ชื่อโครงการ/ วัตถุประสงค์ |
สนอง มฐ.รร. ข้อที่ |
เป้าหมาย | ตัวชี้วัด/เกณฑ์การประเมิน โครงการ |
ค่าใช้จ่าย (บาท) |
ขั้นตอนการดำเนินงาน ของแต่ละกิจกรรม |
ระยะเวลา ดำเนินการ |
ผู้รับผิดชอบ |
พัฒนางานแผนงาน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565 ของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ 2. เพื่อพัฒนางานแผนงานและเผยแพร่ข้อมูลงานแผนงาน |
เชิงปริมาณ 1. คณะครู และบุคลากร ร้อยละ 95 มีส่วนร่วมในการวางแผนด้านนโยบาย แผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการของโรงเรียน 2. คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้แทนชุมชน ผู้ปกครอง ร้อยละ 90 มีส่วนร่วมในการพัฒนา / ปรับปรุงแผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการของโรงเรียน 3. จัดทำรูปเล่มแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565 จำนวน 20 เล่ม เชิงคุณภาพ 1. โรงเรียนมีแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565 ที่ถูกต้องสมบูรณ์ 2. ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่าย มีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 อยู่ในระดับยอดเยี่ยม |
วิธีการ ทำแบบประเมิน เครื่องมือ ทำแบบสอบถาม |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : จัดประชุมและทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565 ขั้นเตรียม ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) - จัดทำโครงการ - เสนอกิจกรรมเพื่ออนุมัติ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) - ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง และออกคำสั่งการดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) - บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม ขั้นตอนการประสานงาน(M2) - ประชุมเชิงปฏิบิติการ จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565 ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) - สรุปรายงานผลการดำเนินงาน ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) - รายงานผลการประเมินกิจกรรม กิจกรรมที่ 2 : พัฒนานโยบายและแผนงาน ขั้นเตรียม ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) - จัดทำโครงการ - วางแผนการปฏิบัติงาน ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) - ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง และออกคำสั่งการดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) - บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม ขั้นตอนการประสานงาน(M2) - จัดทำแผนป้ายประชาสัมพันธ์ จัดทำรูปเล่มแผนพัฒนาคุณภาพ ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) - สรุปรายงานผลการดำเนินงาน ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) - รายงานผลการประเมินกิจกรรม กิจกรรมที่ 3 : อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนโครงการ/กิจกรรม ขั้นเตรียม ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) - จัดทำโครงการ - เสนอกิจกรรมเพื่ออนุมัติ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) - ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง และออกคำสั่งการดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) - บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม ขั้นตอนการประสานงาน(M2) - ประชุมเชิงปฏิบิติการเขียนโครงการ/กิจกรรม ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) - สรุปรายงานผลการดำเนินงาน ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) - รายงานผลการประเมินกิจกรรม |
1/10/2564 ถึง
1/10/2564 ถึง
1/10/2564 ถึง
|
นางสาวศิริพร วัชรชัยโสภณสิริ
|
|
การติดตามและประเมินผล วัตถุประสงค์ 1. เพื่อกำกับ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ 2565 2. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของบุคลากรในโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ในการกำกับ ติดตาม และประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานอย่างถูกต้องด้วยเครื่องมือและวิธีการที่มีคุณภาพ 3. เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม |
เชิงปริมาณ 1. เอกสารรายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565 2. เอกสารรายงานผลการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของสถานศึกษา เชิงคุณภาพ 1. โรงเรียนมีข้อมูลผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565 ใช้ในการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมสามารถรายงานผลการดำเนินงานโครงการและกิจกรรม ครบทุกตัวชี้วัดในกลยุทธ์ ตามกำหนดระยะเวลา และมีผลการประเมินในภาพรวมอยู่ในระดับดีเยี่ยม |
วิธีการ ประเมินรูปเล่มฉบับสมบูรณ์ เครื่องมือ การประเมิน |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : การติดตาม ประเมินผลปีงบประมาณ 2565 ขั้นเตรียม ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) - จัดทำโครงการ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) - การสร้างเครื่องมือการติดตามและประเมินผล ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) - ประชุมวางแผนการติดตามและประเมินผลฯ ขั้นตอนการประสานงาน(M2) - การติดตามและประเมินผลฯ แต่ละโครงการ/กิจกรรม ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) - สรุปรายงานผลการดำเนินงาน ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) - ผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ - รายงานผลการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของสถานศึกษา |
1/10/2564 ถึง
|
นายก่อกิจ ธีราโมกข์
|
|
คำนวณต้นทุนผลผลิต วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการทางการเงินของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม 2. เพื่อการเปรียบเทียบความคุ้มค่าระหว่างปัจจัยนำเข้ากับผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น 3. เพื่อจัดทำการคำนวณต้นทุนผลผลิตและคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ 2565 |
เชิงปริมาณ 1. สามารถนำรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิตนำไปใช้ประโยชน์ได้ร้อยละ 100 เชิงคุณภาพ 1. โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมมีการพัฒนาการบริหารจัดการทางการเงิน |
วิธีการ สำรวจความพึงพอใจ เครื่องมือ สำรวจความพึงพอใจ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : การจัดทำรายงานคำนวณต้นทุนผลผลิตต่อหน่วย ขั้นเตรียม ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) 1. ปรับปรุงโครงการโดยการนำผลประเมินโครงการของปีก่อนหน้า มาปรับปรุงขั้นตอนการดำเนินงาน หรือขั้นตอนการประเมินผล ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) 2. จัดทำคำสั่งการดำเนินงาน โดยใช้คำสั่งของขอบข่ายงานของปีงบประมาณ 2565 ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) 1. การติดตามข้อมูลในโครงการการคำนวณต้นทุนผลผลิต ในระยะที่ 1 (ตุลาคม 64 - เมษายน 65) 2. การติดตามข้อมูลในโครงการการคำนวณต้นทุนผลผลิต ในระยะที่ 1 (เมษายน 65 - กันยายน 65) ขั้นตอนการประสานงาน(M2) 3. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) 1. สรุปผลการประเมินกิจกรรม โดยการจัดทำรูปเล่มรายงานผลการคำนวณต้นทุนผลผลิต และ จัดทำคำรับรองการปฏิบัติปีงบประมาณ 2565 ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) 2. บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรมการคำนวณต้นทุนผลผลิตต่อผู้บริหาร และนำข้อเสนอแนะจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับกิจกรรมนี้มาปรับใช้ในครั้งต่อไป |
15/9/2565 ถึง
|
นางสาวน้ำฝน ใจผ่อง
|
|
พัฒนาระบบการบริหารงานการเงินและบัญชี วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้การบริหารงานการเงินและการบัญชีของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเป็นที่พึงพอใจแก่ผู้รับบริการ ให้เป็นไปตามคำขวัญการปฏิบัติงาน ทันสมัย ทันใจ ทันเวลา โปร่งใส ยึดระเบียบ และเป็นระบบ 2. เพื่อจัดหาเครื่องมือ อุปกรณ์ที่ทันสมัยมาใช้ในการปฎิบัติงานให้เกิดคุณภาพ |
เชิงปริมาณ 1. การปฏิบัติงานด้านการเงินและการบัญชีมีความถูกต้อง คิดเป็นร้อยละ 100 2. การให้บริการแก่ครูและบุคลากรของโรงเรียน เป็นที่พึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 เชิงคุณภาพ 1. งานการเงินดำเนินการในการรับ-จ่ายเงินทุกประเภทได้ถูกต้องตามระเบียบ มีหลักฐานชัดเจน ถูกต้องโปร่งใส ตรวจสอบได้ เป็นที่พึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องอย่างมีคุณภาพในระดับดีมาก 2. งานบัญชี ดำเนินการจัดทำระบบบัญชี รายงานบัญชีการเงินทุกประเภทได้ถูกต้องตามระเบียบ มีความเป็นปัจจุบัน มีหลักฐานชัดเจน ถูกต้อง โปร่งใส ตรวจสอบได้ เป็นที่พึงพอใจแก่ผู้เกี่ยวข้องอย่างมีคุณภาพในระดับดีมาก |
วิธีการ การตรวจสอบเอกสารหลักฐานด้านการเงินและการบัญชี เครื่องมือ การตรวจสอบเอกสารหลักฐานด้านการเงินและการบัญชี |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : การพัฒนาระบบการปฏิบัติงานการเงินและบัญชี ขั้นเตรียม 1.ประชุมบุคลากรงานการเงินและงานบัญชี 2.สำรวจรายการเครื่องคอมพิวเตอร์ และเครื่องพิมพ์ ที่ต้องการใช้งาน(ทดแทนเครื่องเก่าที่ชำรุด จำนวน 2 ชุด) 3.สำรวจรายการวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการปฏิบัติงานสำนักงาน เช่น ตู้เก็บเอกสารหลักฐานทางการเงิน ขั้นดำเนินการ 1.เขียนโครงการเสนอขออนุมัติเงินงบประมาณในการดำเนินการตามโครงการ 2.ดำเนินการพัฒนาระบบบริหารงานการเงินและบัญชี ด้านเครื่องมือ อุปกรณ์ และด้านการปฏิบัติงานให้เกิดความรวดเร็ว เป็นปัจจุบัน เสนอรายงานการปฏิบัติให้ผู้บังคับบัญชาตามลำดับขั้น ขั้นสรุป 1.ประเมินผลการปฏิบัติงานการเงินและงานบัญชี 2.จัดทำรายงานผลการประเมินกิจกรรมที่ 1 การพัฒนาระบบการปฏิบัติงานการเงินและบัญชี |
1/12/2564 ถึง
|
นายไพรัชน์ จารุจิระวงศ์
|
|
เรียนฟรี 15 ปีอย่างมีคุณภาพ (อุปกรณ์การเรียนและเครื่องแบบนักเรียน) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายสำหรับอุปกรณ์การเรียนและเครื่องแบบนักเรียนที่ภาครัฐให้การสนับสนุนครบถ้วนทุกคน |
4, |
เชิงปริมาณ 1. นักเรียนทุกคนได้รับเงินค่าอุปกรณ์การเรียน ปีการศึกษาละ 2 ครั้ง ร้อยละ 100 2. นักเรียนทุกคนได้รับเงินค่าเครื่องแบบนักเรียน ปีการศึกษาละ 1 ครั้ง ร้อยละ 100 เชิงคุณภาพ 1. นักเรียนทุกคนในโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมได้รับการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายสำหรับค่าเครื่องแบบนักเรียนและค่าอุปกรณ์การเรียนที่ภาครัฐให้การสนับสนุน |
วิธีการ ประเมินจากหลักฐานการจ่ายเงิน เครื่องมือ ประเมินจากการสำรวจ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : เรียนฟรี 15 ปีอย่างมีคุณภาพ (อุปกรณ์การเรียนและเครื่องแบบนักเรียน) ขั้นเตรียม ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) 1. จัดทำโครงการ 2. แต่งตั้งคณะกรรมดำเนินการ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) 1. มอบหมายให้คณะกรรมการดำเนินการตามหน้าที่ได้รับผิดชอบ ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) 1. ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจให้แก่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย 2. ดำเนินงานตามโครงการ ขั้นตอนการประสานงาน(M2) 1. นักเรียนทุกคน ได้รับค่าเครื่องแบบนักเรียนและค่าอุปกรณ์การเรียนตามที่กำหนด ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล (V1) 1. สรุปประเมินโครงการฯ ขั้นตอนการติดตามผล (V2) 1. จัดทำรายงานโครงการ นำเสนอฝ่ายบริหาร 2. การนำผลการประเมิน หรือข้อเสนอแนะนำไปใช้ หรือปรับปรุง แก้ไข |
1/10/2564 ถึง
|
นางสาวมณีรัตน์ ตันวัฒนเสรี
|
พัฒนางานพัสดุ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาครูผู้ปฏิบัติงานพัสดุและสินทรัพย์ให้มีความรู้เรื่องการพัสดุและการจัดทำแผนปฏิบัติการพัสดุที่ถูกต้อง ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ข้อความ 2. พื่ออำนวยความสะดวกในการเป็นระเบียบสะดวกต่อการให้บริการ 3.เพื่อควบคุมการเบิก จ่ายพัสดุและจำหน่ายครุภัณฑ์ของโรงเรียน 4. เพื่อให้ได้ห้องปฏิบัติงานพัสดุที่เป็นระเบียบสะดวกต่อการให้บริการ |
6, |
เชิงปริมาณ 1. งานพัสดุมีวัสุอุปกรณ์ที่เพียงพอต่อความต้องการในการปฏิบัติงาน 2. โรงเรียนมีห้องงานพัสดุที่เป็นระเบียบสะดวกต่อการให้บริการ 1 ห้อง 3. เจ้าหน้าที่พัสดุทุกคนดำเนินการเป็นระเบียบสะดวกต่อการให้บริการ และคุมการเบิก จ่ายพัสดุและจำหน่ายครุภัณฑ์ของโรงเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพข้อความ เชิงคุณภาพ 1. งานพัสดุมีวัสดุอปกรณ์เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมมีห้องงานพัสดุที่เป็นระเบียบสะดวกต่อการให้บริการ |
วิธีการ สอบถามจากผู้ใช้บริการ และผู้ที่เกี่ยวข้อง เครื่องมือ สอบถามจากผู้ใช้บริการ และผู้ที่เกี่ยวข้อ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมพัฒนางานพัสดุและสินทรัพย์ ขั้นเตรียม ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) 1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน 2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) 3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) 4. จัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบพัสดุ ขั้นตอนการประสานงาน(M2) 5. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) 6. สรุปผลการดำเนินการ ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) 7. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป |
21/9/2564 ถึง
|
นางดุจดาว นุชนุ่ม และคณะ
|
งานธุรการ วัตถุประสงค์ 1. งานธุรการให้เป็นปัจจุบัน รวดเร็ว และทันสมัย 2. เพื่อบริการแก่ผู้มาติดต่อ |
เชิงปริมาณ 1. มีวัสดุอุปกรณ์ครบในการปฏิบัติงาน สามารถให้บริการแก่ผู้มาติดต่อ ร้อยละ 100 เชิงคุณภาพ 1. เพื่อพัฒนางานธุรการให้เป็นปัจจุบัน รวดเร็ว และทันสมัย 2. มีสิ่งอำนวยความสะดวกบริการกับคณะครู บุคลากร นักเรียน และผู้มาติดต่องาน อยู่ในระดับดีขึ้นไป |
วิธีการ เครื่องมือ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : พัฒนางานธุรการ ขั้นเตรียม ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) - แผนงาน/โครงการ ตรวจวัสดุ และสิ่งอำนวยความสะดวกอื่น ๆ ที่ต้องใช้ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) - การกำหนดหน้าที่ภาระงาน ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) - การดำเนินงาน ดำเนินการสั่งซื้อ ขั้นตอนการประสานงาน(M2) - ประสานงาน ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) - การประเมินผล รายงานผลการปฏิบัติงาน ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) - การกำกับติดตาม |
3/8/2565 ถึง
|
นางสาวณัฐชนก บุตรดาวงษ์
|
|
งานธุรการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนางานธุรการให้เป็นปัจจุบัน รวดเร็ว และทันสมัย 2. เพื่อบริการแก่ผู้มาติดต่อ |
เชิงปริมาณ มีวัสดุอุปกรณ์ครบในการปฏิบัติงาน สามารถให้บริการแก่ผู้มาติดต่อ ร้อยละ 100 เชิงคุณภาพ 1. เพื่อพัฒนางานธุรการให้เป็นปัจจุบัน รวดเร็ว และทันสมัย 2. มีสิ่งอำนวยความสะดวกบริการกับคณะครู บุคลากร นักเรียน และผู้มาติดต่องาน อยู่ในระดับดีขึ้นไป |
วิธีการ เครื่องมือ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : พัฒนางานธุรการ ขั้นเตรียม ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) - แผนงาน/โครงการ ตรวจวัสดุ และสิ่งอำนวยความสะดวกอื่น ๆ ที่ต้องใช้ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) - การกำหนดหน้าที่ภาระงาน ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) - การดำเนินงาน ดำเนินการสั่งซื้อ ขั้นตอนการประสานงาน(M2) - ประสานงาน ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) - การประเมินผล รายงานผลการปฏิบัติงาน ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) - การกำกับติดตาม |
1/10/2564 ถึง
|
นางสาวณัฐชนก บุตรดาวงษ์
|
|
พัฒนางานควบคุมภายใน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้โรงเรียนมีการจัดวางระบบการควบคุมภายในตามมาตรฐานที่กำหนดและเป็นไปตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ข้อ 6 2. เพื่อให้โรงเรียนรายงานผลการควบคุมภายในต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและมีการดำเนินงานตามแผนการปรับรุงการควบคุมภายใน 3. เพื่อพัฒนาการดำเนินงานของงานควบคุมภายในของโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น |
เชิงปริมาณ ร้อยละ 85 ของกลุ่ม/งาน/ฝ่าย จัดทำแผนการควบคุมภายใน ติดตามผลและรายงานผลการควบคุมภายใน เชิงคุณภาพ งานควบคุมภายในปฏิบัติงานได้ถูกต้อง ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ข้อ 6 |
วิธีการ สอบถาม เครื่องมือ สอบถาม |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : พัฒนางานควบคุมภายใน ขั้นเตรียม การวางแผนการทำงานเป็นทีม T1 1. ประชุมคณะกรรมการฝ่ายบริหารโรงเรียน 2. ขออนุมัติโครงการ การกำหนดภาระหน้าที่งาน T2 3. แต่งตั้งคณะกรรมการและประชุมคณะกรรมการฝ่ายบริหารโรงเรียน ขั้นดำเนินการ การปฏิบัติตามภาระหน้าที่ M1 4. ติดตามการดำเนินงานตามแผนการควบคุมภายใน การประสานงาน M2 5. วิเคราะห์ความเสี่ยงและวางแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ขั้นสรุป การประเมินผล V1 6. รายงานผลการควบคุมภายในต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การกำกับ ติดตาม V2 7. รายงานผลการปฏิบัติงาน |
15/8/2564 ถึง
|
นางอรอนงค์ ชัยประเสริฐ
|
|
สหกรณ์โรงเรียน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับหลักการของสหกรณ์ 2. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนรู้จักประหยัดและมีการวางแผนในการใช้จ่ายบนพื้นฐานของความพอเพียง 3. เพื่อจัดหาอุปกรณ์การเรียนราคาถูกและคุณภาพดีมาบริการนักเรียน |
เชิงปริมาณ 1. นักเรียนร้อยละ 100 เป็นสมาชิกสหกรณ์ 2. นักเรียนร้อยละ 80 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและวิธีการของสหกรณ์ 3. นักเรียนร้อยละ 80 รู้จักประหยัดและมีการวางแผนในการใช้จ่ายอย่างพอเพียง 4. นักเรียนร้อยละ 80 ได้ซื้ออุปกรณ์การเรียนในราคาถูกและมีคุณภาพ เชิงคุณภาพ 1.นักเรียนรู้และเข้าใจบทบาทของการเป็นสมาชิกสหกรณ์และปฏิบัติตนเป็นสมาชิกสหกรณ์ที่ดีได้อย่างหมาะสม 2.นักเรียนมีนิสัยประหยัดอดออมและใช้จ่ายอย่างพอเพียง |
วิธีการ สำรวจ เครื่องมือ สำรวจ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : สหกรณ์ร้านค้า ขั้นเตรียม การวางแผนการทำงานเป็นทีม T1 เสนอโครงการ การกำหนดภาระหน้าที่งาน T2 ออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ การปฏิบัติตามภาระหน้าที่ M1 คณะกรรมการดำเนินงานปฏิบัติหน้าที่ตามคำสั่ง การประสานงาน M2 ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน ขั้นสรุป การประเมินผล V1 1. สำรวจความพึงพอใจ 2. สรุปผลความพึงพอใจ การกำกับ ติดตาม V2 จัดทำรายงานโครงการและติดตามการดำเนินโครงการ |
1/10/2564 ถึง
|
นางสาวรุจิเรข ฉอยทิม
|
|
ร้านค้าสวัสดิการโรงเรียน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมร้านค้าสวัสดิการในโรงเรียน 2. เพื่อให้นักเรียนมีจิตสำนึกและมีคุณธรรมจริยธรรมความซื่อสัตย์สุจริต 3. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีการวางแผนในการใช้จ่าย และการลงทุน 4. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย |
เชิงปริมาณ 1. นักเรียนร้อยละ 80 มีการวางแผนในการใช้จ่ายและการลงทุน 2. นักเรียนร้อยละ 80 มีความรู้พื้นฐานเรื่องร้านค้าสวัสดิการโรงเรียนและฝึกให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริง 3. นักเรียนร้อยละ 80 มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย เชิงคุณภาพ 1. นักเรียนมีความรู้พื้นฐานเรื่องร้านค้าสวัสดิการโรงเรียนมีการวางแผนในการใช้จ่าย ประหยัดอดออมมีความรับผิดชอบ และสามารถนำความรู้เกี่ยวกับหลักการร้านค้าสวัสดิการไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม 2. สร้างลักษณะนิสัยนักเรียนให้รู้จักการอดออม ใช้สอยเงินอย่างประหยัด |
วิธีการ - เครื่องมือ - |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : สวัสดิการร้านค้าโรงเรียน ขั้นเตรียม 1.แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน T2 - Tabulation to organization (การกำหนดหน้าที่ภาระงาน) 2.ประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินงาน T1 - Team management to framework (การวางแผนและการทำงานเป็นทีม) ขั้นดำเนินการ ดำเนินงานตามแผนที่วางไว้ตามหลักการและวิธีการของสวัสดิการร้านค้าโรงเรียนโดยยึดหลักตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง M1-(ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่) ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม M2- Making a correlation (การประสานงาน) ขั้นสรุป รายงานผลการดำเนินงาน V1 - Validity to evaluation (การประเมินผล) บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม V2- (ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม) |
1/10/2564 ถึง
|
นายวุฒิชัย เนียมหอม
|
|
งานประเมินผลการปฏิบัติงานด้านบริหารงบประมาณ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อประเมินผลการปฏิบัติด้านการบริหารงบประมาณให้เป็นไปตามที่โรงเรียนกำหนด |
เชิงปริมาณ 1.กลุ่มบริหารงานงบประมาณ สามารถประเมินผลการปฏิบัติงานของงานต่างๆ ตามขอบข่ายการปฏิบัติงานของกลุ่มบริหารงานงบประมาณ ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 เชิงคุณภาพ 1.กลุ่มบริหารงานงบประเมิน มีการบริหารงานด้านงบประมาณได้เป็นที่พึงพอใจในระดับดีมาก |
วิธีการ 1) จัดทำปฏิทินติดตามงานของกลุ่มบริหารงานงบประมาณ 2) แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลการปฏิบัติงาน 3) ทำการประเมินผลการปฏิบัติงาน เครื่องมือ 1) จัดทำปฏิทินติดตามงานของกลุ่มบริหารงานงบประมาณ 2) แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลการปฏิบัติงาน 3) ทำการประเมินผลการปฏิบัติงาน |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : การประเมินผลการปฏิบัติงานด้านการบริหารงบประมาณ ขั้นเตรียม 1.ประชุมหัวหน้างานแต่ละงานของกลุ่มบริหารงานงบประมาณ 2.วางแผนการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน 3.จัดทำปฏิทินการปฏิบัติงานของกลุ่มบริหารงานงบประมาณ ขั้นดำเนินการ 1.แต่งตั้งคณะกรรมการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานของกลุ่มบริหารงานงบประมาณ 2.จัดทำแบบติดตามและแบบประเมินผลการปฏิบัติงาน 3.ประเมินผลการปฏิบัติงานด้านการบริหารงบประมาณ ขั้นสรุป 1.นำผลการประเมินมาสรุปรวบรวม 2.รายงานผลการปฏิบัติงานของกลุ่มบริหารงานงบประมาณ |
1/12/2564 ถึง
|
นายไพรัชน์ จารุจิระวงศ์ ผู้ช่วยผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานงบประมาณ
|