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์อย่างคุ้มค่า
- ความขยัน อดทน
- ความมีสติปัญญา รู้ผิดรู้ชอบ ตัดสินใจกระทำการใด ๆ บนเหตุผล
- ความรู้ด้านการออกแบบการเรียนการสอน
- ความรู้ด้านการบริหารจัดการ การศึกษา

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - นักเรียนอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
- นักเรียนได้นำความรู้จากการทำกิจกรรมไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
- นักเรียนมีความสามัคคี ปรองดอง
- คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม เสียสละเพื่อส่วนรวม
- จิตอาสา บำเพ็ญสาธารณประโยชน์
- ปฏิบัติตามกฎหมาย
ด้านเศรษฐกิจ - รู้จักใช้วัสดุ อุปกรณ์ อย่างประหยัดเห็นคุณค่าของสรรพสิ่งไม่ฟุ่มเฟือย
- ประยุกต์ใช้วัสดุอุปกรณ์ในท้องถิ่น
ด้านวัฒนธรรม - มีคุณธรรม มีความรัก เมตตาต่อคนอื่น และสรรพสิ่งต่าง ๆ
- ไม่ทำลายชีวิตผู้อื่น ด้วยความคึกคะนอง ตระหนักถึงหลักชีวิต จริยธรรม
- อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
- กตัญญู รู้คุณ
- รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
- ซื่อสัตย์สุทจริต
- ทำนุบำรุงศาสนา
ด้านสิ่งแวดล้อม - ทำนุบำรุงศาสนา
- ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม
- ลดภาวะโลกร้อน
- อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1.เพื่อสร้างสัมพันธ์อันดีระหว่างสถานศึกษา นักเรียน บุคลากร ผู้ปกครองและชุมชนทั้งภาครัฐและเอกชน
2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนในเรื่องมารยาทที่ดีงามของไทยรวมทั้งขนบธรรมเนียมประเพณีที่สำคัญต่างๆให้คงอยู่เรื่อยไป
3. เพื่อให้สถานศึกษา บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชนเห็นคุณค่าของความเป็นไทยเพื่อเข้าร่วมอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมเนียมประเพณีและปฎิบัติสืบทอดต่อไป
4. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุสให้นักเรียน บุคลากร ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงานต่างๆเข้ามามีส่วนร่วมโครงการและกิจกรรมเกี่ยวกับประเพณีต่างๆ รวมทั้งวันสำคัญของ

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. สถานศึกษาให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมทำกิจกรรมวันสำคัญต่างๆ อนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของไทยร่วมกับชุมชน ร้อยละ 80 2. สถานศึกษาส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียน บุคลากร ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงานต่างๆ เข้ามีส่วนร่วมโครงการและกิจกรรมเกี่ยวกับประเพณีต่างๆ รวมทั้งวันสำคัญของไทย ร้อยละ 80 3. เดินรณรงค์เผยแพร่ความรู้สู่ชุมชนภาคเรียนละ 1 ครั้ง
  เชิงคุณภาพ
    1. ผู้ปกครองและชุมชนมีความเชื่อมั่นและศรัทธาต่อโรงเรียนให้ความไว้วางใจร่วมทั้งให้ความร่วมมือ ส่งเสริมและสนับสนุนในการจัดกิจกรรมของโรงเรียนเป็นอย่างดี

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2565          ถึงวันที่ : 30/9/2566

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    มวลชนสัมพันธ์
  ขั้นเตรียมการ ประชุมและวางแผนผู้ที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นดำเนินการ จัดกิจกรรมตามวันสำคัญ
  ขั้นสรุป ประเมินสรุปกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ - โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม - ผู้บริหาร คณะครู และนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม - คณะกรรมการสถานศึกษา ผ้แทนชุมฃน และผู้ปกครอง
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นายเคบอย
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมสร้างจิตอาสาเพื่อพัฒนาชุมชน
  ขั้นเตรียมการ ประชุมและวางแผน
  ขั้นดำเนินการ 1. ขอรับบริจาค 2. ติดต่อสถานที่ 3. ออกค่ายอาสาพัฒนา
  ขั้นสรุป ประเมินสรุปกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นายเคบอย
    กิจกรรมที่ 3    กิจกรรมศึกษาแหล่งเรียนรู้ในชุมชน
  ขั้นเตรียมการ ประชุมและวางแผน
  ขั้นดำเนินการ 1. ติดต่อสถานที่ 2. รับสมัครสมาชิก 3. ศึกษาแหล่งเรียนรู้
  ขั้นสรุป ประเมินสรุปกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นายเคบอย

   รวม 3 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม - ผู้บริหาร คณะครู และนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม - คณะกรรมการสถานศึกษา ผ้แทนชุมฃน และผู้ปกครอง
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างสถานศึกษา นักเรียนร บุคลากร ผู้ปกครองและชุมชนทั้งภาครัฐและเอกชน 2. ส่งเสริมและสนับสนุนในเรื่องมารยาทที่ดีของไทยรวมทั้งขนบธรรมเนียมประเพณีที่สำคัญต่างๆ ให้คงอยู่เรื่อยไป 3. ส่งเสริมสถานศึกษา บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชนเห็นคุณค่าของความเป็นไทยเพื่อเข้าร่วมอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีและปฏิบัติสืบทอดต่อไป 4. ส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียน บุคลากร ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงานต่างๆเข้ามามีส่วนร่วมโครงการและกิจกรรมเกี่ยวกับประเพณีต่างๆรวมทั้งวันสำคัญของไทย
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 4-04-5
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2566
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานทั่วไป
กลุ่มสาระ/งาน งานโสตทัศนูปกรณ์
ชื่อโครงการ ปรับปรุงพัฒนาบำรุงรักษาโสตทัศนูปกรณ์ และเทคโนโลยีสำหรับโสตทัศนูปกรณ์
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 5. ส่งเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา
ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 2. การสร้างความสามารถในการแข่งขัน
ข้อที่ 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 3. มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
ข้อที่ 4. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
ข้อที่ 6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและจัดการเรียนรู้
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรูที่เอื้อต่อการเรียนรู้
ข้อที่ 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 3. ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูสร้างและพัฒนางานวิจัย และนวัตกรรม ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
ข้อที่ 2. ส่งเสริมคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
ข้อที่ 3. มีงานทำ-มีอาชีพ
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 1. เป็นเลิศวิชาการ
ข้อที่ 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายสิทธา ทับปิ่นทอง

1. หลักการและเหตุผล

           ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้มีส่วนช่วยให้การศึกษาพัฒนาได้อย่างรวดเร็ว โดย เฉพาะเทคโนโลยีการสื่อสารแบบ สื่อ ผสม (Multimedia) มีส่วนช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้สิ่งต่างๆ ได้อย่างดีขึ้น เนื่องจากสามารถ เข้าถึงได้จาก หลายสถานที่ สะดวกสบาย และ สามารถทำซ้ำได้หลายครั้ง เทคโนโลยีการผลิตสื่อวิดีทัศน์แบบสื่อผสม เป็นสื่อที่สามารถเข้าถึงและถ่ายทอดเรื่องราวทั้ง เนื้อหา สาระ ความรู้ ได้เป็นอย่างดีดังนั้นจึง ไม่เป็นที่น่าแปลกใจว่าในปัจจุบันเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยมในเรื่องการเผยแพร่และเป็นแหล่ง เรียนรู้ ผู้ เรียนสามารถเข้าถึงได้คือเว็บไซต์ ยูทูป ( www.youtube.com ) และเฟสบุค www.facebook.com ได้จากหลายที่ การจัด โครงการ กิจกรรมนี้เพื่อดำเนินการ จัดทำสื่อ เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรงเรียน กิจกรรมที่ดีงามของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ท้องถิ่นใน อำเภอ ท่ามะกา ตลอดจนถึงในจังหวัด กาญจนบุรี ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการผลิตและอยู่ในกระบวนการผลิต เพื่อให้เกิดการสร้างอาชีพ และ รายได้ในอนาคต
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับเวลาที่ใช้ดำเนินกิจกรรม ตั้งแต่เตรียมการจัดงานและสรุปประเมินผล
- พอประมาณกับกำลังและความสามารถของครู นักเรียนที่จะช่วยกันดำเนินงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
- พอประมาณกับวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆที่ต้องใช้ในการจัดโครงการ/กิจกรรม
- พอประมาณกับสถานที่จัดโครงการ/กิจกรรม
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะในการศึกษาหาความรู้ด้วยตัวเอง
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยี
- มีการวางแผนการดำเนินงานและเตรียมการจัดกิจกรรมอย่างดี
- มีการตั้งคณะกรรมการดำเนินงานรับผิดชอบด้านต่าง ๆ ให้ชัดเจน
- มีการประชุม ปรึกษาหารืออย่างสม่ำเสมอ
- มีการประสานงานกับกลุ่มเป้าหมาย ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง
- มีการติดตามประเมิน และสรุปโครงการ/กิจกรรม
- มีการใช้ข้อมูลงานลักษณะนี้มาวางแผนการจัดการอย่างต่อเนื่อง
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- การประหยัด ใช้จ่ายงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์อย่างคุ้มค่า
- ความขยัน อดทน
- ความมีสติปัญญา รู้ผิดรู้ชอบ ตัดสินใจกระทำการใด ๆ บนเหตุผล
- ความรู้ด้านการผลิตสื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้
- ความรู้ด้านการบริหารจัดการ การศึกษา

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - นักเรียนอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
- นักเรียนได้นำความรู้จากการทำกิจกรรมไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
- นักเรียนมีความสามัคคี ปรองดอง
- คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม เสียสละเพื่อส่วนรวม
- จิตอาสา บำเพ็ญสาธารณประโยชน์
- ปฏิบัติตามกฎหมาย
ด้านเศรษฐกิจ - รู้จักใช้วัสดุ อุปกรณ์ อย่างประหยัดเห็นคุณค่าของสรรพสิ่งไม่ฟุ่มเฟือย
- ประยุกต์ใช้วัสดุอุปกรณ์ในท้องถิ่น
- มีรายได้ระหว่างเรียน
ด้านวัฒนธรรม - มีคุณธรรม มีความรัก เมตตาต่อคนอื่น และสรรพสิ่งต่าง ๆ
- ไม่ทำลายชีวิตผู้อื่น ด้วยความคึกคะนอง ตระหนักถึงหลักชีวิต จริยธรรม
- อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
- กตัญญู รู้คุณ
- รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
- ซื่อสัตย์สุทจริต
- ทำนุบำรุงศาสนา
ด้านสิ่งแวดล้อม - ทำนุบำรุงศาสนา
- ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม
- ลดภาวะโลกร้อน
- อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. จัดทำสื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับท้องถิ่นอำเภอท่ามะกา 2. จัดทำสื่อเผยแพร่คุณงามความดีชื่อเสียงเกียรติยศของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม 3. เป็นสื่อ และแหล่งเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ในการประยุกต์ใช้แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในท้องถิ่น 4. จัดทำสื่อให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรในโรงเรียน ชุมชน ประชาชนทั่วไป 5. บริการอำนวยความสะดวกในการบริการด้านภาพถ่าย วิดีทัศน์ ภาพถ่ายคำสั่งโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ในระบบที่สามารถเข้าถึงได้ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ทุกที่ทุกเวลา รวมถึงฝึกความมีจิตอาสารและจิตสาธารณะ

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1.ให้บริการห้องประชุมร้อยละ 95 2. ร่วมกิจกรรมบันทึกภาพและวิดีทัศน์กิจกรรมงานโรงเรียนร้อยละ 95 3. ร่วมช่วยเหลืองานบุคลากรภายในโรงเรียนร้อยละ 80
  เชิงคุณภาพ
    1.มีความพึงพอใจในการใช้บริการไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2565          ถึงวันที่ : 30/9/2566

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    ปรับปรุงพัฒนาสื่อการเรียนรู้ในห้องเรียน
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) - ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน - เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) - เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ 1.จัดทำการผลิตสื่อ/เผยแพร่สื่อ/จัดการสื่อ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (M1) 2.ประสนงานในการจัดทำการผลิตสื่อ/เผยแพร่สื่อ/จัดการสื่อ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (M2)
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) - สรุปผลการดำเนินการ ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) - รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 50000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นายพรพีระ สังข์กระแสร์
    กิจกรรมที่ 2    ปรับปรุงพัฒนาบำรุงรักษาโสตทัศนูปกรณ์ และเทคโนโลยีสำหรับโสตทัศนูปกรณ์
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) - ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน - เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) - เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ 1.จัดทำการผลิตสื่อ/เผยแพร่สื่อ/จัดการสื่อ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (M1) 2.ประสนงานในการจัดทำการผลิตสื่อ/เผยแพร่สื่อ/จัดการสื่อ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (M2)
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) - สรุปผลการดำเนินการ ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) - รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 109580 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นายสิทธา ทับปิ่นทอง
    กิจกรรมที่ 3    ติดตั้งจอฉายภาพ LED เพื่อสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมการเรียนรู้สู่ผู้เรียน บุคลากร โรงเรียน และชุมชน
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) - ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน - เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) - เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) - สำรวจความเสียหายของอุปกรณ์ และความจำเป็นที่จะเพิ่มจุดขยายเครือข่ายอินเตอร์เน็ต - จัดซื้ออุปกรณ์มาปรับปรุงและเพิ่มเติม จัดจ้างในส่วนที่เกินความสามารถในการทำ ขั้นตอนการประสานงาน(M2) - ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) - สรุปผลการดำเนินการ ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) - รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 400000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นายสิทธา ทับปิ่นทอง

   รวม 3 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 559,580.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 559,580.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
งานธุรการ -งานวิชาการ -งานประชาสัมพันธ์ -กลุ่มสาระการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระ -งานอาคารสถานที่
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. มีสื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับท้องถิ่นอำเภอท่ามะกา 2. มีสื่อที่เผยแพร่คุณงามความดีชื่อเสียงเกียรติยศของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม เพื่อเก็บเป็นประวัติศาสตร์ของโรงเรียน 3. มีช่องทางสื่อให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรในโรงเรียน ชุมชน ประชาชนทั่วไป 4. เกิดการบริการอำนวยความสะดวกในการบริการด้านภาพถ่าย วิดีทัศน์ ภาพถ่ายคำสั่งโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ในระบบที่สามารถเข้าถึงได้ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ทุกที่ทุกเวลา
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 4-05-5
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2566
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานทั่วไป
กลุ่มสาระ/งาน งานส่งเสริมอนามัย
ชื่อโครงการ งานส่งเสริมอนามัย
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ -
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 1. การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 2. ส่งเสริมคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางกิติยา พันธ์ครุฑ

1. หลักการและเหตุผล

           ในสังคมปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในทุก ๆ ด้าน ทำให้ทุกคนต้องเร่งรีบทำงานแข่งกับเวลา อันเป็นผลกระทบกับ สุขภาพ เนื่องจากขาดการเอาใจใส่ดูแลสุขภาพและขาดความรู้เกี่ยวกับวิธีการดูแลสุขภาพให้แข็งแรง ปลอดจากโรคติดต่อ โรคไม่ ติดต่อ อุบัติภัย สารเสพติด ตลอดจนโรคเอดส์ โดยเฉพาะในเยาวชนที่จะเป็นผู้ใหญ่ ฉะนั้นทางสำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐานจึง มีนโยบายที่จะพัฒนาสุขภาพอนามัยของเยาวชนให้มีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้น ประสบความ สำเร็จในด้านการศึกษา ตลอดจนรวมถึง บุคลากรภายในโรงเรียนและชุมชนให้มีมาตรฐานของสุขภาพที่ดีสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพจึงจัดให้มีกิจกรรม พัฒนาสุขภาพอนามัยขึ้นในโรงเรียน

กรณีต้องการย่อหน้าที่ 2


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับเวลาที่ใช้ดำเนินกิจกรรม ตั้งแต่เตรียมการจัดงานและสรุปประเมินผล
- พอประมาณกับวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆที่ต้องใช้ในการจัดโครงการ/กิจกรรม
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ
- มีการวางแผนการดำเนินงานและเตรียมการจัดกิจกรรมอย่างดี
- มีการติดตามประเมิน และสรุปโครงการ/กิจกรรม
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อเผยแพร่ความรู้ให้กับนักเรียนและบุคลากร ทราบเกี่ยวกับโรคติดต่อ-ไม่ติดต่อ การปฐมพยาบาลเบื้องต้นได้
2. เพื่อให้นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพและมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์
3. เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรทุกคนได้รับการบริการด้านปฐมพยาบาลและรักษาพยาบาลเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง
4. เพื่อให้มีวัสดุอุปกรณ์ที่มีคุณภาพและเหมาะสมในการใช้งาน
5. เพื่อให้บุคคลากรของโรงเรียนได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนและบุคลากรร้อยละ ได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อ-ไม่ติดต่อ การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและมีสุขนิสัยที่ดีในการดูแลสุขภาพ
2. ร้อยละ 97 ของนักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพและมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์
3. ร้อยละ 100 ของนักเรียนและบุคลากรได้รับการบริการด้านปฐมพยาบาลและรักษาพยาบาลเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง
4. งานพยาบาลมีวัสดุอุปกรณ์มีคุณภาพและเหมาะสมในการใช้งานร้อยละ 100
5. ร้อยละ 90 ของบุคลากรของโรงเรียนได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจสามารถเผยแพร่ความรู้ให้กับชุมชนทราบเกี่ยวกับโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้มากขึ้น
2. นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพและมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ รู้จักรักษาสุขภาพของตนเองให้แข็งแรง และปลอดจากโรคภัยต่างๆ มากยิ่งขึ้น
3. นักเรียนและบุคลากรได้รับการบริการด้านปฐมพยาบาลและรักษาพยาบาลเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง
4. งานพยาบาลมีวัสดุอุปกรณ์มีคุณภาพและเหมาะสมในการใช้งานส่งผลให้การดำเนินงาน มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
5. บุคลากรของโรงเรียนได้รับการตรวจสุขภาพประจำปีทำให้ครูมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีและสามารถปฏิบัติการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2565          ถึงวันที่ : 30/9/2566

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมเผยแพร่ความรู้
  ขั้นเตรียมการ T1-ประชุมนักเรียนและคณะทำงาน เพื่อวางแผนการดำเนินงาน
T2-จัดทำคำสั่งคณะทำงาน กำหนดหัวข้อในการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพอนามัย
  ขั้นดำเนินการ M1-คณะทำงานและนักเรียนจัดทำกิจกรรมเสียงตามสายทุกเช้าวันอังคาร
M2-มีการประสานงานร่วมกันระหว่างคณะทำงานและฝ่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  ขั้นสรุป V1-ประเมินผลการดำเนินโครงการ
V2-บันทึกข้อความรายงานผลการดำเนินโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ 1.ครูกิติยา พันธ์ครุฑ
2.ครูสมพร ภูมเรศ
3.ครูสุพรรณี ยิ่งทวีศักดิ์
4.คณะกรรมการงานพยาบาล
    กิจกรรมที่ 2    ให้บริการด้านสุขภาพอนามัยและปฐมพยาบาลเบื้องต้น
  ขั้นเตรียมการ T1-ประชุมคณะทำงาน วางแผนการดำเนินงาน
T2-ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง และออกคำสั่งคณะกรรมการการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ M1-คณะทำงานสำรวจชนิด และจำนวนของยาและเวชภัณฑ์ที่จำเป็นต่อการใช้งาน
M2-ประสานงานร่วมกันระหว่างคณะทำงานและฝ่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การดำเนินการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ และให้บริการแก่นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
  ขั้นสรุป V1-ประเมินผลการดำเนินโครงการ
V2-บันทึกข้อความรายงานผลการดำเนินโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 34100 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ 1.ครูกิติยา พันธ์ครุฑ
2.คณะกรรมการงานพยาบาล
    กิจกรรมที่ 3    กิจกรรมจัดอบรมปฐมพยาบาลเบื้องต้น
  ขั้นเตรียมการ T1-ประชุมวางแผนการกิจกรรมร่วมกับงานแนะแนว งานสภานักเรียน
T2-จัดทำคำสั่งและแต่งตั้งผู้รับผิดชอบกิจกรรม
  ขั้นดำเนินการ M1-คณะทำงานดำเนินการจัดอบรมนักเรียนร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
M2-ประสานงานร่วมกันระหว่างคณะทำงานและวิทยากร เพื่อให้การจัดกิจกรรมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  ขั้นสรุป V1-ประเมินผลการดำเนินโครงการ
V2-บันทึกข้อความรายงานผลการดำเนินโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 18050 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ 1.ครูกิติยา พันธ์ครุฑ
2.คณะกรรมการงานพยาบาล
    กิจกรรมที่ 4    กิจกรรมบริจาคโลหิต
  ขั้นเตรียมการ T1-ประชุมคณะทำงาน เพื่อประสานงานกับสภากาชาดไทย ในการกำหนดวัน เวลาและสถานที่การรับบริจาคโลหิต (จัดกิจกรรมภาคเรียนละ 1 ครั้ง) **ไม่สามารถกำหนดวันที่แน่นอนได้ เป็นไปตามแผนการออกหน่วยของสภากาชาดไทย**
T2-จัดทำคำสั่งคณะทำงานเพื่อดำเนินการจัดกิจกรรมบริจาคโลหิต
  ขั้นดำเนินการ M1-คณะทำงานประชาสัมพันธ์และดำเนินการรับบริจาคโลหิตตามกำหนดวัน เวลาและสถานที่การรับบริจาคโลหิต
M2-ประสานงานร่วมกันระหว่างคณะทำงานและสภากาชาดไทย เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  ขั้นสรุป V1-ประเมินผลการดำเนินโครงการ
V2-บันทึกข้อความรายงานผลการดำเนินโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 1000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ 1.ครูกิติยา พันธ์ครุฑ
2.คณะกรรมการงานพยาบาล
    กิจกรรมที่ 5    กิจกรรมตรวจสุขภาพนักเรียน
  ขั้นเตรียมการ T1-ประชุมคณะทำงาน เพื่อประสานงานกับโรงพยาบาลและหน่วยงานเอกชน **ไม่สามารถกำหนดวันที่แน่นอนได้ เป็นไปตามปฏิทินปฏิบัติงานของโรงพยาบาล **
T2-จัดทำคำสั่งคณะทำงานเพื่อดำเนินการจัดกิจกรรมตรวจสุขภาพนักเรียน
  ขั้นดำเนินการ M1-คณะทำงานกำหนดรายการตรวจสุขภาพ ภาคเรียนละ 1 ครั้ง กำหนดวัน เวลาและสถานที่ที่ใช้ในการตรวจสุขภาพ ประชาสัมพันธ์ให้นักเรียนทราบเกี่ยวกับการตรวจสุขภาพด้วยตนเอง และนักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพ
M2-ประสานงานร่วมกันระหว่างคณะทำงาน โรงพยาบาลและหน่วยงานเอกชน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  ขั้นสรุป V1-ประเมินผลการดำเนินโครงการ
V2-บันทึกข้อความรายงานผลการดำเนินโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ 1.ครูกิติยา พันธ์ครุฑ
2.คณะกรรมการงานพยาบาล
    กิจกรรมที่ 6    กิจกรรมตรวจสุขภาพบุคลากรประจำปี
  ขั้นเตรียมการ T1-ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการและประสานงานกับโรงพยาบาล
T2-จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน
  ขั้นดำเนินการ M1-ดำเนินการกำหนดวัน เวลาในการตรวจสุขภาพ แจ้งบุคลากรภายในโรงเรียนทราบ ดำเนินการตามระเบียบของทางราชการ ให้บุคลากรของโรงเรียนได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี
M2-ประสานงานร่วมกันระหว่างคณะทำงานและโรงพยาบาล เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  ขั้นสรุป V1-ประเมินผลการดำเนินโครงการ
V2-บันทึกข้อความรายงานผลการดำเนินโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ 1.ครูกิติยา พันธ์ครุฑ
2.คณะกรรมการงานพยาบาล
    กิจกรรมที่ 7    กิจกรรมปรับปรุงวัสดุ-อุปกรณ์และครุภัณฑ์ ต่างๆของห้องพยาบาล
  ขั้นเตรียมการ T1-สำรวจวัสดุ-อุปกรณ์ต่างในห้องพยาบาลที่ชำรุดเสียหายและไม่พร้อมใช้งาน
T2-ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง และมอบหมายการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ M1-ดำเนินการจัดซื้อวัสดุ-อุปกรณ์ต่างๆของห้องพยาบาล
M2-ประสานงานกับฝ่ายพัสดุเพื่อจัดซื้อหรือฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  ขั้นสรุป V1-ประเมินผลการดำเนินโครงการ
V2-บันทึกข้อความรายงานผลการดำเนินโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 7520 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ห้องพยาบาล โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ 1.ครูกิติยา พันธ์ครุฑ
2.คณะกรรมการงานพยาบาล

   รวม 7 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 60,670.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 60,670.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1.โรงพยาบาลมะการักษ์
2.สภากาชาดจังหวัดราชบุรี/กาญจนบุรี
3.ผู้บริหาร คณะครูบุคลากร และนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
โครงการงานส่งเสริมอนามัย มีผลที่คาดว่าจะได้รับ ดังนี้ 1.นักเรียนและบุคลากรของโรงเรียนมีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดีและสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
2.โรงเรียนเป็นแหล่งที่ให้ความรู้และบริการชุมชนในด้านสุขภาพอนามัยและจัดกิจกรรมร่วมกัน
3.นักเรียนและบุคลากรโรงเรียนได้รับการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยในการป้องกันตนเองให้ปลอดจากโรคต่างๆ รวมไปจนถึง สารเสพติด เอดส์ และสามารถปฐมพยาบาลเบื้องต้นได้
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
1. การบริหารจัดการงบประมาณไม่เป็นไปตามงบประมาณ