แผนการดำเนินงานตามโครงการและงาน
จำแนกตาม แผนงานบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
ชื่อโครงการ/
วัตถุประสงค์
สนอง
มฐ.รร.
ข้อที่
เป้าหมาย ตัวชี้วัด/เกณฑ์การประเมิน
โครงการ
ค่าใช้จ่าย
(บาท)
ขั้นตอนการดำเนินงาน
ของแต่ละกิจกรรม
ระยะเวลา
ดำเนินการ
ผู้รับผิดชอบ
พัฒนางานแผนงาน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2567 ของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ
2. เพื่อพัฒนางานแผนงานและเผยแพร่ข้อมูลงานแผนงาน
2, เชิงปริมาณ
 1. คณะครู และบุคลากร ร้อยละ 95 มีส่วนร่วมในการวางแผนด้านนโยบาย แผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการของโรงเรียน
2. คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้แทนชุมชน ผู้ปกครอง ร้อยละ 90 มีส่วนร่วมในการพัฒนา / ปรับปรุงแผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการของโรงเรียน
3. จัดทำรูปเล่มแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2567 จำนวน 20 เล่ม
เชิงคุณภาพ
 1. โรงเรียนมีแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2567 ที่ถูกต้องสมบูรณ์
2. ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่าย มีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 อยู่ในระดับยอดเยี่ยม
วิธีการ
 ทำแบบประเมิน
เครื่องมือ
 ทำแบบสอบถาม

เงิน
อุดหนุนฯ
8,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : จัดประชุมและทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2567
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- จัดทำโครงการ
- เสนอกิจกรรมเพื่ออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง และออกคำสั่งการดำเนินงาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประชุมเชิงปฏิบิติการ จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2566

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการประเมินกิจกรรม

กิจกรรมที่ 2 : พัฒนานโยบายและแผนงาน
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- จัดทำโครงการ
- วางแผนการปฏิบัติงาน
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง และออกคำสั่งการดำเนินงาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- จัดทำแผนป้ายประชาสัมพันธ์ จัดทำรูปเล่มแผนพัฒนาคุณภาพ

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการประเมินกิจกรรม

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

1/10/2566 ถึง
30/9/2567

 

 

นางสาวศิริพร วัชรชัยโสภณสิริ





นางสาวศิริพร วัชรชัยโสภณสิริ





การติดตามและประเมินผล

วัตถุประสงค์
1. เพื่อกำกับ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ 2566
2. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของบุคลากรในโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ในการกำกับ ติดตาม และประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานอย่างถูกต้องด้วยเครื่องมือและวิธีการที่มีคุณภาพ
3. เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
2, เชิงปริมาณ
 1. เอกสารรายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2566
2. เอกสารรายงานผลการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของสถานศึกษา

เชิงคุณภาพ
 1. โรงเรียนมีข้อมูลผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2566 ใช้ในการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมสามารถรายงานผลการดำเนินงานโครงการและกิจกรรม ครบทุกตัวชี้วัดในกลยุทธ์ ตามกำหนดระยะเวลา และมีผลการประเมินในภาพรวมอยู่ในระดับดีเยี่ยม
วิธีการ
 ประเมินรูปเล่มฉบับสมบูรณ์
เครื่องมือ
 การประเมิน

เงิน
อุดหนุนฯ
2,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : การติดตาม ประเมินผลปีงบประมาณ 2566
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- จัดทำโครงการ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- การสร้างเครื่องมือการติดตามและประเมินผล

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- ประชุมวางแผนการติดตามและประเมินผลฯ
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- การติดตามและประเมินผลฯ แต่ละโครงการ/กิจกรรม

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- ผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ
- รายงานผลการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของสถานศึกษา

1/10/2565 ถึง
30/9/2566

 

 

นายก่อกิจ ธีราโมกข์





คำนวณต้นทุนผลผลิต

วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการทางการเงินของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
2. เพื่อการเปรียบเทียบความคุ้มค่าระหว่างปัจจัยนำเข้ากับผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
3. เพื่อจัดทำการคำนวณต้นทุนผลผลิตและคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ 2566
2, เชิงปริมาณ
 1. สามารถนำรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิตนำไปใช้ประโยชน์ได้ร้อยละ 100

เชิงคุณภาพ
 1. โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมมีการพัฒนาการบริหารจัดการทางการเงิน
วิธีการ
 
เครื่องมือ
 

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : การจัดทำรายงานคำนวณต้นทุนผลผลิตต่อหน่วย
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1. ปรับปรุงโครงการโดยการนำผลประเมินโครงการของปีก่อนหน้า มาปรับปรุงขั้นตอนการดำเนินงาน หรือขั้นตอนการประเมินผล
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
2. จัดทำคำสั่งการดำเนินงาน โดยใช้คำสั่งของขอบข่ายงานของปีงบประมาณ 2566
ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
1. การติดตามข้อมูลในโครงการการคำนวณต้นทุนผลผลิต ในระยะที่ 1 (ตุลาคม 65 - เมษายน 66)
2. การติดตามข้อมูลในโครงการการคำนวณต้นทุนผลผลิต ในระยะที่ 1 (เมษายน 66 - กันยายน 66)
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
3. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
1. สรุปผลการประเมินกิจกรรม โดยการจัดทำรูปเล่มรายงานผลการคำนวณต้นทุนผลผลิต และ จัดทำคำรับรองการปฏิบัติปีงบประมาณ 2566
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
2. บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรมการคำนวณต้นทุนผลผลิตต่อผู้บริหาร และนำข้อเสนอแนะจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับกิจกรรมนี้มาปรับใช้ในครั้งต่อไป

1/10/2565 ถึง
30/9/2566

 

 

โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม





เรียนฟรี 15 ปีอย่างมีคุณภาพ (อุปกรณ์การเรียนและเครื่องแบบนักเรียน)

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายสำหรับอุปกรณ์การเรียนและเครื่องแบบนักเรียนที่ภาครัฐให้การสนับสนุนครบถ้วนทุกคน
เชิงปริมาณ
 1. นักเรียนทุกคนได้รับเงินค่าอุปกรณ์การเรียน ปีการศึกษาละ 2 ครั้ง ร้อยละ 100
2. นักเรียนทุกคนได้รับเงินค่าเครื่องแบบนักเรียน ปีการศึกษาละ 1 ครั้ง ร้อยละ 100

เชิงคุณภาพ
 1. นักเรียนทุกคนในโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมได้รับการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายสำหรับค่าเครื่องแบบนักเรียนและค่าอุปกรณ์การเรียนที่ภาครัฐให้การสนับสนุน
วิธีการ
 ประเมินจากหลักฐานการจ่ายเงิน
เครื่องมือ
 การสำรวจ

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : เรียนฟรี 15 ปีอย่างมีคุณภาพ (อุปกรณ์การเรียนและเครื่องแบบนักเรียน)
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1. จัดทำโครงการ
2. แต่งตั้งคณะกรรมดำเนินการ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
1. มอบหมายให้คณะกรรมการดำเนินการตามหน้าที่ได้รับผิดชอบ

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
1. ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจให้แก่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย
2. ดำเนินงานตามโครงการ
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
1. นักเรียนทุกคน ได้รับค่าเครื่องแบบนักเรียนและค่าอุปกรณ์การเรียนตามที่กำหนด

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
1. สรุปประเมินโครงการฯ
ขั้นตอนการติดตามผล (V2)
1. จัดทำรายงานโครงการ นำเสนอฝ่ายบริหาร
2. การนำผลการประเมิน หรือข้อเสนอแนะนำไปใช้ หรือปรับปรุง แก้ไข

1/11/2565 ถึง
30/6/2566

 

 

นางสาวมณีรัตน์ ตันวัฒนเสรี





พัฒนาระบบการบริหารงานการเงินและบัญชี

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้การบริหารงานการเงินและการบัญชีของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเป็นที่พึงพอใจแก่ผู้รับบริการ ให้เป็นไปตามคำขวัญการปฏิบัติงาน ทันสมัย ทันใจ ทันเวลา โปร่งใส ยึดระเบียบ และเป็นระบบ 2. เพื่อจัดหาเครื่องมือ อุปกรณ์ที่ทันสมัยมาใช้ในการปฎิบัติงานให้เกิดคุณภาพ
4, เชิงปริมาณ
 1. การปฏิบัติงานด้านการเงินและการบัญชีมีความถูกต้อง คิดเป็นร้อยละ 100 2. การให้บริการแก่ครูและบุคลากรของโรงเรียน เป็นที่พึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 95
เชิงคุณภาพ
 1. งานการเงินดำเนินการในการรับ-จ่ายเงินทุกประเภทได้ถูกต้องตามระเบียบ มีหลักฐานชัดเจน ถูกต้องโปร่งใส ตรวจสอบได้ เป็นที่พึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องอย่างมีคุณภาพในระดับดีมาก 2. งานบัญชี ดำเนินการจัดทำระบบบัญชี รายงานบัญชีการเงินทุกประเภทได้ถูกต้องตามระเบียบ มีความเป็นปัจจุบัน มีหลักฐานชัดเจน ถูกต้อง โปร่งใส ตรวจสอบได้ เป็นที่พึงพอใจแก่ผู้เกี่ยวข้องอย่างมีคุณภาพในระดับดีมาก
วิธีการ
 ตรวจสอบเอกสารหลักฐานการรับเงิน และการจ่ายเงิน
เครื่องมือ
 ตรวจสอบเอกสารหลักฐานการรับเงิน และการจ่ายเงิน

เงิน
อุดหนุนฯ
25,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : การพัฒนาระบบการปฏิบัติงานการเงินและบัญชี
ขั้นเตรียม
 1.ประชุมบุคลากรงานการเงินและงานบัญชี 2.สำรวจรายการเครื่องคอมพิวเตอร์ และเครื่องพิมพ์ (ทดแทนเครื่องเก่าที่ชำรุด จำนวน 2 ชุด) 3.สำรวจรายการวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการปฏิบัติงานสำนักงาน
ขั้นดำเนินการ
 1.เขียนโครงการเสนอขออนุมัติเงินงบประมาณในการดำเนินการตามโครงการ 2.ดำเนินการพัฒนาระบบบริหารงานการเงินและบัญชี ด้านเครื่องมือ อุปกรณ์ และด้านการปฏิบัติงานให้เกิดความรวดเร็ว เป็นปัจจุบัน เสนอรายงานการปฏิบัติให้ผู้บังคับบัญชาตามลำดับขั้น
ขั้นสรุป  1.ประเมินผลการปฏิบัติงานการเงินและงานบัญชี 2.จัดทำรายงานผลการประเมินกิจกรรมที่ 1 การพัฒนาระบบการปฏิบัติงานการเงินและบัญชี

1/12/2565 ถึง
31/8/2566

 

 

นายไพรัชน์ จารุจิระวงศ์





พัฒนางานพัสดุ

วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาครูผู้ปฏิบัติงานพัสดุและสินทรัพย์ให้มีความรู้เรื่องการพัสดุและการจัดทำแผนปฏิบัติการพัสดุที่ถูกต้อง ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ข้อความ 2. พื่ออำนวยความสะดวกในการเป็นระเบียบสะดวกต่อการให้บริการ 3.เพื่อควบคุมการเบิก – จ่ายพัสดุและจำหน่ายครุภัณฑ์ของโรงเรียน 4. เพื่อให้ได้ห้องปฏิบัติงานพัสดุที่เป็นระเบียบสะดวกต่อการให้บริการ
เชิงปริมาณ
 1. งานพัสดุมีวัสุอุปกรณ์ที่เพียงพอต่อความต้องการในการปฏิบัติงาน 2. โรงเรียนมีห้องงานพัสดุที่เป็นระเบียบสะดวกต่อการให้บริการ 1 ห้อง 3. เจ้าหน้าที่พัสดุทุกคนดำเนินการเป็นระเบียบสะดวกต่อการให้บริการ และคุมการเบิก – จ่ายพัสดุและจำหน่ายครุภัณฑ์ของโรงเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพข้อความ
เชิงคุณภาพ
 1. งานพัสดุมีวัสดุอปกรณ์เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมมีห้องงานพัสดุที่เป็นระเบียบสะดวกต่อการให้บริการ
วิธีการ
 สอบถามจากผู้เกี่ยวข้อง
เครื่องมือ
 สอบถามจากผู้เกี่ยวข้อง

เงิน
อุดหนุนฯ
25,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมพัฒนางานพัสดุและสินทรัพย์
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) 1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน 2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) 3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) 4. จัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบพัสดุ ขั้นตอนการประสานงาน(M2) 5. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1) 6. สรุปผลการดำเนินการ ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) 7. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป

19/10/2565 ถึง
19/10/2566

 

 

งานพัสดุและสินทรัพย์โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม





ปรับปรุงห้องงานพัสดุโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม

วัตถุประสงค์
1. เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมห้องงานพัสดุของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมที่ชำรุด ทรุดโทรม เป็นอันตรายต่อสุขภาพให้ใช้งานได้ตามปกติ และสวยงาม 2. เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่ดีในที่ทำงาน ให้เกิดบรรยากาศที่น่าทำงาน ส่งผลให้ผู้ปฏิบัติงานทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. เพื่อสร้างเสริม และรักษาสุขภาพอนามัยที่ดีให้กับเจ้าหน้าที่พัสดุโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
เชิงปริมาณ
 1.โรงเรียรนท่ามะกาวิทยาม มีห้องงานพัสดุที่มีสภาพแวดล้อมที่ดีในที่ทำงาน ให้เกิดบรรยากาศที่น่าทำงาน ส่งผลให้ผู้ปฏิบัติงานทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จำนวน 1 ห้อง
เชิงคุณภาพ
 1.โรงเรียรนท่ามะกาวิทยาม มีห้องงานพัสดุที่มีสภาพแวดล้อมที่ดีในที่ทำงาน ให้เกิดบรรยากาศที่น่าทำงาน ส่งผลให้ผู้ปฏิบัติงานทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ปฏิบัติงานมีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้น
วิธีการ
  สอบถามผู้เกี่ยวข้อง
เครื่องมือ
  สอบถามผู้เกี่ยวข้อง

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมปรับปรุงห้องงานพัสดุโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) 1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน 2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) 3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) 4. จัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบพัสดุ ขั้นตอนการประสานงาน(M2) 5. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1) 6. สรุปผลการดำเนินการ ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) 7. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป

19/10/2565 ถึง
19/10/2566

 

 

งานพัสดุโรงเรยนท่ามะกาวิทยาคม





งานธุรการ

วัตถุประสงค์
1. งานธุรการให้เป็นปัจจุบัน รวดเร็ว และทันสมัย
2. เพื่อบริการแก่ผู้มาติดต่อ
2,2, เชิงปริมาณ
 1. มีวัสดุอุปกรณ์ครบในการปฏิบัติงาน สามารถให้บริการแก่ผู้มาติดต่อ ร้อยละ 100

เชิงคุณภาพ
 1. เพื่อพัฒนางานธุรการให้เป็นปัจจุบัน รวดเร็ว และทันสมัย
2. มีสิ่งอำนวยความสะดวกบริการกับคณะครู บุคลากร นักเรียน และผู้มาติดต่องาน อยู่ในระดับดีขึ้นไป
วิธีการ
 
เครื่องมือ
 แบบประเมินความพึงพอใจ

เงิน
อุดหนุนฯ
38,225.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : พัฒนางานธุรการ
ขั้นเตรียม
 ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- แผนงาน/โครงการ ตรวจวัสดุ และสิ่งอำนวยความสะดวกอื่น ๆ ที่ต้องใช้ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- การกำหนดหน้าที่ภาระงาน

ขั้นดำเนินการ
 ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- การดำเนินงาน ดำเนินการสั่งซื้อ ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประสานงาน

ขั้นสรุป  ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- การประเมินผล รายงานผลการปฏิบัติงาน ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- การกำกับติดตาม

7/10/2565 ถึง
30/9/2566

 

 

นางสาวณัฐชนก บุตรดาวงษ์





พัฒนางานควบคุมภายใน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้กลุ่ม/งาน/ฝ่ายมีการจัดวางระบบการควบคุมภายในตามมาตรฐานที่กำหนดและเป็นไปตามระเบียบการควบคุมภายใน
2. เพื่อให้งานควบคุมภายในมีการดำเนินงานตามแผนการปรับรุงการควบคุมภายในและรายงานผลการควบคุมภายในต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
3. เพื่อพัฒนาการดำเนินงานของงานควบคุมภายในของโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
2, เชิงปริมาณ
 กลุ่ม/งาน/ฝ่าย วิเคราะห์ความเสี่ยง จัดทำแผนการควบคุมภายใน ติดตามและรายงานผลการควบคุมภายในจำนวน 5 กลุ่ม/งาน/ฝ่าย

เชิงคุณภาพ
 ร้อยละ 85 ของงานควบคุมภายในมีการวิเคราะห์ความเสี่ยง จัดทำแผนการควบคุมภายใน ติดตามและรายงานผลการควบคุมภายในของกลุ่ม/งาน/ฝ่าย
วิธีการ
 สอบถาม
เครื่องมือ
 สอบถาม

เงิน
อุดหนุนฯ
1,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : พัฒนางานควบคุมภายใน
ขั้นเตรียม
 การวางแผนการทำงานเป็นทีม T1 1. ประชุมคณะกรรมการฝ่ายบริหารโรงเรียน 2. ขออนุมัติโครงการ การกำหนดภาระหน้าที่งาน T2 3. แต่งตั้งคณะกรรมการและประชุมคณะกรรมการฝ่ายบริหารโรงเรียน
ขั้นดำเนินการ
 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่ M1 4. ติดตามการดำเนินงานตามแผนการควบคุมภายใน การประสานงาน M2 5. วิเคราะห์ความเสี่ยงและวางแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน
ขั้นสรุป  การประเมินผล V1 6. รายงานผลการควบคุมภายในต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การกำกับ ติดตาม V2 7. รายงานผลการปฏิบัติงาน

1/10/2565 ถึง
30/9/2566

 

 

นางอรอนงค์ ชัยประเสริฐ





สหกรณ์โรงเรียน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับหลักการของสหกรณ์
2. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนรู้จักประหยัดและมีการวางแผนในการใช้จ่ายบนพื้นฐานของความพอเพียง
3. เพื่อจัดหาอุปกรณ์การเรียนราคาถูกและคุณภาพดีมาบริการนักเรียน
1, เชิงปริมาณ
 1. นักเรียนร้อยละ 100 เป็นสมาชิกสหกรณ์โรงเรียน
2. นักเรียนร้อยละ 80 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและวิธีการของสหกรณ์
3. นักเรียนร้อยละ 80 รู้จักประหยัดและมีการวางแผนในการใช้จ่ายอย่างพอเพียง
4. นักเรียนร้อยละ 80 ได้ซื้ออุปกรณ์การเรียนในราคาถูกและมีคุณภาพ

เชิงคุณภาพ
 1. นักเรียนรู้และเข้าใจบทบาทของการเป็นสมาชิกสหกรณ์และปฏิบัติตนเป็นสมาชิกสหกรณ์ที่ดีได้อย่างเหมาะสม
2. นักเรียนมีนิสัยประหยัดอดออมและใช้จ่ายอย่างพอเพียง
วิธีการ
 
เครื่องมือ
 

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : สหกรณ์ร้านค้า
ขั้นเตรียม
 การวางแผนการทำงานเป็นทีม T1
เสนอโครงการ
การกำหนดภาระหน้าที่งาน T2
ออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน

ขั้นดำเนินการ
 การปฏิบัติตามภาระหน้าที่ M1
คณะกรรมการดำเนินงานปฏิบัติหน้าที่ตามคำสั่ง
การประสานงาน M2
ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน

ขั้นสรุป  การประเมินผล V1
1.สำรวจความพึงพอใจ
2.สรุปผลความพึงพอใจ
การกำกับติดตาม V2
จัดทำรายงานโครงการและติดตามการดำเนินโครงการ

1/10/2565 ถึง
30/9/2566

 

 

นางสาวรุจิเรข ฉอยทิม





ร้านค้าสวัสดิการโรงเรียน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้คณะครู-บุคลากรและนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมรู้จักเลือกซื้อสินค้า อุปโภคบริโภคที่ดีมีประโยชน์ต่อร่างกาย
2. เพื่อเป็นการฝึกฝนให้นักเรียนมีความรับผิดชอบ เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต
3.เพื่อเป็นการฝึกฝนให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถทำงานเป็นทีม
4.เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
3,4,5, เชิงปริมาณ
 1. มีสินค้าอุปโภคบริโภคที่หลากหลายและจำนวนที่เหมาะสม สำหรับการให้บริการ กับคณะครู บุคลากรและนักเรียน ของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมทุกคน อย่างน้อยร้อยละ80

เชิงคุณภาพ
 1. มีสินค้าอุปโภคบริโภคที่มีคุณภาพดีบริการให้กับคณะครู บุคลากร และนักเรียน ของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมทุกคน
วิธีการ
 
เครื่องมือ
 

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : สวัสดิการร้านค้าโรงเรียน
ขั้นเตรียม
 1.แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน T2 - Tabulation to organization (การกำหนดหน้าที่ภาระงาน)
2.ประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินงาน T1 - Team management to framework(การวางแผนและการทำงานเป็นทีม)

ขั้นดำเนินการ
 1.ดำเนินงานตามแผนที่วางไว้ตามหลักการและวิธีการของสวัสดิการร้านค้าโรงเรียนโดยยึดหลักตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง M1-(ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่)
2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม M2- Making a correlation (การประสานงาน)

ขั้นสรุป  1.รายงานผลการดำเนินงาน V1 - Validity to evaluation (การประเมินผล)
2.บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม V2- (ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม)

1/10/2565 ถึง
30/9/2566

 

 

นายวุฒิชัย เนียมหอม





ประเมินผลการปฏิบัติงานด้านบริหารงบประมาณ ปีงบประมาณ 2566

วัตถุประสงค์
1. เพื่อประเมินผลการปฏิบัติด้านการบริหารงบประมาณให้เป็นไปตามที่โรงเรียนกำหนด>
เชิงปริมาณ
 1.กลุ่มบริหารงานงบประมาณ สามารถประเมินผลการปฏิบัติงานของงานต่างๆ ตามขอบข่ายการปฏิบัติงานของกลุ่มบริหารงานงบประมาณ ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
เชิงคุณภาพ
 1.กลุ่มบริหารงานงบประเมิน มีการบริหารงานด้านงบประมาณได้เป็นที่พึงพอใจในระดับดีมาก
วิธีการ
  สอบถามความคิดเห็นจากผู้เกี่ยวข้อง
เครื่องมือ
  สอบถามความคิดเห็นจากผู้เกี่ยวข้อง

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : การประเมินผลการปฏิบัติงานด้านการบริหารงบประมาณ
ขั้นเตรียม
 1.ประชุมหัวหน้างานแต่ละงานของกลุ่มบริหารงานงบประมาณ 2.วางแผนการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน 3.จัดทำปฏิทินการปฏิบัติงานของกลุ่มบริหารงานงบประมาณ
ขั้นดำเนินการ
 1.แต่งตั้งคณะกรรมการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานของกลุ่มบริหารงานงบประมาณ 2.จัดทำแบบติดตามและแบบประเมินผลการปฏิบัติงาน 3.ประเมินผลการปฏิบัติงานด้านการบริหารงบประมาณ
ขั้นสรุป  1.นำผลการประเมินมาสรุปรวบรวม 2.รายงานผลการปฏิบัติงานของกลุ่มบริหารงานงบประมาณ

10/9/2566 ถึง
25/9/2566

 

 

นายไพรัชน์ จารุจิระวงศ์ ผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายบริหารงบประมาณ