รหัสโครงการ 3-06-1
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2566
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานบุคคล
กลุ่มสาระ/งาน งานเวรยาม
ชื่อโครงการ งานเวรยาม
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 1. การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวสุพรรณี ยิ่งทวีศักดิ์

1. หลักการและเหตุผล

          


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับกำลังและความสามารถของครู นักเรียนที่จะช่วยกันดำเนินงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่พัฒนาสภาพแวดล้อม สื่อ เทคโนโลยี
- มีการวางแผนการดำเนินงานและเตรียมการจัดกิจกรรมอย่างดี
- มีการตั้งคณะกรรมการดำเนินงานรับผิดชอบด้านต่าง ๆ ให้ชัดเจน
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- ความรู้ด้านการสรุปงาน ประเมินผลงาน

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - ปฏิบัติตามกฎหมาย
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม - ซื่อสัตย์สุทจริต
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. จัดเวรยามรักษาความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน
2. ครูและบุคลากรของโรงเรียนปฏิบัติเวรยามทุกคน

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนร้อยละ 100 ได้รับการดูแลความปลอดภัยอย่างดีมีคุณภาพ
2. ครูและบุคลากรของโรงเรียน ร้อยละ 100 ปฏิบัติหน้าที่เวรยามอย่างมีคุณภาพ
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนและบุคลากรทุกคนได้รับการดูแลความปลอดภัย
2. ครูและบุคลากรของโรงเรียนทุกคนปฏิบัติหน้าที่เวรยามตามที่ได้รับมอบหมาย

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2565          ถึงวันที่ : 30/9/2566

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    จัดเวรยามลงปฏิบัติหน้าที่
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- ประชุมคณะทำงาน
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเวรยาม
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
- ดำเนินงานตามคำสั่ง
ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวสุพรรณี ยิ่งทวีศักดิ์

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ฝ่ายบริหารงานบุคคล
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนและบุคลากรรวมทั้งสถานที่ราชการได้รับการดูแลด้านความปลอดภัยอย่างมีประสิทธิภาพ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ

 

 

รหัสโครงการ 3-05-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2566
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานบุคคล
กลุ่มสาระ/งาน งานส่งเสริมสร้างขวัญกำลังใจ
ชื่อโครงการ ยกย่องเชิดชูเกียรติข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ลักษณะโครงการ โครงการใหม่
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 2. ผลิต พัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 1. การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 4. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 3. ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูสร้างและพัฒนางานวิจัย และนวัตกรรม ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 2. ส่งเสริมคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวนันทิพร วงษ์ดาว

1. หลักการและเหตุผล

           การพัฒนาการศึกษาเพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่จำเป็นของนักเรียนในศตวรรษที่ 21 สิ่งสำคัญจำเป็นที่จะต้อง พัฒนาควบคู่กันไปได้แก่ การพัฒนาคุณภาพของครู "ครู” ซึ่งเป็นบุคลากรวิชาชีพทำหน้าที่หลักในการจัดการเรียนการสอน มีบทบาท หน้าที่สำคัญในกระบวนการจัดการศึกษาทุกระดับ เพื่อให้คนไทยได้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ สามารถดำรงตนอยู่ในสังคมร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ความสุข ให้เป็นครูที่มีสมรรถนะและมีศักยภาพตรงตามสายงานและพร้อมต่อการปฏิบัติหน้าที่อย่างสมบูรณ์ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จัดทำนโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนให้สอดคล้องกับนโยบาย มาตรฐานการ ศึกษา แผนการศึกษา แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน และความต้องการของท้องถิ่น ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาให้มี คุณภาพ เป็นไปตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามแผน ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ในด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งต้องพัฒนาครูและบุคลากร ทางการศึกษาให้สามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพทั้งระบบ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคนได้ พัฒนาตนเองตามความต้องการ และตรงตามศักยภาพในรูปแบบที่หลากหลาย และการเข้าถึงเทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อให้เท่าทันต่อโลกใน ยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง อีกทั้ง ตามนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ที่ให้ความสำคัญกับประเด็นคุณภาพและประสิทธิภาพใน ทุกมิติ ทั้งผู้เรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้บริหารทุกระดับ ตลอดจนสถานศึกษาทุกประเภท ได้ใช้เทคโนโลยีและดิจิทัลเป็น เครื่องมือในการพัฒนางานทั้งระบบ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาครูให้มีความชำนาญในการสอนในวิชาต่าง ๆ เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาใน ทุกมิติให้มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ ซึ่งมีความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภท ทุกตำแหน่งที่ เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา ให้เป็นผู้ที่มีสมรรถนะ (Competency) ซึ่งประกอบไปด้วยการเป็นผู้ที่มีความรู้ (Knowledge) มีความ เข้าใจ (Understanding) มีทักษะ (Skill) และมีทัศนคติที่ดี (Attitude) ต่อการปฏิบัติงาน ต่อวิชาชีพของตนเอง สามารถ บริหารจัดการด้านการศึกษา จัดการเรียนรู้ได้อย่างมืออาชีพมีความเหมาะสม มีคุณภาพและประสิทธิภาพ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ได้ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญในการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกตำแหน่งใน สังกัด ให้เป็นผู้ที่มีมีศักยภาพและมีสมรรถนะที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ และเป็นการเสริมสร้างขวัญและกำลัง ใจในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อไป
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับเวลาที่ใช้ดำเนินกิจกรรม ตั้งแต่เตรียมการจัดงานและสรุปประเมินผล
- พอประมาณกับวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆที่ต้องใช้ในการจัดโครงการ/กิจกรรม
- พอประมาณกับสถานที่จัดโครงการ/กิจกรรม
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ครูได้รับการอบรมพัฒนา
- มีการวางแผนการดำเนินงานและเตรียมการจัดกิจกรรมอย่างดี
- มีการตั้งคณะกรรมการดำเนินงานรับผิดชอบด้านต่าง ๆ ให้ชัดเจน
- มีการประชุม ปรึกษาหารืออย่างสม่ำเสมอ
- มีการติดตามประเมิน และสรุปโครงการ/กิจกรรม
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- ความขยัน อดทน
- ความมีสติปัญญา รู้ผิดรู้ชอบ ตัดสินใจกระทำการใด ๆ บนเหตุผล
- ความรู้ด้านการอบรมและพัฒนาบุคลากร
- ความรู้ด้านการสรุปงาน ประเมินผลงาน

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม เสียสละเพื่อส่วนรวม
- จิตอาสา บำเพ็ญสาธารณประโยชน์
- ปฏิบัติตามกฎหมาย
ด้านเศรษฐกิจ - รู้จักใช้วัสดุ อุปกรณ์ อย่างประหยัดเห็นคุณค่าของสรรพสิ่งไม่ฟุ่มเฟือย
ด้านวัฒนธรรม - อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
- รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
- ซื่อสัตย์สุทจริต
ด้านสิ่งแวดล้อม - ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้การดำเนินงานด้านการบริหารงานบุคคลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อส่งเสริมบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถ มีจิตสำนึกในการปฏิบัติงานเต็มตามศักยภาพ ยึดมั่นในระเบียบวินัย จรรยาบรรณอย่างมีมาตรฐาน 3. เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจแก่ครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ปฏิบัติงานได้ตามมาตรฐาน วิชาชีพให้ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติมีความมั่นคงในวิชาชีพ

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ร้อยละ 90 ได้รับการพัฒนาตนเอง พัฒนางาน พัฒนาจิตใจ มาตรฐานวิชาชีพครู มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ร้อยละ 90 สามารถปฏิบัติงานเต็มศักยภาพมีระเบียบวินัย จรรยาบรรณ อย่างมีมาตรฐานแห่งวิชาชีพ 3. ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ร้อยละ 90 มีขวัญและกำลังใจในการทำงาน
  เชิงคุณภาพ
    โรงเรียนมีประสิทธิภาพในการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของผู้เรียนเป็นสำคัญ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2565          ถึงวันที่ : 30/9/2566

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    ยกย่องเชิดชูเกียรติข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1) - ประชุมชี้แจงและวางแผนการทำงาน - จัดทำกิจกรรมเพื่อขออนุมัติจากผู้บริหารโรงเรียน ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2) - จัดทำคำสั่งการดำเนินกิจกรรม
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1) - จัดทำบันทึกขออนุญาตจัดกิจกรรม - จัดทำกำหนดการประชุม ขั้นตอนการประสานงาน (M2) - รายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม - ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล (V1) - สำรวจความคิดเห็นและความพึงพอใจ - สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2) - บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม - ข้อเสนอแนะจากผู้บริหาร / ผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวนันทิพร วงษ์ดาว

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. บุคลากรในโรงเรียนสามารถปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพตามมาตรฐานวิชาชีพและมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. บุคลากรในโรงเรียนได้รับการพัฒนาตนเองสามารถนำมาพัฒนาการเรียนการสอนเป็นที่ประจักษ์จากผลงานผู้เรียนและครู 3. บุคลากรในโรงเรียนได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นที่ประจักษ์ต่อชุมชน 4. บุคลากรในโรงเรียนมีขวัญและก าลังใจในการปฏิบัติงาน
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 3-03-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2566
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานบุคคล
กลุ่มสาระ/งาน งานพัฒนาบุคลากร
ชื่อโครงการ พัฒนาบุคลากร
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 2. ผลิต พัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 1. การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 4. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 3. ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูสร้างและพัฒนางานวิจัย และนวัตกรรม ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 2. ส่งเสริมคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
ผู้เสนอโครงการ/งาน ว่าที่ร้อยตรีหญิงทิพย์มาศ สำแดง

1. หลักการและเหตุผล

           ครูคือผู้สร้างอนาคตของชาติ เพราะการศึกษาเป็นเครื่องมือสำคัญของการพัฒนาคนให้มีความรู้และ ปัญญาดังนั้นครูจะ ต้อง เป็นทั้งนัก ปราชญ์ และผู้ทรงศีล เพราะสังคมได้ยกย่องให้ครูเป็นปูชนียบุคคล เป็นผู้ประเสริฐและประสาทความรู้ สร้าง ความ เป็นคนและอบรมสั่ง สอนเด็กให้เป็น เด็กที่ดีของสังคม ความจำเป็นที่จะต้องให้ครูเป็นทั้งนักปราชญ์ และผู้ทรงศีลดัง กล่าว แล้วชี้ให้เห็นว่า ความเป็นนัก ปราชญ์ของครูนั้น ครูจะต้อง มีความรู้ดีและถ่ายทอดดี สอนให้เด็กได้รับความรู้และสนุกมี ชีวิต ชีวา ส่วนความเป็นผู้ทรงศีลของครู ใน ฐานะ ที่ครูเป็นแม่แบบของชาติหรือ เป็นต้นแบบในพฤติกรรมทั้งปวง จะช่วยให้ครู เป็น คนดี วางตัวดี เป็นที่เคารพและเป็นที่น่าเชื่อฟัง ของลูกศิษย์ ในปีงบประมาณ 2564 งานพัฒนาบุคลากร ได้สนับสนุนฝ่าย บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้เข้าร่วม ประชุม/ อบรม/ สัมมนา กับ หน่วยงานภายนอก และศึกษาดูงาน แต่ครูต้อง ได้รับการพัฒนาด้านความรู้และคุณธรรมอย่างต่อเนื่อง โรงเรียน ท่ามะกาวิทยาคม ตระหนักและ เห็นความสำคัญของการ พัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรให้มีคุณภาพ จึงจัดกิจกรรม การ อบรม ประชุม สัมมนา ศึกษาดูงาน ด้านความรู้และ คุณธรรม จริยธรรม เพื่อนำความรู้ความสามารถไปพัฒนาศักยภาพ ของผู้เรียนให้เป็น เยาวชนที่ดี และเป็น บุคลากรที่พึงประสงค์ใน อนาคต โดย น้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพล อดุลยเดชมา เป็น แนวทางใน การ ดำเนินงาน
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับกำลังและความสามารถของครู นักเรียนที่จะช่วยกันดำเนินงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ครูได้รับการอบรมพัฒนา
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและชุมชน
- มีการวางแผนการดำเนินงานและเตรียมการจัดกิจกรรมอย่างดี
- มีการตั้งคณะกรรมการดำเนินงานรับผิดชอบด้านต่าง ๆ ให้ชัดเจน
- มีการประชุม ปรึกษาหารืออย่างสม่ำเสมอ
- มีการประสานงานกับกลุ่มเป้าหมาย ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง
- มีการติดตามประเมิน และสรุปโครงการ/กิจกรรม
- มีการใช้ข้อมูลงานลักษณะนี้มาวางแผนการจัดการอย่างต่อเนื่อง
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- การประหยัด ใช้จ่ายงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์อย่างคุ้มค่า
- ความขยัน อดทน
- ความมีสติปัญญา รู้ผิดรู้ชอบ ตัดสินใจกระทำการใด ๆ บนเหตุผล
- ความรู้ด้านการจัดการสอนของครู
- ความรู้ด้านการผลิตสื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้
- ความรู้ด้านการอบรมและพัฒนาบุคลากร

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม - มีคุณธรรม มีความรัก เมตตาต่อคนอื่น และสรรพสิ่งต่าง ๆ
ด้านสิ่งแวดล้อม - ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้ครูทุกคนได้พัฒนาความรู้และสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในกระบวนการเรียนการสอน
2. เพื่อให้ครูทุกคนได้รับการพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรม ตามมาตรฐานวิชาชีพครู

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ครูทุกคนเข้าร่วม ประชุม/อบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน อย่างน้อยปีละ 40 ชั่วโมง
2. ครูทุกคนเข้าร่วม ประชุม/อบรม/สัมมนา ด้านคุณธรรม จริยธรรมอย่างน้อยปีละ 1ครั้ง
  เชิงคุณภาพ
    1. ครูทุกคนได้รับความรู้จากการ ประชุม/อบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน และนำมาประยุกต์ใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณภาพด้านการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ
2. ครู ร้อยละ 98 มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตนได้ตามมาตรฐานวิชาชีพครู

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 19/10/2565          ถึงวันที่ : 30/9/2566

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    ศึกษาดูงาน ประจำปีงบประมาณ 2566
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนงานเป็นทีม (T1)
- ประชุมวางแผนงานร่วมกัน
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผน การปฏิบัติงาน
- เขียนโครงการประชุม/อบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
- จัดประชุม/อบรม/สัมมนา /ศึกษาดูงาน
1.เข้าศึกษาดูงาน เรื่อง Active learning
- ติดต่อประสานงานผู้เกี่ยวข้อง /หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- ประเมินผลการประชุม/อบรม/สัมมนา /ศึกษาดูงาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- สรุป/รายงานผลประชุม/อบรม/สัมมนา /ศึกษาดูงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 250000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ตามที่โรงเรียนกำหนด
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/9/2566     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ ว่าที่ร้อยตรีหญิงทิพย์มาศ สำแดง
    กิจกรรมที่ 2    ส่งเสริมศักยภาพบุคลากร
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- ประชุมวางแผนการทำงาน
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- ชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง และรับผิดชอบงาน
- ชี้แจงขั้นตอนการขอไปพัฒนาศักยภาพ
2. เสนอเรื่องเพื่อพิจารณา
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
- ทำหนังสือขออนุญาตไปราชการ
ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- ส่งหนังสือไปยังฝ่ายงานที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- ประเมินผลการไปอบรม/ประชุม/สัมมนา
ขั้นตอนการกำกับติดตาม (V2)
- สรุปรายงานการไปอบรม/ประชุม/สัมมนา
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 150000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม วัดหรือโรงเรียนที่เป็นแบบอย่างในด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ภายนอกที่สนใจ
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 19/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ ว่าที่ร้อยตรีหญิงทิพย์มาศ สำแดง

   รวม 2 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 400,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 400,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม วัดหรือโรงเรียนที่เป็นแบบอย่างในด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ภายนอกที่สนใจ
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ครูและบุคลากรทางการศึกษาเกิดความตระหนักในการปฏิบัติงานอย่างเต็มศักยภาพและนำไปประยุกต์ใช้เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายของโรงเรียน และผู้เรียน
2. ครูประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีและเป็นสมาชิกที่ดีของสถานศึกษา
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 3-04-4
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2566
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานบุคคล
กลุ่มสาระ/งาน งานจัดจ้างครูและบุคลากร
ชื่อโครงการ จัดจ้างครูและบุคลากร
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 2. ผลิต พัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 1. การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ข้อที่ 3. การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา
ข้อที่ 4. การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ข้อที่ 5. การพัฒนาการศึกษาเพื่อความมั่นคง
ข้อที่ 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 1. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ
ข้อที่ 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
ข้อที่ 4. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
ข้อที่ 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 2. ส่งเสริมคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 2. สื่อสาร 2 ภาษา
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางกิติมา วงศ์วัชรมงคล

1. หลักการและเหตุผล

          

การบริการงานบุคคลเป็นงานที่มีหน้าที่ในการบริหารจัดการเกี่ยวกับครูและบุคลากรให้ปฏิบัติ ตน ปฏิบัติหน้าที่ตามระเบียบวินัย จรรยาบรรณวิชาชีพครู กฎเกณฑ์ และพระราชบัญญัติต่าง ๆ ตลอดจนการจัดสรรอัตรากำลังให้ เพียงพอต่อ การจัดการเรียนการสอน และการปฏิบัติงานต่าง ๆ ภายในโรงเรียน เพื่อให้บุคลากรมีภาระงานไม่มากจนเกินไป การ ปฏิบัติหน้าที่ต่าง ๆ มี เวลาพอที่จะพัฒนางาน และปฏิบัติงานอย่างมีคุณภาพและเกิดความสุขทั้งนักเรียนและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง

จำนวนครู และจำนวนผู้ปฏิบัติงานอื่น ไม่เพียงพอกับปริมาณงาน จึงจำเป็นต้องจัดจ้างครูและบุคลากรเพิ่มเติม เมื่อดำเนินการตาม โครงการแล้วมีการประเมินการปฏิบัติงาน และรายงานผลการปฏิบัติงานตาม โครงการ ให้สามารถตรวจสอบได้ และนำผลไปพัฒนา งาน ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป โรงเรียนจึงจัดทำโครงการนี้ขึ้นโดยน้อมนำหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาท สมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมาเป็นแนวทางในการดำเนินการ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับกำลังและความสามารถของครู นักเรียนที่จะช่วยกันดำเนินงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ครูได้รับการอบรมพัฒนา
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่พัฒนาสภาพแวดล้อม สื่อ เทคโนโลยี
- มีการวางแผนการดำเนินงานและเตรียมการจัดกิจกรรมอย่างดี
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- การประหยัด ใช้จ่ายงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์อย่างคุ้มค่า
- ความรู้ด้านการบริหารจัดการ การศึกษา
- ความรู้ด้านการสรุปงาน ประเมินผลงาน

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - ปฏิบัติตามกฎหมาย
ด้านเศรษฐกิจ - รู้จักใช้วัสดุ อุปกรณ์ อย่างประหยัดเห็นคุณค่าของสรรพสิ่งไม่ฟุ่มเฟือย
ด้านวัฒนธรรม - ไม่ทำลายชีวิตผู้อื่น ด้วยความคึกคะนอง ตระหนักถึงหลักชีวิต จริยธรรม
ด้านสิ่งแวดล้อม - ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม
- อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. จัดจ้างครูผู้สอน จำนวน 8 คน
2. จัดจ้างเจ้าหน้าที่สำนักงาน จำนวน 5 คน
3. จัดจ้างแม่บ้าน ยาม พนักงานขับรถยนต์ จำนวน 19 คน

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. จ้างครูผู้สอน ได้ตามวัตถุประสงค์ ร้อยละ 100
2. จ้างเจ้าหน้าที่สำนักงาน ได้ตามวัตถุประสงค์ ร้อยละ 100
3. จ้างแม่บ้าน ยาม พนักงานขับรถยนต์ ได้ตามวัตถุประสงค์ ร้อยละ 100
  เชิงคุณภาพ
    1. มีครูสอนครบชั้น และครบทุกกลุ่มสาระ
2. มีบุคลากรเพียงพอและ ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. โรงเรียนสะอาด ร่มรื่น ปลอดภัย มีพนักงานขับรถที่มีคุณภาพ
4. ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่าย มีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 อยู่ในระดับดีเยี่ยม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2565          ถึงวันที่ : 30/9/2566

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    จัดจ้างครูพิเศษปฏิบัติการสอน
  ขั้นเตรียมการ การวางแผนและทำงานเป็นทีม (T1) 1. ฝ่าย งาน แจ้งจำนวนบุคลากรที่ต้องการ 2. เขียนโครงการ 3. ขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา 4. ส่งเรื่องขออนุมัติจากเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาญจนบุรี ขั้นการกำหนดภาระหน้าที่ (T2) 1. จัดทำคำสั่งดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1) 1. ประกาศรับสมัคร 2. ดำเนินการรับสมัคร 3. ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบ 4. สอบคัดเลือก 5. ประกาศผลสอบ 6. รายงานตัว 7. ทำสัญญาจ้าง
  ขั้นสรุป ขั้นการประเมินผล (V1) 1. ประเมินผลการปฏิบัติงาน ขั้นการกำกับ ติดตาม (V2) 1. รายงานผลการปฏิบัติงานเมื่อสิ้นปีงบประมาณ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 615850 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นางกิติมา วงศ์วัชรมงคล
    กิจกรรมที่ 2    จัดจ้างแม่บ้าน ยาม พนักงานขับรถยนต์
  ขั้นเตรียมการ การวางแผนและทำงานเป็นทีม (T1) 1. ฝ่าย งาน แจ้งจำนวนบุคลากรที่ต้องการ 2. เขียนโครงการ 3. ขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา 4. ส่งเรื่องขออนุมัติจากเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาญจนบุรี ขั้นการกำหนดภาระหน้าที่ (T2) 1. จัดทำคำสั่งดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1) 1. ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม ขั้นการประสานงาน (M2) 1. ประกาศรับสมัคร 2. ดำเนินการรับสมัคร 3. ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบ 4. สอบคัดเลือก 5. ประกาศผลสอบ 6. รายงานตัว 7. ทำสัญญาจ้าง
  ขั้นสรุป ขั้นการประเมินผล (V1) 1. ประเมินผลการปฏิบัติงาน ขั้นการกำกับ ติดตาม (V2) 1. รายงานผลการปฏิบัติงานเมื่อสิ้นปีงบประมาณ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 2100000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นางกิติมา วงศ์วัชรมงคล
    กิจกรรมที่ 3    จัดจ้างเจ้าหน้าที่สำนักงาน
  ขั้นเตรียมการ การวางแผนและทำงานเป็นทีม (T1) 1. ฝ่าย งาน แจ้งจำนวนบุคลากรที่ต้องการ 2. เขียนโครงการ 3. ขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา 4. ส่งเรื่องขออนุมัติจากเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาญจนบุรี ขั้นการกำหนดภาระหน้าที่ (T2) 1. จัดทำคำสั่งดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1) 1. ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม ขั้นการประสานงาน (M2) 1. ประกาศรับสมัคร 2. ดำเนินการรับสมัคร 3. ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบ 4. สอบคัดเลือก 5. ประกาศผลสอบ 6. รายงานตัว 7. ทำสัญญาจ้าง
  ขั้นสรุป ขั้นการประเมินผล (V1) 1. ประเมินผลการปฏิบัติงาน ขั้นการกำกับ ติดตาม (V2) 1. รายงานผลการปฏิบัติงานเมื่อสิ้นปีงบประมาณ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 676880 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นางกิติมา วงศ์วัชรมงคล
    กิจกรรมที่ 4    จัดจ้างครูชาวต่างชาติ
  ขั้นเตรียมการ การวางแผนและทำงานเป็นทีม (T1) 1. ฝ่าย งาน แจ้งจำนวนบุคลากรที่ต้องการ 2. เขียนโครงการ 3. ขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา 4. ส่งเรื่องขออนุมัติจากเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาญจนบุรี ขั้นการกำหนดภาระหน้าที่ (T2) 1. จัดทำคำสั่งดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1) 1. ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม ขั้นการประสานงาน (M2) 1. ประกาศรับสมัคร 2. ดำเนินการรับสมัคร 3. ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบ 4. สอบคัดเลือก 5. ประกาศผลสอบ 6. รายงานตัว 7. ทำสัญญาจ้าง
  ขั้นสรุป ขั้นการประเมินผล (V1) 1. ประเมินผลการปฏิบัติงาน ขั้นการกำกับ ติดตาม (V2) 1. รายงานผลการปฏิบัติงานเมื่อสิ้นปีงบประมาณ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 1044000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นางกิติมา วงศ์วัชรมงคล
    กิจกรรมที่ 5    เงินประกันสังคม
  ขั้นเตรียมการ การวางแผนและทำงานเป็นทีม (T1) 1. ตรวจสอบจำนวนเงิน 2. เขียนโครงการ 3. ขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นการกำหนดภาระหน้าที่ (T2) 1. จัดทำคำสั่งดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1) 1. หลักฐานการดำเนินกิจกรรม ขั้นการประสานงาน (M2) 1. ดำเนินการเบิกจ่าย
  ขั้นสรุป ขั้นการประเมินผล (V1) 1. ประเมินผลการดำเนินงาน ขั้นการกำกับ ติดตาม (V2) 1. รายงานผลการปฏิบัติงานเมื่อสิ้นปีงบประมาณ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 174360 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นางกิติมา วงศ์วัชรมงคล

   รวม 5 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 4,611,090.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 4,611,090.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาญจนบุรี
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. บุคลากรมีความสุข 2. มีการพัฒนางาน 3. บุคลากรมีคุณธรรม จริยธรรม มีน้ำใจ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
กรณีการลาออกระหว่างปีการศึกษา จะหาอัตราทดแทนยาก

 

 

รหัสโครงการ 3-08-7
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2566
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานบุคคล
กลุ่มสาระ/งาน งานประเมินผลการปฏิบัติงานด้านบริหารงานบุคคล
ชื่อโครงการ งานประเมินผลการปฏิบัติงานด้านบริหารงานบุคคล
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 1. การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 4. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวธนพร เลิศโพธาวัฒนา

1. หลักการและเหตุผล

           การทำให้องค์กรหรือหน่วยงานประสบผลสำเร็จประกอบด้วย 4 ประการ คือ คน เงิน การบริหารจัดการและวัสดุ อุปกรณ์ โรงเรียน ถือเป็นหน่วยงานหนึ่งที่ต้องใช้ส่วนประกอบทั้ง 4 ในการที่จะทำให้โรงเรียนประสบผลสำเร็จเป็นที่ยอมรับของผู้ประ ครอง นักเรียน ชุมชน และสังคม จากปัจจัยทั้ง 4 ประการ คนนับว่าเป็นส่วนสำคัญที่สุด เพราะว่า คนจะเป็นผู้ใช้หรือกำกับทุกปัจจัย ดังนั้นหากคนในโรงเรียนมี คุณภาพ ก็ย่อมทำให้โรงเรียนสามารถสามารถที่จะพัฒนาไปตามเป้าหมายที่กำหนดได้อย่างดี การประเมิน คุณภาพการปฏิบัติงานประจำปี ของบุคลากร ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งในการที่จะทำให้โรงเรียนทราบถึงการปฏิบัติงานของครูแต่ละคน และเป็น สิ่งที่ส่งเสริมให้บุคลากรมีความมุ่งมั่น ทุ่มเท เสียสละ และรักให้กับโรงเรียน ซึ่งจะส่งผลทำให้โรงเรียนสามารถพัฒนาคุณภาพการเรียน การสอนได้อย่างแท้จริง

การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กรได้อย่างเป็นระบบ ระเบียบ มีกำหนดกฎเกณฑ์ มีความสุจริต ยุติธรรม มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเป็นส่วนสำคัญยิ่งในการผูกใจบุคลากร และธำรงรักษาบุคลากรเป็นเครื่องมือหรือองค์ประกอบอย่างหนึ่งในการบริหารบุคลากรให้ปฏิบัติงานได้อย่างมีคุณภาพซึ่งการประเมินเป็นกระบวนการในการติดตามผลงานในการดำเนินโครงการกิจกรรมต่าง ๆ จำเป็นต้องมีการประเมินเพื่อให้ทราบผลการดำเนินการว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตัั้งไว้หรือไม่ มีความคุ้มค่าต่อการตัดสินใจในการดำเนินการมากน้อยเพียงใด รวมถึงการศึกษาว่าในการดำเนินการมีปัญหาที่ต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลง หรือแก้ไขในเรื่องใดบ้าง จึงต้องมีการดำเนินการประเมินโครงการกิจกรรม ในการดำเนินโครงการกิจกรรมต่าง ๆ การทำงานในงานด้านบริหารงานบุคคล ในทุก ๆ ฝ่ายต้องมีการประเมินงานในแต่ละด้าน โดยคณะผู้บริหาร คณะครู นักเรียน และบุคลากร ทางการศึกษาอื่น ๆ เพื่อเป็นการนำข้อบกพร่องในการทำงานของแต่ละฝ่ายมาปรับปรุงแก้ไขต่อไป


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับเวลาที่ใช้ดำเนินกิจกรรม ตั้งแต่เตรียมการจัดงานและสรุปประเมินผล
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ผู้บริหารการจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์
- มีการติดตามประเมิน และสรุปโครงการ/กิจกรรม
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- ความรู้ด้านการสรุปงาน ประเมินผลงาน

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม เสียสละเพื่อส่วนรวม
ด้านเศรษฐกิจ - รู้จักใช้วัสดุ อุปกรณ์ อย่างประหยัดเห็นคุณค่าของสรรพสิ่งไม่ฟุ่มเฟือย
ด้านวัฒนธรรม - มีคุณธรรม มีความรัก เมตตาต่อคนอื่น และสรรพสิ่งต่าง ๆ
ด้านสิ่งแวดล้อม - ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อเป็นแนวทางพัฒนาบุคลากรในโรงเรียนและนำผลการประเมินโครงการหรือกิจกรรมไปใช้ในการตัดสินใจปรับปรุงพัฒนาในอนาคต จะทำให้ปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ผู้บริหาร คณะครู นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษาอื่น จำนวน 2,000 คน ทำแบบประเมินกิจกรรม
  เชิงคุณภาพ
    1.ผู้บริหาร คณะครู นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษาอื่นสามารถปฏิบัติงานในหน้าที่รับผิดชอบผ่านเกณฑ์การประเมินระดับดีเยี่ยม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 18/10/2565          ถึงวันที่ : 18/10/2566

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    งานประเมินผลการปฏิบัติงานด้านบริหารงานบุคคล
  ขั้นเตรียมการ 1. ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
1.1 ประชุม/จัดทำแบบประเมินให้กับคณะผู้บริหาร คณะครู และนักเรียน
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
2.1 จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
  ขั้นดำเนินการ 3.ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
3.1 บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม
3.2 แจกแบบประเมินกิจกรรมต่างๆ ในฝ่ายงานบุคคล
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
4.1 ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม
  ขั้นสรุป 5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
5.1 ทำแบบประเมินความพึงพอใจ
5.2 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
6.1 บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินโครงการ
6.2 สรุปรูปเล่มรายงานโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 27/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวธนพร เลิศโพธาวัฒนา

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ผู้บริหาร คณะครู นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษาอื่น
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.ช่วยให้ได้ข้อมูลที่บ่งบอกถึงการทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 3-01-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2566
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานบุคคล
กลุ่มสาระ/งาน งานทะเบียนประวัติและบุคลากร
ชื่อโครงการ งานทะเบียนประวัติและบุคลากร
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 2. ผลิต พัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 1. การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
ข้อที่ 4. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 2. ส่งเสริมคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 5. ร่วมรับผิดชอบสังคมโลก
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวกมลชนก หาดรื่น

1. หลักการและเหตุผล

          

ตามเป้าประสงค์และกลยุทธ์ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาญจนบุรี และโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมที่มุ่งหวังพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาเน้นการ มีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนนั้น ครูเป็นผู้ขับเคลื่อนกระบวนการต่างๆ ให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมาย การบริหารงานบุคคลเป็นงาน ที่ต้องปฏิบัติตามระเบียบวินัย กฎเกณฑ์ หลักเกณฑ์ และพระราชบัญญัติต่าง ๆ ของทางราชการอย่างถูกต้อง และเป็นไปตามเวลา ที่กำหนด เพื่อผลประโยชน์ของครู และบุคลากรในทุกๆ ด้านสามารถค้นหาและนำไปใช้ประโยชน์ในงานราชการได้อย่างรวดเร็ว และข้อมูลสมบูรณ์ครบถ้วนให้ครูและบุคลากรได้รับโอกาสในการเลื่อนขั้นเงินเดือนอย่างเป็นธรรม ขอมีหรือเลื่อนวิทยฐานะ ปรับ ตำแหน่ง ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ฯ และได้รับขวัญกำลังใจตามโอกาสอันควร เมื่อดำเนินงานแล้วมีการสรุปผล การดำเนินงาน รายงานผลการดำเนินงาน เพื่อให้เกิดความพร้อมในการพัฒนางานต่อไป โรงเรียนจึงจัดทำโครงการนี้ขึ้นโดย น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมาเป็น แนวทางในการดำเนินงาน
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับเวลาที่ใช้ดำเนินกิจกรรม ตั้งแต่เตรียมการจัดงานและสรุปประเมินผล
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ครูได้รับการอบรมพัฒนา
- มีการวางแผนการดำเนินงานและเตรียมการจัดกิจกรรมอย่างดี
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- ความรู้ด้านการอบรมและพัฒนาบุคลากร

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม เสียสละเพื่อส่วนรวม
ด้านเศรษฐกิจ - รู้จักใช้วัสดุ อุปกรณ์ อย่างประหยัดเห็นคุณค่าของสรรพสิ่งไม่ฟุ่มเฟือย
ด้านวัฒนธรรม - ซื่อสัตย์สุทจริต
ด้านสิ่งแวดล้อม - ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อจัดเก็บข้อมูลบุคลากร และทะเบียนประวัติ
2. เพื่อประเมินผลการปฏิบัติงานของครูและบุคลากร
3. เพื่อให้มีวัสดุครุภัณฑ์พร้อมใช้งาน

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. มีทะเบียนประวัติ และข้อมูลของครูและบุคลากรร้อยละ 87
2. ครูและบุคลากรทุกคนได้รับสิทธิประโยชน์อันควรตามระเบียบและกฎหมาย ร้อยละ 85
3. ครูและบุคลากรทุกคนได้รับการประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อใช้ในการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนและค่าจ้าง ร้อยละ 87
4. มีวัสดุครุภัณฑ์จำนวนที่เพียงพอต่อการใช้งาน ร้อยละ 85
  เชิงคุณภาพ
    1. ทะเบียนประวัติครูและบุคลากรทุกคนถูกต้อง ครบถ้วนและเป็นปัจจุบันพร้อมให้บริการ
2. ครูและบุคลากรทุกคนได้รับสิทธิประโยชน์อันควรตามระเบียบและกฎหมาย
3. ครูทุกคนมีผลการประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับดี – ดีมาก
4. คณะครู และบุคลากรมีความพึงพอใจต่อการบริการในระดับ - ดีมาก

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2565          ถึงวันที่ : 30/9/2566

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    งานทะเบียนประวัติและบุคลากร
  ขั้นเตรียมการ 1. ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
1.1 ประชุมชี้แจงข้อตกลง ระเบียบข้อบังคับ
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
2.1 จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
  ขั้นดำเนินการ 3.ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
3.1 บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม
3.2 ดำเนินการจัดทำแฟ้มประวัติข้าราชการครูให้เป็นปัจจุบัน
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
4.1 ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม
  ขั้นสรุป 5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
5.1 ทำแบบประเมินความพึงพอใจ
5.2 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
6.1 บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินโครงการ
6.2 สรุปรูปเล่มรายงานโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 10000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวกมลชนก หาดรื่น

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 10,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 10,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาญจนบุรี
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ข้อมูลของงานบุคลากรเป็นปัจจุบัน ถูกต้อง และเอื้อประโยชน์แก่ทุกฝ่ายได้เป็นอย่างดี บุคลากรปฏิบัติตนได้ถูกต้องตามระเบียบวินัยและจรรยาบรรณข้าราชการครู และได้รับสิทธิประโยชน์ตามโอกาสอันควร
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
การถ่ายสำเนา กพ.7 ใช้เวลานาน

 

 

รหัสโครงการ 3-07-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2566
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานบุคคล
กลุ่มสาระ/งาน งานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
ชื่อโครงการ หลักปรัชของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 1. พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
ข้อที่ 2. ผลิต พัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 1. การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ข้อที่ 2. การสร้างความสามารถในการแข่งขัน
ข้อที่ 3. การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา
ข้อที่ 4. การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ข้อที่ 5. การพัฒนาการศึกษาเพื่อความมั่นคง
ข้อที่ 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 1. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ
ข้อที่ 2. ความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา
ข้อที่ 3. มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
ข้อที่ 6. มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 2. ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
ข้อที่ 3. การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
ข้อที่ 3. ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย
ข้อที่ 4. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
ข้อที่ 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
ข้อที่ 6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและจัดการเรียนรู้
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
ข้อที่ 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
ข้อที่ 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ข้อที่ 2. ส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนมีทักษะในการประกอบอาชีพ
ข้อที่ 3. ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูสร้างและพัฒนางานวิจัย และนวัตกรรม ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน
ข้อที่ 5. ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
ข้อที่ 2. ส่งเสริมคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
ข้อที่ 4. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำแนวพระราชดำริ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
ข้อที่ 3. มีงานทำ-มีอาชีพ
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 1. เป็นเลิศวิชาการ
ข้อที่ 3. ล้ำหน้าทางความคิด
ข้อที่ 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
ข้อที่ 5. ร่วมรับผิดชอบสังคมโลก
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวดาหวัน เฉลิมจรัสกุล

1. หลักการและเหตุผล

           กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายมุ่งพัฒนาสถานศึกษาทุกแห่งให้สามารถจัดกระบวนการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพียงและเพื่อให้การพัฒนาเป็นไปอย่างมีคุณภาพอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน จึงมีการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา เพื่อเป็นเครื่องมือสำคัญในการขยายผลการขับเคลื่อนสถานศึกษาพอเพียงโดยกำหนด แนวทางในการพัฒนาและประเมินศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา รายละเอียดตามประกาศของ กระทรวงศึกษาธิการเรื่อง แนวทางการพัฒนาและประเมินสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมได้มีการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาจัดการศึกษาการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนในปัจจุบันจะต้องให้ความสำคัญกับผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองและเป็นความรู้ที่ยั่งยืน มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสู่การดำเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงของผู้เรียน ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา และชุมชน อย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง โดยให้ความสำคัญและเชื่อมั่น ว่าถ้ากำหนดให้สถานศึกษาได้น้อมนำหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิรูปในสถานศึกษาให้เป็นวิธีปฏิบัติของครูและบุคลากร ทางการศึกษาในการบริหาร จัดการสถานศึกษา การจัดทำหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะทำให้ผู้ เรียนมีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงได้อย่างถาวรด้วยความเชื่อมั่นในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนั้นเป็นสิ่งที่สามารถสร้างขึ้นได้ใน สังคมทุกระดับเพื่อที่จะได้นำสังคมไทยสู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน ซึ่งอุปนิสัยพอเพียงที่ เกิดขึ้นในตัวผู้เรียนจะได้นำพาสังคมไทยให้ เป็นสังคมที่มั่นคงและยั่งยืนต่อไป


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับเวลาที่ใช้ดำเนินกิจกรรม ตั้งแต่เตรียมการจัดงานและสรุปประเมินผล
- พอประมาณกับกำลังและความสามารถของครู นักเรียนที่จะช่วยกันดำเนินงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
- พอประมาณกับวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆที่ต้องใช้ในการจัดโครงการ/กิจกรรม
- พอประมาณกับสถานที่จัดโครงการ/กิจกรรม
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ฝึกฝนให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีจิตสาธารณะ
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะในการศึกษาหาความรู้ด้วยตัวเอง
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะในการฟัง พูด อ่าน เขียน
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยี
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนได้จัดแสดงผลงานและมีความคิดสร้างสรรค์
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้สามารถศึกษาต่อระดับที่สูงขึ้นได้
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ฝึกฝน สร้างนักเรียนให้มีทักษะในการทำงาน
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ครูได้รับการอบรมพัฒนา
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ผู้บริหารการจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและชุมชน
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่พัฒนาสภาพแวดล้อม สื่อ เทคโนโลยี
- มีการวางแผนการดำเนินงานและเตรียมการจัดกิจกรรมอย่างดี
- มีการตั้งคณะกรรมการดำเนินงานรับผิดชอบด้านต่าง ๆ ให้ชัดเจน
- มีการประชุม ปรึกษาหารืออย่างสม่ำเสมอ
- มีการประสานงานกับกลุ่มเป้าหมาย ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง
- มีการติดตามประเมิน และสรุปโครงการ/กิจกรรม
- มีการใช้ข้อมูลงานลักษณะนี้มาวางแผนการจัดการอย่างต่อเนื่อง
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- การประหยัด ใช้จ่ายงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์อย่างคุ้มค่า
- ความขยัน อดทน
- ความมีสติปัญญา รู้ผิดรู้ชอบ ตัดสินใจกระทำการใด ๆ บนเหตุผล
- ความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร
- ความรู้ด้านการออกแบบการเรียนการสอน
- ความรู้ด้านการจัดการสอนของครู
- ความรู้ด้านการผลิตสื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้
- ความรู้ด้านการวัดผล การประเมินผล
- ความรู้ด้านการบริหารจัดการ การศึกษา
- ความรู้ด้านการอบรมและพัฒนาบุคลากร
- ความรู้ด้านการสรุปงาน ประเมินผลงาน

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - นักเรียนอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
- นักเรียนได้นำความรู้จากการทำกิจกรรมไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
- นักเรียนมีความสามัคคี ปรองดอง
- คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม เสียสละเพื่อส่วนรวม
- จิตอาสา บำเพ็ญสาธารณประโยชน์
- ปฏิบัติตามกฎหมาย
ด้านเศรษฐกิจ - รู้จักใช้วัสดุ อุปกรณ์ อย่างประหยัดเห็นคุณค่าของสรรพสิ่งไม่ฟุ่มเฟือย
- ประยุกต์ใช้วัสดุอุปกรณ์ในท้องถิ่น
- มีรายได้ระหว่างเรียน
- การออม
ด้านวัฒนธรรม - มีคุณธรรม มีความรัก เมตตาต่อคนอื่น และสรรพสิ่งต่าง ๆ
- ไม่ทำลายชีวิตผู้อื่น ด้วยความคึกคะนอง ตระหนักถึงหลักชีวิต จริยธรรม
- กตัญญู รู้คุณ
- ซื่อสัตย์สุทจริต
ด้านสิ่งแวดล้อม - ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม
- ลดภาวะโลกร้อน
- อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเป็นผู้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์อยู่อย่างพอเพียง
2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง และหน่วยงานอื่นใช้ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี เป็นแหล่งเรียนรู้

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี ร้อยละ 80 มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์อยู่อย่างพอเพียง
2. นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง และชุมชน ร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการใช้ประโยชน์จากศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรีเป็นแหล่งเรียนรู้
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์อยู่อย่างพอเพียง อยู่ในระดับดี
2. นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง และชุมชน มีความพึงพอใจจากการใช้ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรีเป็นแหล่งเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/5/2566          ถึงวันที่ : 30/9/2566

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมอบรมนักเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
  ขั้นเตรียมการ 1. ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1) 1.1 ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานกิจกรรมอบรมนักเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อวางแผนดำเนินงาน 1.2 กำหนดกิจกรรมและวิธีดำเนินการต่างๆ ภายในกิจกรรมอบรมนักเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1.3 เขียนโครงการและเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2) 2.1 จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ 3. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1) 3.1 บันทึกขออนุญาตในการดำเนินกิจกรรม 3.2 ดำเนินกิจกรรมตามแผนที่ได้วางไว้ 4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2) 4.1 ประสานงานและรายงานการดำเนินกิจกรรมร่วมกันในทีม
  ขั้นสรุป 5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1) 5.1 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ 6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2) 6.1 กำกับ ติดตาม และประเมินผล 6.2 รายงานการจัดการอบรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 34600 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม 144 หมู่ 4 ตำบลท่ามะกา อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ คณะกรรมการดำเนินการ
    กิจกรรมที่ 2    จัดอบรมครูแกนนำตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
  ขั้นเตรียมการ 1. ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1) 1.1 ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานจัดอบรมครูแกนนำตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อวางแผนดำเนินงาน 1.2 กำหนดกิจกรรมและวิธีดำเนินการต่างๆ ภายในจัดอบรมครูแกนนำตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1.3 เขียนโครงการและเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2) 2.1 จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ 3. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1) 3.1 บันทึกขออนุญาตในการดำเนินกิจกรรม 3.2 ดำเนินกิจกรรมตามแผนที่ได้วางไว้ 4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2) 4.1 ประสานงานและรายงานการดำเนินกิจกรรมร่วมกันในทีม
  ขั้นสรุป 5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1) 5.1 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ 6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2) 6.1 กำกับ ติดตาม และประเมินผล 6.2 รายงานการจัดการอบรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม 144 หมู่ 4 ตำบลท่ามะกา อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/5/2566     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ คณะกรรมการดำเนินการ

   รวม 2 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 34,600.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 34,600.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ

 

 

รหัสโครงการ 3-01-4
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2566
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานบุคคล
กลุ่มสาระ/งาน งานทะเบียนประวัติและบุคลากร
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมประสิทธิภาพงานบุคคล
ลักษณะโครงการ โครงการใหม่
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 1. การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ข้อที่ 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 4. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 2. ส่งเสริมคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
ข้อที่ 5. ร่วมรับผิดชอบสังคมโลก
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวกมลชณัฐ ฝนเมฆ

1. หลักการและเหตุผล

           ตามเป้าประสงค์และกลยุทธ์ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กาญจนบุรี และโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมที่มุ่งหวังพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาเน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาค ส่วน นั้น ครูเป็นผู้ขับเคลื่อนกระบวนการต่างๆ ให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมาย ด้วยโรงเรียนมีความจำเป็นที่จะต้องดำเนิน กิจการหรือ งานต่างๆ ซึ่งมีความจำเป็นที่จะต้องวัสดุคุรุภัณฑ์อุปกรณ์ในการพัฒนางานให้เกิดความคล่องตัว งานสำนักงาน ธุรการฝ่ายบริหาร งานบุคคล จึงจำเป็นต้องจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ที่จำเป็นให้เพียงพอ สะดวก และรวดเร็วในการปฏิบัติ งาน รวมทั้งเพื่อ ให้การดำเนินงานต่าง ๆ ของฝ่ายบริหารงานบุคคลดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุผลสำเร็จตาม วัตถุประสงค์

กรณีต้องการย่อหน้าที่ 2


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับเวลาที่ใช้ดำเนินกิจกรรม ตั้งแต่เตรียมการจัดงานและสรุปประเมินผล
- พอประมาณกับวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆที่ต้องใช้ในการจัดโครงการ/กิจกรรม
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ครูได้รับการอบรมพัฒนา
- มีการวางแผนการดำเนินงานและเตรียมการจัดกิจกรรมอย่างดี
- มีการติดตามประเมิน และสรุปโครงการ/กิจกรรม
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- การประหยัด ใช้จ่ายงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์อย่างคุ้มค่า
- ความรู้ด้านการสรุปงาน ประเมินผลงาน

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม เสียสละเพื่อส่วนรวม
ด้านเศรษฐกิจ - รู้จักใช้วัสดุ อุปกรณ์ อย่างประหยัดเห็นคุณค่าของสรรพสิ่งไม่ฟุ่มเฟือย
ด้านวัฒนธรรม - ซื่อสัตย์สุทจริต
ด้านสิ่งแวดล้อม - ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้การดำเนินงานต่างๆ ของฝ่ายกลุ่มบริหารงานบุคคลมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
2. เพื่อให้มีวัสดุครุภัณฑ์พร้อมใช้งาน

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ร้อยละ 90 ฝ่ายงานกลุ่มบริหารงานบุคคลได้รับการสนับสนุนวัสดุสำนักงาน
2. ร้อยละ 85 มีวัสดุครุภัณฑ์จำนวนที่เพียงพอต่อการใช้งาน
  เชิงคุณภาพ
    1. คณะครู และบุคลากรมีความพึงพอใจต่อการบริการในระดับ ดีมาก
2. ฝ่ายงานกลุ่มบริหารงานบุคคลในโรงเรียนเกิดความคล่องตัวในการปฏิบัติงานครูและบุคลากรมีความพึงพอใจ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 19/10/2565          ถึงวันที่ : 19/10/2566

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    งานธุรการฝ่ายบริหารงานบุคคล
  ขั้นเตรียมการ 1. ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
1.1 ประชุมชี้แจงข้อตกลง ระเบียบข้อบังคับ
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
2.1 จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
  ขั้นดำเนินการ 3.ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
3.1 บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม
3.2 ดำเนินการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์คุรุภัณฑ์
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
4.1 ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม
  ขั้นสรุป 5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
5.1 ทำแบบประเมินความพึงพอใจ
5.2 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
6.1 บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินโครงการ
6.2 สรุปรูปเล่มรายงานโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 30100 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/9/2566
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวกมลชณัฐ ฝนเมฆ

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 30,100.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 30,100.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาญจนบุรี
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
การดำเนินงานกลุ่มบริหารงานบุคคล มีวัสดุอุปกรณ์คุรุภัณฑ์เพื่อใช้ในการบริหารจัดการภายในกลุ่มงานบริหารงานบุคคล สะดวก รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 3-02-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2566
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานบุคคล
กลุ่มสาระ/งาน โครงการส่งเสริมการประเมินวิทยฐานะ
ชื่อโครงการ ส่งเสริมการประเมินวิทยฐานะ
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 2. ผลิต พัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 1. การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 6. มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 4. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
  - มาตรฐานที่ 3 ข้อที่ 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 2. ส่งเสริมคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
ข้อที่ 5. ร่วมรับผิดชอบสังคมโลก
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางนันทนา วิราศรี

1. หลักการและเหตุผล

           ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายมุ่งเน้นให้ขรชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีการสั่งสมประสบการณ์ในการปฏิบัติงานดัน การจัดการเรียนการสอน เพื่อแสดงถึงความชำนาญและความเชี่ยวชาญ ในการปฏิบัติงน ทั้งใชิปริมาณและคุณภาพ รวมทั้งส่งเสริม ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีการพัฒนาตนเอง และส่งเสริมให้ประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี มีวินัย คุณธรรม จริยธรม และจรรยาบรรณวิชชีพ พัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบสามารถสร้างความเช้มแข็งให้กับวิชาชีพครู และสามารถยกระดับคุณภาพครูให้มีศักยภาพในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนส่งผลถึงคุณภาพผู้เรียนได้อย่งแท้จริง ซึ่ง ก..ศ. ได้ กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการให้ย้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ ตามหนังสือ สำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศร0206.3/2 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560 และกำหนดแนวปฏิบัติการดำเนินการในช่วงระยะเวลาเปลี่ยนผ่าน โดยให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 5 กรกฎาคม 2560 เป็นต้นไป

เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมรองรับ การดำเนินการให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครูมีวิทยฐนะและเลื่อนวิทยฐานะ ตามหลักเกณฑ์ใหม่ มีความจำเป็นในการดำเนินโครงกาประชุมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้าง ความรู้และความเข้าใจการประเมินวิทยฐานะตามหลักเกณฑ์ใหม่ สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และผู้ที่เกี่ยวข้อง กับการประเมินวิทยฐานะ


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับกำลังและความสามารถของครู นักเรียนที่จะช่วยกันดำเนินงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ครูได้รับการอบรมพัฒนา
- มีการวางแผนการดำเนินงานและเตรียมการจัดกิจกรรมอย่างดี
- มีการประชุม ปรึกษาหารืออย่างสม่ำเสมอ
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- การประหยัด ใช้จ่ายงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์อย่างคุ้มค่า
- ความรู้ด้านการออกแบบการเรียนการสอน
- ความรู้ด้านการจัดการสอนของครู
- ความรู้ด้านการบริหารจัดการ การศึกษา

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - ปฏิบัติตามกฎหมาย
ด้านเศรษฐกิจ - รู้จักใช้วัสดุ อุปกรณ์ อย่างประหยัดเห็นคุณค่าของสรรพสิ่งไม่ฟุ่มเฟือย
ด้านวัฒนธรรม - มีคุณธรรม มีความรัก เมตตาต่อคนอื่น และสรรพสิ่งต่าง ๆ
ด้านสิ่งแวดล้อม - ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อสร้างแรงจูงใจให้ข้าราชการครูพัฒนาตนเองเพื่อความก้าวหน้าในอาชีพและความมั่นคงในการดำเนินชีวิต
2. เพื่อพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ ความสามารถในการจัดทำผลงานทางวิชาการให้ได้มาตรฐานและถูกต้องตามหลักวิชาการ
3. เพื่อพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความก้าวหน้าในวิชาชีพและมีขวัญ กำลังใจในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนหรือคุณภาพในการปฏิบัติงานในหน้าที่

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    ครูร้อยละ 90 เข้ารับการพัฒนาการส่งเสริมการประเมินวิทยฐานะ
  เชิงคุณภาพ
    ครูมีความพึงพอใจในการส่งเสริมความสามารถในการจัดทำผลงานทางวิชาการได้มาตรฐานและถูกต้องตามหลักวิชาการ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2565          ถึงวันที่ : 30/9/2566

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    เสริมสร้างความรู้และความเข้าใจการประเมินวิทยฐานะตามหลักเกณฑ์ใหม่
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- เสนอขออนุมัติโครงการ
- สำรวจความต้องการในการเข้ารับการพัฒนา
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- จัดทำเอกสาร และเตรียมวัสดุอุปกรณ์การพัฒนา
- ดำเนินการพัฒนาฯ ระยะเวลา 1 วัน
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประสานงานกับคณะวิทยากรและจัดประชุมเตรียมการ
- แจ้งครูและบุคลากรทางการศึกษาตามผลการสำรวจเข้ารับการพัฒนา
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปผลการประเมินกิจกรรม
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 7600 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 15/10/2565     ถึงวันที่ 31/8/2566
  ผู้รับผิดชอบ นางนันทนา วิราศรีและคณะ
    กิจกรรมที่ 2    การประเมินผลงานตามข้อตกลงในการพัฒนางาน
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) - เสนอขออนุมัติโครงการ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) - จัดทำเอกสาร สำหรับการประเมิน ขั้นตอนการประสานงาน(M2) - ประสานงานกับคณะกรรมการและจัดประชุมเตรียมการ - แจ้งครูและบุคลากรทางการศึกษาในการรับการประเมินผลงานตามข้อตกลงในการพัฒนางาน
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) - สรุปผลการประเมินกิจกรรม ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) - รายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 27000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2565     ถึงวันที่ 30/10/2566
  ผู้รับผิดชอบ นางนันทนา วิราศรีและคณะ

   รวม 2 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 34,600.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 34,600.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ครูและบุคลากรทางการศึกษา
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้ผ่านการพัฒนา สามารถเขียนผลงานทางวิชาการได้มาตรฐานและถูกต้องตามหลักวิชาการ นำไปสู่การพัฒนาตนเอง พัฒนางาน สู่การเลื่อนวิทยฐานะสูงขึ้น อันจะส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพนักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์ต่อทางราชการอย่างสูงสุด และมีความก้าวหน้าทางวิชาชีพ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-