รหัสโครงการ 2-05-1
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2565
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
กลุ่มสาระ/งาน งานบริหารพัสดุและสินทรัพย์
ชื่อโครงการ พัฒนางานพัสดุ
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ -
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและจัดการเรียนรู้
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน -
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางดุจดาว นุชนุ่ม

1. หลักการและเหตุผล

           งานพัสดุและสินทรัพย์ เป็นงานส่วนหนึ่งของการบริหารงบประมาณ ตามนโยบายของรัฐบาล โดยมีจุดประสงค์เพื่อมุ่งเน้น ให้หน่วยงานและ บุคลากร ผู้รับผิดชอบปฏิบัติงานด้านงบประมาณให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ โปร่งใส สามารถ ตรวจสอบได้ และเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุและสินทรัพย์ให้เป็นไปอย่างมีระบบ ดังนั้น การดำเนินงานเกี่ยวกับพัสดุและ สินทรัพย์ จึงต้องกระทำด้วยความรอบคอบ มีหลักฐานที่ชัดเจนตรวจสอบได้ โรงเรียน ท่ามะกาวิทยาคมจึงได้จัดทำโครงการโครงการ พัฒนางานพัสดุขึ้นเพื่อให้การดำเนินการเบิกจ่ายวัสดุ ครุภัณฑ์ของโรงเรียนที่ใช้ในการ สนับสนุนกิจกรรมตามแผนงานโครงการต่างๆ ของ โรงเรียนให้เป็นไปอย่างถูกต้องรวดเร็ว มีการตรวจรับ การจัดซื้อจัดจ้าง การลงทะเบียน ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพอันจะส่งผลต่อการ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนและพัฒนา
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับสถานที่จัดโครงการ/กิจกรรม
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ผู้บริหารการจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์
- มีการประชุม ปรึกษาหารืออย่างสม่ำเสมอ
- มีการใช้ข้อมูลงานลักษณะนี้มาวางแผนการจัดการอย่างต่อเนื่อง
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- ความขยัน อดทน
- ความมีสติปัญญา รู้ผิดรู้ชอบ ตัดสินใจกระทำการใด ๆ บนเหตุผล
-

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - ปฏิบัติตามกฎหมาย
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม - มีคุณธรรม มีความรัก เมตตาต่อคนอื่น และสรรพสิ่งต่าง ๆ
- ซื่อสัตย์สุทจริต
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อพัฒนาครูผู้ปฏิบัติงานพัสดุและสินทรัพย์ให้มีความรู้เรื่องการพัสดุและการจัดทำแผนปฏิบัติการพัสดุที่ถูกต้อง ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ข้อความ 2. พื่ออำนวยความสะดวกในการเป็นระเบียบสะดวกต่อการให้บริการ 3.เพื่อควบคุมการเบิก – จ่ายพัสดุและจำหน่ายครุภัณฑ์ของโรงเรียน 4. เพื่อให้ได้ห้องปฏิบัติงานพัสดุที่เป็นระเบียบสะดวกต่อการให้บริการ

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. งานพัสดุมีวัสุอุปกรณ์ที่เพียงพอต่อความต้องการในการปฏิบัติงาน 2. โรงเรียนมีห้องงานพัสดุที่เป็นระเบียบสะดวกต่อการให้บริการ 1 ห้อง 3. เจ้าหน้าที่พัสดุทุกคนดำเนินการเป็นระเบียบสะดวกต่อการให้บริการ และคุมการเบิก – จ่ายพัสดุและจำหน่ายครุภัณฑ์ของโรงเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพข้อความ
  เชิงคุณภาพ
    1. งานพัสดุมีวัสดุอปกรณ์เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมมีห้องงานพัสดุที่เป็นระเบียบสะดวกต่อการให้บริการ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 21/9/2564          ถึงวันที่ : 21/9/2565

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมพัฒนางานพัสดุและสินทรัพย์
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) 1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน 2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) 3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) 4. จัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบพัสดุ ขั้นตอนการประสานงาน(M2) 5. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) 6. สรุปผลการดำเนินการ ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) 7. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 30900 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ห้องงานพัสดุโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 21/9/2564     ถึงวันที่ 21/10/2564
  ผู้รับผิดชอบ นางดุจดาว นุชนุ่ม และคณะ

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 30,900.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 30,900.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
งานการเงิน
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. การบริหารงานพัสดุ สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว โปร่งใส ถูกต้อง ตามระเบียบของทางราชการ 2. มีระบบการติดตาม กำกับ ตรวจสอบ และพัฒนาระบบการบริหารงานพัสดุ 3. ผู้รับบริการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความพึงพอใจต่อการให้บริการ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติอาจไม่เพียงพอต่อการบริหารจัดการ

 

 

รหัสโครงการ 2-01-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2565
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
กลุ่มสาระ/งาน งานนโยบายและแผน
ชื่อโครงการ พัฒนางานแผนงาน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ -
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน -
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวศิริพร วัชรชัยโสภณสิริ

1. หลักการและเหตุผล

           ในแต่ละปีงบประมาณ สถานศึกษาจะได้รับงบประมาณจัดสรรจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หน่วยงานต่าง ๆ ใน การสนับสนุนงบประมาณเพื่อใช้ในการบริหารจัดการของสถานศึกษาซึ่งสถานศึกษามีภาระกลุ่มงานในการบริหาร จัดการใน 5 แผนงาน ได้แก่ แผนงานวิชาการ แผนงานงบประมาณ แผนงานบริหารบุคคล แผนงานบริหารงานทั่วไป และแผนงานกิจการนักเรียน โรงเรียน จะต้องบริหารจัดการภาระแผนงานดังกล่าวให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาที่กำหนดและทุกกลุ่มงาน โดยการมีส่วนร่วมของคณะครู คณะกรรมการสถานศึกษา และมีการดำเนินงานตามโครงการมีการสรุปรายงานโครงการ มีการรายงานผลแผนปฏิบัติการ ประจำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เพื่อให้การตรวจสอบได้ ทางโรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นโดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพียงของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช มาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับสถานที่จัดโครงการ/กิจกรรม
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ผู้บริหารการจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและชุมชน
- มีการประชุม ปรึกษาหารืออย่างสม่ำเสมอ
- มีการใช้ข้อมูลงานลักษณะนี้มาวางแผนการจัดการอย่างต่อเนื่อง
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- ความรู้ด้านการวัดผล การประเมินผล
- ความรู้ด้านการบริหารจัดการ การศึกษา

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - ปฏิบัติตามกฎหมาย
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม - ซื่อสัตย์สุทจริต
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565 ของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ
2. เพื่อพัฒนางานแผนงานและเผยแพร่ข้อมูลงานแผนงาน

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. คณะครู และบุคลากร ร้อยละ 95 มีส่วนร่วมในการวางแผนด้านนโยบาย แผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการของโรงเรียน
2. คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้แทนชุมชน ผู้ปกครอง ร้อยละ 90 มีส่วนร่วมในการพัฒนา / ปรับปรุงแผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการของโรงเรียน
3. จัดทำรูปเล่มแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565 จำนวน 20 เล่ม
  เชิงคุณภาพ
    1. โรงเรียนมีแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565 ที่ถูกต้องสมบูรณ์
2. ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่าย มีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 อยู่ในระดับยอดเยี่ยม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2564          ถึงวันที่ : 30/9/2565

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    จัดประชุมและทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- จัดทำโครงการ
- เสนอกิจกรรมเพื่ออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง และออกคำสั่งการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประชุมเชิงปฏิบิติการ จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 1700 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/9/2565     ถึงวันที่ 30/9/2565
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวศิริพร วัชรชัยโสภณสิริ
    กิจกรรมที่ 2    พัฒนานโยบายและแผนงาน
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- จัดทำโครงการ
- วางแผนการปฏิบัติงาน
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง และออกคำสั่งการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- จัดทำแผนป้ายประชาสัมพันธ์ จัดทำรูปเล่มแผนพัฒนาคุณภาพ
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 2500 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2564     ถึงวันที่ 30/9/2565
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวศิริพร วัชรชัยโสภณสิริ
    กิจกรรมที่ 3    อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนโครงการ/กิจกรรม
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- จัดทำโครงการ
- เสนอกิจกรรมเพื่ออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง และออกคำสั่งการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประชุมเชิงปฏิบิติการเขียนโครงการ/กิจกรรม
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/8/2565     ถึงวันที่ 30/9/2565
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวศิริพร วัชรชัยโสภณสิริ

   รวม 3 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 4,200.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 4,200.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คณะครูโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. โรงเรียนมีการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565
2. การดำเนินงานตามโครงการ บรรลุผลสำเร็จมีคุณภาพและมีมาตรฐานการศึกษาที่กำหนด
3. คุณครูสามารถเขียนโครงการ/กิจกรรมได้อย่างถูกต้องและสมบูณณ์
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 2-02-5
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2565
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
กลุ่มสาระ/งาน งานติดตามฯ งาน/โครงการ
ชื่อโครงการ การติดตามและประเมินผล
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ -
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน -
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายก่อกิจ ธีราโมกข์

1. หลักการและเหตุผล

           การติดตาม (Monitoring) และการประเมินผล (Evaluation) เป็นพันธกิจหลักในการควบคุมงาน ในระบบการบริหารนั้นการ ควบคุม คือ การตรวจสอบการทำงานและกำกับการปฏิบัติ (Checking and directing actions) โดยการติดตามตรวจสอบและ เก็บรวบรวมข้อมูลผลการปฏิบัติงานที่ปฏิบัติได้จริงแล้วนำมาเปรียบเทียบกับเป้าหมาย หรือกับมาตรฐานที่ได้กำหนดไว้ แล้วกำหนดวิธี ดำเนินการที่เหมาะสมหรือวิธีการในการแก้ไขปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป

การติดตามและประเมินผล เป็นส่วนสำคัญของการบริหารโครงการอย่างยิ่ง ข้อมูลที่จะใช้ใน การรายงานของโครงการ แสดงถึงการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ เพื่อนำไปใช้เป็นประโยชน์ในการตัดสินใจแก้ไข ปรับปรุงวิธีการ ตามแผนปฏิบัติงานที่วางไว้ ดังนั้น ระบบการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน โดยใช้เครื่องมือ วิธีการที่มีคุณภาพ จะสามารถเก็บ รวบรวมข้อมูลการปฏิบัติงานตามแผนงาน/โครงการ นำมาซึ่งการตรวจสอบและประเมินการปฏิบัติงานตามแผนที่วางไว้ ส่งผลให้มี ข้อมูล (Record) หรือการรายงาน (Report) เพื่อช่วยให้ผู้บริหารใช้ในการตัดสินใจ ว่างานที่กำลังปฏิบัติอยู่สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ที่วางไว้หรือไม่ สมควรดำเนินการต่อ หรือแก้ไขปรับปรุงอย่างไรต่อไป ตลอดจนผลการประเมินสามารถมีนวัตกรรมการ บริหารจัดการที่ดีเป็นต้นแบบ และมีบุคลากรที่มีผลงานเชิงประจักษ์

โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องจัดทำโครงการติดตามและ ประเมินผลการดำเนินการปฏิบัติงาน เพื่อช่วยให้ฝ่ายบริหารได้มีข้อมูลใช้ในการพิจารณาวางแผนการดำเนินงานในปีต่อไปได้อย่างมี ประสิทธิภาพ


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ผู้บริหารการจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์
-
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
-

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - ปฏิบัติตามกฎหมาย
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม - ซื่อสัตย์สุทจริต
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อกำกับ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ 2565
2. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของบุคลากรในโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ในการกำกับ ติดตาม และประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานอย่างถูกต้องด้วยเครื่องมือและวิธีการที่มีคุณภาพ
3. เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. เอกสารรายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565
2. เอกสารรายงานผลการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของสถานศึกษา
  เชิงคุณภาพ
    1. โรงเรียนมีข้อมูลผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565 ใช้ในการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมสามารถรายงานผลการดำเนินงานโครงการและกิจกรรม ครบทุกตัวชี้วัดในกลยุทธ์ ตามกำหนดระยะเวลา และมีผลการประเมินในภาพรวมอยู่ในระดับดีเยี่ยม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2564          ถึงวันที่ : 30/9/2565

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การติดตาม ประเมินผลปีงบประมาณ 2565
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- จัดทำโครงการ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- การสร้างเครื่องมือการติดตามและประเมินผล
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- ประชุมวางแผนการติดตามและประเมินผลฯ
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- การติดตามและประเมินผลฯ แต่ละโครงการ/กิจกรรม
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- ผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ
- รายงานผลการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของสถานศึกษา
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 300 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2564     ถึงวันที่ 30/9/2565
  ผู้รับผิดชอบ นายก่อกิจ ธีราโมกข์

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 300.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 300.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
บุคลากรโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
- มีการติดตามและประเมินผลการการปฏิบัติงาน ตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565
- มีรายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565
- มีรายงานผลการติดตามและประเมินผลการดำเนินโครงการของสถานศึกษา
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
ปัจจัยความเสี่ยง
- การติดตามงานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ไม่มีกำหนดการที่แน่นอน
แนวทางการบริหารความเสี่ยง
1. จัดทำรายงานผลการดำเนินงานทุกระยะ รอบ 6 เดือน เพื่อเตรียมพร้อมรับการประเมินจากทุกหน่วยงาน
2. มีการปรับเปลี่ยนข้อมูลให้ทันสมัยอยู่เสมอ

 

 

รหัสโครงการ 2-04-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2565
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
กลุ่มสาระ/งาน งานบริหารการเงินและบัญชี
ชื่อโครงการ เรียนฟรี 15 ปีอย่างมีคุณภาพ (อุปกรณ์การเรียนและเครื่องแบบนักเรียน)
ลักษณะโครงการ โครงการใหม่
ยุทธศาสตร์ -
จุดเน้น กระทรวงฯ -
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 4. สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน -
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวพิชญา ภิญญากุล

1. หลักการและเหตุผล

          

กรณีต้องการย่อหน้าที่ 2

กระทรวงศึกษาธิการได้จัดให้มีนโยบายเรียนฟรี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ มุ่งหวังที่จะให้ เป็นโครงการหนึ่งเพื่อช่วยแก้สภาวะเศรษฐกิจของประเทศที่กำลังเกิดขึ้นในขณะนี้ ตามมาตรการที่รัฐต้องการจะหมุนเวียนเงินใน ระดับพื้นที่และลดภาระค่าครองชีพของประชาชน และที่สำคัญเป็นการขยายโอกาสทางการศึกษาให้แก่เด็กยากจน และเด็กด้อย โอกาสทั่วประเทศกระทรวงศึกษาธิการได้จัดสรรงบประมาณ สนับสนุนค่าใช้ข่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อเป็นการรองรับการใช้จ่ายงบประมาณดังกล่าว โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อดำเนิน การจัดซื้อเครื่องแบบนักเรียนให้แก่นักเรียนโดยกำหนดวิธีการให้ถูกต้องตามระเบียบของราชการ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ
- มีการประชุม ปรึกษาหารืออย่างสม่ำเสมอ
- มีการประสานงานกับกลุ่มเป้าหมาย ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
-

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - นักเรียนอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม - มีคุณธรรม มีความรัก เมตตาต่อคนอื่น และสรรพสิ่งต่าง ๆ
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายสำหรับอุปกรณ์การเรียนและเครื่องแบบนักเรียนที่ภาครัฐให้การสนับสนุนครบถ้วนทุกคน

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนทุกคนได้รับเงินค่าอุปกรณ์การเรียน ปีการศึกษาละ 2 ครั้ง ร้อยละ 100
2. นักเรียนทุกคนได้รับเงินค่าเครื่องแบบนักเรียน ปีการศึกษาละ 1 ครั้ง ร้อยละ 100
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนทุกคนในโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมได้รับการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายสำหรับค่าเครื่องแบบนักเรียนและค่าอุปกรณ์การเรียนที่ภาครัฐให้การสนับสนุน

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2564          ถึงวันที่ : 30/9/2565

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    เรียนฟรี 15 ปีอย่างมีคุณภาพ (อุปกรณ์การเรียนและเครื่องแบบนักเรียน)
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1. จัดทำโครงการ
2. แต่งตั้งคณะกรรมดำเนินการ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
1. มอบหมายให้คณะกรรมการดำเนินการตามหน้าที่ได้รับผิดชอบ
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
1. ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจให้แก่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย
2. ดำเนินงานตามโครงการ
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
1. นักเรียนทุกคน ได้รับค่าเครื่องแบบนักเรียนและค่าอุปกรณ์การเรียนตามที่กำหนด
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล (V1) 1. สรุปประเมินโครงการฯ
ขั้นตอนการติดตามผล (V2)
1. จัดทำรายงานโครงการ นำเสนอฝ่ายบริหาร
2. การนำผลการประเมิน หรือข้อเสนอแนะนำไปใช้ หรือปรับปรุง แก้ไข
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 1811610 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2564     ถึงวันที่ 30/9/2565
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวมณีรัตน์ ตันวัฒนเสรี

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 1,811,610.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 1,811,610.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1. โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
2. ผู้บริหาร คณะครู และนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนได้รับการสนับสนุนรายการ อุปกรณ์การเรียนและ เครื่องแบบนักเรียน อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม
2. นักเรียนมีความพร้อมที่จะเรียน เนื่องจากได้รับการสนับสนุนอุปกรณ์การเรียน และเครื่องแบบนักเรียนครบทุกคน
3. ผู้ปกครองนักเรียนได้รับการบรรเทาภาระค่าครองชีพ เนื่องจากลดค่าใช้จ่ายในเรื่อง อุปกรณ์การเรียน เครื่องแบบนักเรียน กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน สามารถนำเงินส่วนนี้ไปใช้ในชีวิตประจำวันในเรื่องอื่น ๆ ได้ เป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจได้อีกทางหนึ่ง
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 2-03-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2565
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
กลุ่มสาระ/งาน การจัดทำต้นทุนผลผลิตต่อหน่วย
ชื่อโครงการ คำนวณต้นทุนผลผลิต
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ -
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน -
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวน้ำฝน ใจผ่อง

1. หลักการและเหตุผล

          พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองทีดี พ.ศ. 2546 หมวด 4 การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ มาตรา 21 วรรคแรก ให้ส่วนราชการจัดทำบัญชีต้นทุนในงานบริการสาธารณะแต่ละประเภทขึ้น ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กรมบัญชีกลางกำหนด วรรคสอง ให้ส่วนราชการคำนวณรายจ่ายต่อหน่วยของงานบริการสาธารณะทีรับผิด ชอบตามระยะเวลาทีกรมบัญชีกลางกำหนด และรายงานให้ สงป. กรมบัญชีกลาง และ ก.พ.ร. ทราบ วรรคสาม ให้ส่วนราชการจัดทำ แผนการลดรายจ่ายต่อหน่วยของงานบริการสาธารณะดังกล่าว เสนอ สงป. กรมบัญชีกลาง และ ก.พ.ร. ทราบ

โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมจึงจัดให้มีการบริหารงบประมาณตามนโยบายภาครัฐ เป็นงบประมาณแบบ มุ่งเน้นผลงานเชิงยุทธศาสตร์ ( Stratcgic Performance Base Budgcting : SPBB) ที่ใช้เป็นแนวทางของทุกส่วนราชการ เพื่อนำไปจัด ทำแผนการให้บริการ กำหนดเป็นผลผลิต และตัวชี้วัดความสำเร็จ กระบวนการดังกล่าว สถานศึกษาจะต้อง จัดทำเป็นแผนงาน/โครงการ โดยมีกิจกรรมแสดงเป็นรายละเอียดการทำงาน เพื่อกำหนดให้มี การคำนวณต้นทุนผลผลิต การวิเคราะห์ความคุ้มค่าของต้นทุนผลผลิตนำ ผลการวิเคราะห์ไปใช้ในการปรับปรุงการพัฒนาการศึกษา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของโรงเรียน


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ผู้บริหารการจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์
- มีการใช้ข้อมูลงานลักษณะนี้มาวางแผนการจัดการอย่างต่อเนื่อง
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- ความมีสติปัญญา รู้ผิดรู้ชอบ ตัดสินใจกระทำการใด ๆ บนเหตุผล
- ความรู้ด้านการบริหารจัดการ การศึกษา

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม - ซื่อสัตย์สุทจริต
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการทางการเงินของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
2. เพื่อการเปรียบเทียบความคุ้มค่าระหว่างปัจจัยนำเข้ากับผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
3. เพื่อจัดทำการคำนวณต้นทุนผลผลิตและคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ 2565

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. สามารถนำรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิตนำไปใช้ประโยชน์ได้ร้อยละ 100
  เชิงคุณภาพ
    1. โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมมีการพัฒนาการบริหารจัดการทางการเงิน

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 15/9/2565          ถึงวันที่ : 30/9/2565

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การจัดทำรายงานคำนวณต้นทุนผลผลิตต่อหน่วย
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1. ปรับปรุงโครงการโดยการนำผลประเมินโครงการของปีก่อนหน้า มาปรับปรุงขั้นตอนการดำเนินงาน หรือขั้นตอนการประเมินผล
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
2. จัดทำคำสั่งการดำเนินงาน โดยใช้คำสั่งของขอบข่ายงานของปีงบประมาณ 2565
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
1. การติดตามข้อมูลในโครงการการคำนวณต้นทุนผลผลิต ในระยะที่ 1 (ตุลาคม 64 - เมษายน 65)
2. การติดตามข้อมูลในโครงการการคำนวณต้นทุนผลผลิต ในระยะที่ 1 (เมษายน 65 - กันยายน 65)
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
3. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
1. สรุปผลการประเมินกิจกรรม โดยการจัดทำรูปเล่มรายงานผลการคำนวณต้นทุนผลผลิต และ จัดทำคำรับรองการปฏิบัติปีงบประมาณ 2565
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
2. บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรมการคำนวณต้นทุนผลผลิตต่อผู้บริหาร และนำข้อเสนอแนะจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับกิจกรรมนี้มาปรับใช้ในครั้งต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 15/9/2565     ถึงวันที่ 30/9/2565
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวน้ำฝน ใจผ่อง

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
-
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมมีการคำนวณต้นทุนผลผลิตได้ถูกต้องและสามารถจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการนำไปใช้ในการบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 2-10-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2565
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
กลุ่มสาระ/งาน งานประเมินผลการปฏิบัติงานด้านบริหารงบประมาณ
ชื่องาน งานประเมินผลการปฏิบัติงานด้านบริหารงบประมาณ
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ -
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน -
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายไพรัชน์ จารุจิระวงศ์

1. หลักการและเหตุผล

           ตามขอบข่ายการปฏิบัติงานของกลุ่มบริหารงานงบประมาณ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ได้แบ่งงานออกเป็น 10 งานด้วยกัน โดยงาน ทุกงานมีความสัมพันธ์สอดคล้องกัน ดังนั้นเมื่อมีการดำเนินการ การปฏิบัติงานของทุกงานแล้ว จำเป็นต้องมีการประเมินผลการปฏิบัติงานใน ภาพรวมของกลุ่มบริหารงานด้านงบประมาณ เพื่อที่จะได้นำผลการประเมินไปใช้ในการวางแผนการปฏิบัติงานในปีต่อๆไปเพื่อให้เกิดการ พัฒนางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในปีงบประมาณ 2565 งานประเมินผลการปฏิบัติงานด้านการบริหารงบประมาณ ได้มีการวางแผนงาน ร่วมกันของทุกงานในการที่จะติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน เมื่อสิ้นสุดโครงการหรือกิจกรรม เพื่อนำผลมาสรุปรวบรวมและรายงาน เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานการปฏิบัติงานของกลุ่มบริหารงานงบประมาณ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับสถานที่จัดโครงการ/กิจกรรม
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและชุมชน
- มีการประชุม ปรึกษาหารืออย่างสม่ำเสมอ
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
-

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - ปฏิบัติตามกฎหมาย
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม - ซื่อสัตย์สุทจริต
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อประเมินผลการปฏิบัติด้านการบริหารงบประมาณให้เป็นไปตามที่โรงเรียนกำหนด

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1.กลุ่มบริหารงานงบประมาณ สามารถประเมินผลการปฏิบัติงานของงานต่างๆ ตามขอบข่ายการปฏิบัติงานของกลุ่มบริหารงานงบประมาณ ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
  เชิงคุณภาพ
    1.กลุ่มบริหารงานงบประเมิน มีการบริหารงานด้านงบประมาณได้เป็นที่พึงพอใจในระดับดีมาก

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/12/2564          ถึงวันที่ : 10/9/2565

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การประเมินผลการปฏิบัติงานด้านการบริหารงบประมาณ
  ขั้นเตรียมการ 1.ประชุมหัวหน้างานแต่ละงานของกลุ่มบริหารงานงบประมาณ 2.วางแผนการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน 3.จัดทำปฏิทินการปฏิบัติงานของกลุ่มบริหารงานงบประมาณ
  ขั้นดำเนินการ 1.แต่งตั้งคณะกรรมการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานของกลุ่มบริหารงานงบประมาณ 2.จัดทำแบบติดตามและแบบประเมินผลการปฏิบัติงาน 3.ประเมินผลการปฏิบัติงานด้านการบริหารงบประมาณ
  ขั้นสรุป 1.นำผลการประเมินมาสรุปรวบรวม 2.รายงานผลการปฏิบัติงานของกลุ่มบริหารงานงบประมาณ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ห้องรองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานงบประมาณ /ห้องการเงิน
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/12/2564     ถึงวันที่ 10/9/2565
  ผู้รับผิดชอบ นายไพรัชน์ จารุจิระวงศ์ ผู้ช่วยผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานงบประมาณ

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
งานประเมินผลการปฏิบัติงานด้านการบริหารงบประมาณ / กลุ่มบริหารงานงบประมาณ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. กลุ่มบริหารงานงบประมาณสามารถบริหารงานตามขอบข่ายการปฏิบัติงานได้ตามมาตรฐานการปฏิบัติงานที่กำหนด 2. โรงเรียนมีมาตรฐานการปฏิบัติงานที่ดีมีคุณภาพ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
มีความเสี่ยงน้อย

 

 

รหัสโครงการ 2-04-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2565
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
กลุ่มสาระ/งาน งานบริหารการเงินและบัญชี
ชื่อโครงการ พัฒนาระบบการบริหารงานการเงินและบัญชี
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ -
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน -
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายไพรัชน์ จารุจิระวงศ์

1. หลักการและเหตุผล

           การบริหารงานการเงินและการบัญชีของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมในปีงบประมาณ 2565 จะดำเนินการให้บริการแก่ครู บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครอง ผู้ขาย ผู้รับจ้าง และผู้เกี่ยวข้องที่มีส่วนได้ส่วนเสีย ภายใต้กรอบของความโปร่งใสในการป้องกันการทุจริต(ITA) โดย น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและพระราโชบายในการบริหารงานให้เกิดผลดีต่อองค์กร โดยการบริหารงานการเงินและงานบัญชี มีบุคลากรที่มีความมุงมั่นที่จะปฏิบัติงานให้เกิดผลสำเร็จแต่ยังขาดแคลนในด้านเครื่องมืออุปกรณ์และระบบที่ทันสมัย เช่น เครื่อง คอมพิวเตอร์ประมวลผล เครื่องพิมพ์มัลติฟังก์ชั่น มาทดแทนเครื่องเก่าที่ชำรุดทรุดโทรมไปตามอายุการใช้งาน ดังนั้นจึงได้เสนอโครงการ พัฒนาระบบบริหารงานการเงินและบัญชี เพื่อขอสนับสนุนเงินงบประมาณในการพัฒนาระบบงานการเงินและบัญชีให้เกิดประสิทธิภาพใน ปีงบประมาณ 2565 นี้
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ผู้บริหารการจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์
- มีการประชุม ปรึกษาหารืออย่างสม่ำเสมอ
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- - ความรู้ด้านการบริหารจัดการ การศึกษา

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - ปฏิบัติตามกฎหมาย
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม - ซื่อสัตย์สุทจริต
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้การบริหารงานการเงินและการบัญชีของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเป็นที่พึงพอใจแก่ผู้รับบริการ ให้เป็นไปตามคำขวัญการปฏิบัติงาน ทันสมัย ทันใจ ทันเวลา โปร่งใส ยึดระเบียบ และเป็นระบบ 2. เพื่อจัดหาเครื่องมือ อุปกรณ์ที่ทันสมัยมาใช้ในการปฎิบัติงานให้เกิดคุณภาพ

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. การปฏิบัติงานด้านการเงินและการบัญชีมีความถูกต้อง คิดเป็นร้อยละ 100 2. การให้บริการแก่ครูและบุคลากรของโรงเรียน เป็นที่พึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
  เชิงคุณภาพ
    1. งานการเงินดำเนินการในการรับ-จ่ายเงินทุกประเภทได้ถูกต้องตามระเบียบ มีหลักฐานชัดเจน ถูกต้องโปร่งใส ตรวจสอบได้ เป็นที่พึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องอย่างมีคุณภาพในระดับดีมาก 2. งานบัญชี ดำเนินการจัดทำระบบบัญชี รายงานบัญชีการเงินทุกประเภทได้ถูกต้องตามระเบียบ มีความเป็นปัจจุบัน มีหลักฐานชัดเจน ถูกต้อง โปร่งใส ตรวจสอบได้ เป็นที่พึงพอใจแก่ผู้เกี่ยวข้องอย่างมีคุณภาพในระดับดีมาก

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/12/2564          ถึงวันที่ : 31/5/2565

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การพัฒนาระบบการปฏิบัติงานการเงินและบัญชี
  ขั้นเตรียมการ 1.ประชุมบุคลากรงานการเงินและงานบัญชี 2.สำรวจรายการเครื่องคอมพิวเตอร์ และเครื่องพิมพ์ ที่ต้องการใช้งาน(ทดแทนเครื่องเก่าที่ชำรุด จำนวน 2 ชุด) 3.สำรวจรายการวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการปฏิบัติงานสำนักงาน เช่น ตู้เก็บเอกสารหลักฐานทางการเงิน
  ขั้นดำเนินการ 1.เขียนโครงการเสนอขออนุมัติเงินงบประมาณในการดำเนินการตามโครงการ 2.ดำเนินการพัฒนาระบบบริหารงานการเงินและบัญชี ด้านเครื่องมือ อุปกรณ์ และด้านการปฏิบัติงานให้เกิดความรวดเร็ว เป็นปัจจุบัน เสนอรายงานการปฏิบัติให้ผู้บังคับบัญชาตามลำดับขั้น
  ขั้นสรุป 1.ประเมินผลการปฏิบัติงานการเงินและงานบัญชี 2.จัดทำรายงานผลการประเมินกิจกรรมที่ 1 การพัฒนาระบบการปฏิบัติงานการเงินและบัญชี
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 37630 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ห้องการเงิน โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/12/2564     ถึงวันที่ 25/12/2564
  ผู้รับผิดชอบ นายไพรัชน์ จารุจิระวงศ์

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 37,630.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 37,630.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
งานการเงินและบัญชี /กลุ่มบริหารงานงบประมาณ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม เป็งองค์กรแห่งความโปร่งใส เป็นธรรม และตรวจสอบได้ 2.ฝ่ายบริหารงานงบประมาณสามารถบริหารงานการเงินและบัญชีได้ตามปฏิทินการปฏิบัติงาน 3.โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเป็นองค์กรแห่งความสุข ครูได้รับการบริการด้านการเงินและบัญชีแบบกัลยาณมิตร
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
มีความเสี่ยงน้อย เพราะมีระเบียบ วิธีการ แนวปฏิบัติด้านการเงินและบัญชีที่ชัดเจน

 

 

รหัสโครงการ 2-08-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2565
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
กลุ่มสาระ/งาน งานสหกรณ์
ชื่อโครงการ สหกรณ์โรงเรียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ -
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน -
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวรุจิเรข ฉอยทิม

1. หลักการและเหตุผล

           กิจกรรมสหกรณ์ในโรงเรียนเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนได้มีความรู้ เข้าใจเกี่ยวกับระบบสหกรณ์โดยการปฏิบัติจริง ทั้งนี้สามารถ บูรณาการกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้หลากหลายกลุ่มสาระการเรียนรู้ ซึ่งนักเรียนสามารถนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้ ตลอดจนเป็นการปลูกฝังให้นักเรียนมีลักษณะนิสัยอันพึงประสงค์คือไม่ฟุ่มเฟือย รู้จักการประหยัดอดออม และมีการใช้จ่ายอย่างเหมาะสม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับกำลังและความสามารถของครู นักเรียนที่จะช่วยกันดำเนินงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
- พอประมาณกับสถานที่จัดโครงการ/กิจกรรม
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ฝึกฝนให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีจิตสาธารณะ
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ฝึกฝน สร้างนักเรียนให้มีทักษะในการทำงาน
- มีการประชุม ปรึกษาหารืออย่างสม่ำเสมอ
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- ความขยัน อดทน
- ความมีสติปัญญา รู้ผิดรู้ชอบ ตัดสินใจกระทำการใด ๆ บนเหตุผล
- ความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ - การออม
ด้านวัฒนธรรม - ซื่อสัตย์สุทจริต
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับหลักการของสหกรณ์
2. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนรู้จักประหยัดและมีการวางแผนในการใช้จ่ายบนพื้นฐานของความพอเพียง
3. เพื่อจัดหาอุปกรณ์การเรียนราคาถูกและคุณภาพดีมาบริการนักเรียน

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนร้อยละ 100 เป็นสมาชิกสหกรณ์
2. นักเรียนร้อยละ 80 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและวิธีการของสหกรณ์
3. นักเรียนร้อยละ 80 รู้จักประหยัดและมีการวางแผนในการใช้จ่ายอย่างพอเพียง
4. นักเรียนร้อยละ 80 ได้ซื้ออุปกรณ์การเรียนในราคาถูกและมีคุณภาพ
  เชิงคุณภาพ
    1.นักเรียนรู้และเข้าใจบทบาทของการเป็นสมาชิกสหกรณ์และปฏิบัติตนเป็นสมาชิกสหกรณ์ที่ดีได้อย่างหมาะสม
2.นักเรียนมีนิสัยประหยัดอดออมและใช้จ่ายอย่างพอเพียง

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2564          ถึงวันที่ : 30/9/2565

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    สหกรณ์ร้านค้า
  ขั้นเตรียมการ การวางแผนการทำงานเป็นทีม T1
เสนอโครงการ
การกำหนดภาระหน้าที่งาน T2
ออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ การปฏิบัติตามภาระหน้าที่ M1
คณะกรรมการดำเนินงานปฏิบัติหน้าที่ตามคำสั่ง
การประสานงาน M2
ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน
  ขั้นสรุป การประเมินผล V1
1. สำรวจความพึงพอใจ
2. สรุปผลความพึงพอใจ
การกำกับ ติดตาม V2
จัดทำรายงานโครงการและติดตามการดำเนินโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2564     ถึงวันที่ 30/9/2565
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวรุจิเรข ฉอยทิม

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม/ กลุ่มบริหารงบประมาณ
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนมีความรู้ เข้าใจ เกี่ยวกับหลักการและวิธีการของสหกรณ์ ตลอดจนสามารถนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม
2. นักเรียนมีนิสัยประหยัดอดออมและวางแผนการใช้จ่ายอย่างเหมาะสมบนพื้นฐานความพอเพียง
3. นักเรียนสามารถซื้ออุปกรณ์การเรียนได้ในราคาถูกและมีคุณภาพ
4.โรงเรียนสามารถนำผลการดำเนินงานไปพัฒนาสถานศึกษา
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ

 

 

รหัสโครงการ 2-07-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2565
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
กลุ่มสาระ/งาน งานควบคุมภายใน
ชื่อโครงการ พัฒนางานควบคุมภายใน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ -
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน -
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางอรอนงค์ ชัยประเสริฐ

1. หลักการและเหตุผล

           คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ข้อ 6 ได้กำหนดระบบการควบคุมภายใน ของตนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสม กับการปฏิบัติงานในหน่วยงาน เพื่อเป็นเครื่องมือในการป้องกันและรักษาทรัพย์สิน ช่วยให้การใช้ทรัพยากรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และให้การปฏิบัติงานในขั้นตอนต่างๆเป็นไปอย่างถูกต้องเหมาะสม ในการกำกับ ดูแลการจัดทำระบบการควบคุมภายใน ติดตามประเมินผลและ รายงานผลการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่น ดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544ข้อ6
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบการควบคุมภายในโรงเรียน เพื่อให้จัดระบบการควบคุมภายในโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ผู้บริหารการจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์
-
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความมีสติปัญญา รู้ผิดรู้ชอบ ตัดสินใจกระทำการใด ๆ บนเหตุผล
-

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - ปฏิบัติตามกฎหมาย
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม - ซื่อสัตย์สุทจริต
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้โรงเรียนมีการจัดวางระบบการควบคุมภายในตามมาตรฐานที่กำหนดและเป็นไปตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ข้อ 6
2. เพื่อให้โรงเรียนรายงานผลการควบคุมภายในต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและมีการดำเนินงานตามแผนการปรับรุงการควบคุมภายใน
3. เพื่อพัฒนาการดำเนินงานของงานควบคุมภายในของโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    ร้อยละ 85 ของกลุ่ม/งาน/ฝ่าย จัดทำแผนการควบคุมภายใน ติดตามผลและรายงานผลการควบคุมภายใน
  เชิงคุณภาพ
    งานควบคุมภายในปฏิบัติงานได้ถูกต้อง ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ข้อ 6

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 15/8/2564          ถึงวันที่ : 31/10/2565

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    พัฒนางานควบคุมภายใน
  ขั้นเตรียมการ การวางแผนการทำงานเป็นทีม T1
1. ประชุมคณะกรรมการฝ่ายบริหารโรงเรียน
2. ขออนุมัติโครงการ
การกำหนดภาระหน้าที่งาน T2
3. แต่งตั้งคณะกรรมการและประชุมคณะกรรมการฝ่ายบริหารโรงเรียน
  ขั้นดำเนินการ การปฏิบัติตามภาระหน้าที่ M1
4. ติดตามการดำเนินงานตามแผนการควบคุมภายใน
การประสานงาน M2
5. วิเคราะห์ความเสี่ยงและวางแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน
  ขั้นสรุป การประเมินผล V1
6. รายงานผลการควบคุมภายในต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การกำกับ ติดตาม V2
7. รายงานผลการปฏิบัติงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 1520 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 15/8/2564     ถึงวันที่ 31/10/2564
  ผู้รับผิดชอบ นางอรอนงค์ ชัยประเสริฐ

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 1,520.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 1,520.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ฝ่ายบริหารงานงบประมาณ
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
โรงเรียนมีการพัฒนาการจัดทำระบบและรายงานผลการควบคุมภายในตามมาตรฐานที่กำหนดและเป็นไปตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ข้อ 6 ได้มีประสิทธิภาพ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
บุคลากรในการปฏิบัติงานไม่เพียงพอ

 

 

รหัสโครงการ 2-09-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2565
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
กลุ่มสาระ/งาน งานสวัสดิการโรงเรียน
ชื่อโครงการ ร้านค้าสวัสดิการโรงเรียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ -
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน -
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายวุฒิชัย เนียมหอม

1. หลักการและเหตุผล

           การจัดกิจกรรมร้านค้าสวัสดิการโรงเรียนเป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนกิจกรรมร้านค้าสวัสดิการได้อย่างมี ประสิทธิภาพพร้อมฝึกให้เด็กรู้จักการออมทรัพย์และยังเป็นการสร้างระเบียบวินัยในการซื้อและการขายตลอดทั้งสนับสนุนให้ โรงเรียนมีเอกสาร วัสดุอุปกรณ์ประกอบการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในหลักการและวิธีการจัดกิจกรรมร้านค้า สวัสดิการในโรงเรียนให้ดียิ่งขึ้น ทั้งนี้นักเรียนสามารถนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตในประจำวันได้ ตลอดจนเป็นการฝึกฝน ด้านระเบียบวินัย การ อดออม ใช้สอยอย่างไม่ฟุ่มเฟือยและมีการใช้จ่ายอย่างเหมาะสมเพื่อให้สอดคล้องกับหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับกำลังและความสามารถของครู นักเรียนที่จะช่วยกันดำเนินงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
- พอประมาณกับสถานที่จัดโครงการ/กิจกรรม
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ฝึกฝนให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีจิตสาธารณะ
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะในการศึกษาหาความรู้ด้วยตัวเอง
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้สามารถศึกษาต่อระดับที่สูงขึ้นได้
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ฝึกฝน สร้างนักเรียนให้มีทักษะในการทำงาน
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและชุมชน
- มีการประชุม ปรึกษาหารืออย่างสม่ำเสมอ
- มีการประสานงานกับกลุ่มเป้าหมาย ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง
- มีการใช้ข้อมูลงานลักษณะนี้มาวางแผนการจัดการอย่างต่อเนื่อง
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- ความขยัน อดทน
- ความมีสติปัญญา รู้ผิดรู้ชอบ ตัดสินใจกระทำการใด ๆ บนเหตุผล
- ความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร
- ความรู้ด้านการวัดผล การประเมินผล
- ความรู้ด้านการบริหารจัดการ การศึกษา
- ความรู้ด้านการอบรมและพัฒนาบุคลากร

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - นักเรียนอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
- นักเรียนมีความสามัคคี ปรองดอง
- ปฏิบัติตามกฎหมาย
ด้านเศรษฐกิจ - ประยุกต์ใช้วัสดุอุปกรณ์ในท้องถิ่น
- มีรายได้ระหว่างเรียน
ด้านวัฒนธรรม - มีคุณธรรม มีความรัก เมตตาต่อคนอื่น และสรรพสิ่งต่าง ๆ
- อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
- กตัญญู รู้คุณ
- รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
- ซื่อสัตย์สุทจริต
ด้านสิ่งแวดล้อม - ลดภาวะโลกร้อน
- อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมร้านค้าสวัสดิการในโรงเรียน
2. เพื่อให้นักเรียนมีจิตสำนึกและมีคุณธรรมจริยธรรมความซื่อสัตย์สุจริต
3. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีการวางแผนในการใช้จ่าย และการลงทุน
4. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนร้อยละ 80 มีการวางแผนในการใช้จ่ายและการลงทุน
2. นักเรียนร้อยละ 80 มีความรู้พื้นฐานเรื่องร้านค้าสวัสดิการโรงเรียนและฝึกให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริง
3. นักเรียนร้อยละ 80 มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนมีความรู้พื้นฐานเรื่องร้านค้าสวัสดิการโรงเรียนมีการวางแผนในการใช้จ่าย ประหยัดอดออมมีความรับผิดชอบ และสามารถนำความรู้เกี่ยวกับหลักการร้านค้าสวัสดิการไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
2. สร้างลักษณะนิสัยนักเรียนให้รู้จักการอดออม ใช้สอยเงินอย่างประหยัด

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2564          ถึงวันที่ : 30/9/2565

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    สวัสดิการร้านค้าโรงเรียน
  ขั้นเตรียมการ 1.แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน T2 - Tabulation to organization
(การกำหนดหน้าที่ภาระงาน)
2.ประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินงาน T1 - Team management to framework
(การวางแผนและการทำงานเป็นทีม)
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินงานตามแผนที่วางไว้ตามหลักการและวิธีการของสวัสดิการร้านค้าโรงเรียนโดยยึดหลักตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง M1-(ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่)
ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม M2- Making a correlation (การประสานงาน)
  ขั้นสรุป รายงานผลการดำเนินงาน V1 - Validity to evaluation (การประเมินผล) บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม V2- (ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ สวัสดิการร้านค้าโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2564     ถึงวันที่ 30/9/2565
  ผู้รับผิดชอบ นายวุฒิชัย เนียมหอม

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม / กลุ่มงานบริหารงานงบประมาณ
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมร้านค้าสวัสดิการในโรงเรียน
2.นักเรียนมีความรู้และทักษะเกี่ยวกับหลักการและวิธีการร้านค้าสวัสดิการ สามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
3. นักเรียนมีจิตสำนึกและมีคุณธรรมจริยธรรมความซื่อสัตย์สุจริต
4. นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ

 

 

รหัสโครงการ 2-06-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2565
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
กลุ่มสาระ/งาน งานธุรการ
ชื่อโครงการ งานธุรการ
ลักษณะโครงการ โครงการพิเศษ
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 6. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษาด้วยระบบคุณภาพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวณัฐชนก บุตรดาวงษ์

1. หลักการและเหตุผล

          โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ประจำอำเภอท่ามะกา เปิดสอนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 ใน ด้านการบริหาร งานในโรงเรียน ต้องมีความโปรงใส ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน ตรวจสอบได้ และจำเป็นต้องมีการ พัฒนาระบบ งานธุรการให้ทันสมัย เพื่อ รองรับประเทศไทยในยุคจิติตัล 4.0 ซึ่งการบริหารงาน จำเป็นต้องใช้วัสดุ อุปกรณ์ และสิ่ง อำนวย ความสะดวก ในการทำงาน และบริการ คณะครู บุคลากร และนักเรียนในโรงเรียน ให้รวดเร็ว ถูกต้อง ตรวจสอบได้ งานธุรการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จึงได้จัดทำโครงการ พัฒนาระบบงานธุรการขึ้น เพื่ออำนวยความสะดวกใน การให้บริการกับครู บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครอง และผู้มาติดต่องาน ทันต่อ เหตุการณ์ สะดวก รวดเร็ว โดยสอดคล้องกับหลักปรัญชาเศรษฐกิจพอเพียง ๓ ห่วง ๒ เงื่อนไข ๔ มิติ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ผู้บริหารการจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและชุมชน
- มีการประสานงานกับกลุ่มเป้าหมาย ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
-

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ - รู้จักใช้วัสดุ อุปกรณ์ อย่างประหยัดเห็นคุณค่าของสรรพสิ่งไม่ฟุ่มเฟือย
ด้านวัฒนธรรม - มีคุณธรรม มีความรัก เมตตาต่อคนอื่น และสรรพสิ่งต่าง ๆ
- อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
- กตัญญู รู้คุณ
- รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
- ซื่อสัตย์สุทจริต
ด้านสิ่งแวดล้อม - ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม
- ลดภาวะโลกร้อน
- อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. งานธุรการให้เป็นปัจจุบัน รวดเร็ว และทันสมัย
2. เพื่อบริการแก่ผู้มาติดต่อ

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. มีวัสดุอุปกรณ์ครบในการปฏิบัติงาน สามารถให้บริการแก่ผู้มาติดต่อ ร้อยละ 100
  เชิงคุณภาพ
    1. เพื่อพัฒนางานธุรการให้เป็นปัจจุบัน รวดเร็ว และทันสมัย
2. มีสิ่งอำนวยความสะดวกบริการกับคณะครู บุคลากร นักเรียน และผู้มาติดต่องาน อยู่ในระดับดีขึ้นไป

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 3/8/2565          ถึงวันที่ : 3/11/2565

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    พัฒนางานธุรการ
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) - แผนงาน/โครงการ ตรวจวัสดุ และสิ่งอำนวยความสะดวกอื่น ๆ ที่ต้องใช้ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) - การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) - การดำเนินงาน ดำเนินการสั่งซื้อ ขั้นตอนการประสานงาน(M2) - ประสานงาน
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) - การประเมินผล รายงานผลการปฏิบัติงาน ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) - การกำกับติดตาม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 34320 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ งานการเงิน ฝ่ายบริหารงบประมาณ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 3/8/2565     ถึงวันที่ 3/11/2565
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวณัฐชนก บุตรดาวงษ์

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 34,320.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 34,320.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
งานสารบรรณ กลุ่มบริหารงานงบประมาณ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
งานสารบรรณ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม มีวัสดุอุปกรณ์ที่เพียงพอ ทันสมัย บริการแก่ผู้มาติดต่อ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 2-06-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2565
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
กลุ่มสาระ/งาน งานธุรการ
ชื่อโครงการ งานธุรการ
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ -
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน -
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวณัฐชนก บุตรดาวงษ์

1. หลักการและเหตุผล

           โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ประจำอำเภอท่ามะกา เปิดสอนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 ใน ด้านการบริหาร งานในโรงเรียน ต้องมีความโปรงใส ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน ตรวจสอบได้ และจำเป็นต้องมีการ พัฒนาระบบ งานธุรการให้ทันสมัย เพื่อ รองรับประเทศไทยในยุคจิติตัล 4.0 ซึ่งการบริหารงาน จำเป็นต้องใช้วัสดุ อุปกรณ์ และสิ่ง อำนวย ความสะดวก ในการทำงาน และบริการ คณะครู บุคลากร และนักเรียนในโรงเรียน ให้รวดเร็ว ถูกต้อง ตรวจสอบได้ งานธุรการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบงานธุรการขึ้น เพื่ออำนวยความสะดวกใน การให้บริการกับครู บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครอง และผู้มาติดต่องาน ทันต่อเหตุการณ์ สะดวก รวดเร็ว โดยสอดคล้องกับหลักปรัญชาเศรษฐกิจพอเพียง ๓ ห่วง ๒ เงื่อนไข ๔ มิติ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยี
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและชุมชน
- มีการประสานงานกับกลุ่มเป้าหมาย ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
-

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม - มีคุณธรรม มีความรัก เมตตาต่อคนอื่น และสรรพสิ่งต่าง ๆ
- อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
- กตัญญู รู้คุณ
- รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
- ซื่อสัตย์สุทจริต
ด้านสิ่งแวดล้อม - ลดภาวะโลกร้อน
- อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อพัฒนางานธุรการให้เป็นปัจจุบัน รวดเร็ว และทันสมัย
2. เพื่อบริการแก่ผู้มาติดต่อ

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    มีวัสดุอุปกรณ์ครบในการปฏิบัติงาน สามารถให้บริการแก่ผู้มาติดต่อ ร้อยละ 100
  เชิงคุณภาพ
    1. เพื่อพัฒนางานธุรการให้เป็นปัจจุบัน รวดเร็ว และทันสมัย
2. มีสิ่งอำนวยความสะดวกบริการกับคณะครู บุคลากร นักเรียน และผู้มาติดต่องาน อยู่ในระดับดีขึ้นไป

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2564          ถึงวันที่ : 30/9/2565

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    พัฒนางานธุรการ
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- แผนงาน/โครงการ ตรวจวัสดุ และสิ่งอำนวยความสะดวกอื่น ๆ ที่ต้องใช้
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- การดำเนินงาน ดำเนินการสั่งซื้อ
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประสานงาน
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- การประเมินผล รายงานผลการปฏิบัติงาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- การกำกับติดตาม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 45000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ งานการเงิน ฝ่ายบริหารงบประมาณ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2564     ถึงวันที่ 30/9/2565
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวณัฐชนก บุตรดาวงษ์

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 45,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 45,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
งานสารบรรณ กลุ่มบริหารงานงบประมาณ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
งานธุรการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม มีวัสดุอุปกรณ์ที่เพียงพอ ทันสมัย บริการแก่ผู้มาติดต่อ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-