รหัสโครงการ 2-03-1
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2564
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
กลุ่มสาระ/งาน งานบริหารพัสดุและสินทรัพย์
ชื่อโครงการ พัฒนางานพัสดุ
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
จุดเน้น สพฐ. ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและ ส่งเสริมการมีส่วนร่วม
กลยุทธ์ สพม.8 กลยุทธ์ที่ 4. พัฒนาระบบการบริหารจัดการโดยมุ่งเน้นการจัดการศึกษา เพื่อความมั่นคงได้มาตรฐาน
ระดับสากลบนพื้นฐานการมีส่วนร่วมและส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 6. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษาด้วยระบบคุณภาพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางดุจดาว นุชนุ่ม

1. หลักการและเหตุผล

           งานพัสดุและสินทรัพย์ เป็นงานส่วนหนึ่งของการบริหารงบประมาณ ตามนโยบายของรัฐบาล โดยมีจุดประสงค์เพื่อมุ่งเน้น ให้หน่วยงานและบุคลากร ผู้รับผิดชอบปฏิบัติงานด้านงบประมาณให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ และเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุและสินทรัพย์ให้เป็นไปอย่างมีระบบ ดังนั้น การดำเนินงานเกี่ยวกับพัสดุและสินทรัพย์ จึงต้องกระทำด้วยความรอบคอบ มีหลักฐานที่ชัดเจนตรวจสอบได้ โรงเรียน ท่ามะกาวิทยาคมจึงได้จัดทำโครงการโครงการพัฒนางานพัสดุขึ้นเพื่อให้การดำเนินการเบิกจ่ายวัสดุ ครุภัณฑ์ของโรงเรียนที่ใช้ในการ สนับสนุนกิจกรรมตามแผนงานโครงการต่างๆ ของโรงเรียนให้เป็นไปอย่างถูกต้องรวดเร็ว มีการตรวจรับ การจัดซื้อจัดจ้าง การลงทะเบียน ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพอันจะส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนและพัฒนา
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับเวลาที่ใช้ดำเนินกิจกรรม ตั้งแต่เตรียมการจัดงานและสรุปประเมินผล
- พอประมาณกับวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆที่ต้องใช้ในการจัดโครงการ/กิจกรรม
- พอประมาณกับสถานที่จัดโครงการ/กิจกรรม
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ผู้บริหารการจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์
- มีการวางแผนการดำเนินงานและเตรียมการจัดกิจกรรมอย่างดี
- มีการตั้งคณะกรรมการดำเนินงานรับผิดชอบด้านต่าง ๆ ให้ชัดเจน
- มีการประชุม ปรึกษาหารืออย่างสม่ำเสมอ
- มีการประสานงานกับกลุ่มเป้าหมาย ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง
- มีการติดตามประเมิน และสรุปโครงการ/กิจกรรม
- มีการใช้ข้อมูลงานลักษณะนี้มาวางแผนการจัดการอย่างต่อเนื่อง
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- การประหยัด ใช้จ่ายงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์อย่างคุ้มค่า
- ความขยัน อดทน
- ความมีสติปัญญา รู้ผิดรู้ชอบ ตัดสินใจกระทำการใด ๆ บนเหตุผล
- ความรู้ด้านการสรุปงาน ประเมินผลงาน

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - ปฏิบัติตามกฎหมาย
ด้านเศรษฐกิจ - รู้จักใช้วัสดุ อุปกรณ์ อย่างประหยัดเห็นคุณค่าของสรรพสิ่งไม่ ฟุ่มเฟื่อย
ด้านวัฒนธรรม - ซื่อสัตย์สุทจริต
ด้านสิ่งแวดล้อม - ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อพัฒนาครูผู้ปฏิบัติงานพัสดุและสินทรัพย์ให้มีความรู้เรื่องการพัสดุและการจัดทำแผนปฏิบัติการพัสดุที่ถูกต้อง ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
2. เพื่ออำนวยความสะดวกในการเป็นระเบียบสะดวกต่อการให้บริการ
3. เพื่อควบคุมการเบิก – จ่ายพัสดุและจำหน่ายครุภัณฑ์ของโรงเรียน
4. เพื่อให้ได้ห้องปฏิบัติงานพัสดุที่เป็นระเบียบสะดวกต่อการให้บริการ

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ครูผู้ปฏิบัติงานพัสดุทุกคนได้รับการอบรมความรู้เกี่ยวกับแบบสำรวจ -แบบประเมิน
2. โรงเรียนมีห้องงานพัสดุที่เป็นระเบียบสะดวกต่อการให้บริการ 1 ห้อง
3. เจ้าหน้าที่พัสดุทุกคนดำเนินการเป็นระเบียบสะดวกต่อการให้บริการ และคุมการเบิก – จ่ายพัสดุและจำหน่ายครุภัณฑ์ของโรงเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  เชิงคุณภาพ
    1. เจ้าหน้าที่พัสดุมีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. โรงเรียนมีห้องงานพัสดุที่เป็นระเบียบสะดวกต่อการให้บริการ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 6/11/2563          ถึงวันที่ : 30/9/2564

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การพัฒนางานพัสดุ
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
4. จัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบพัสดุ
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
5. ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
6. สรุปผลการดำเนินการ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
7. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 25000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ห้องพัสดุโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 6/11/2563     ถึงวันที่ 30/9/2564
  ผู้รับผิดชอบ นางดุจดาว นุชนุ่ม และคณะ

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 25,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 25,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
งานการเงิน
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. การบริหารงานพัสดุ สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว โปร่งใส ถูกต้อง ตามระเบียบของทางราชการ
2. มีระบบการติดตาม กำกับ ตรวจสอบ และพัฒนาระบบการบริหารงานพัสดุ
3. ผู้รับบริการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความพึงพอใจต่อการให้บริการ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 2-01-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2564
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
กลุ่มสาระ/งาน งานนโยบายและแผน
ชื่อโครงการ พัฒนางานแผนงาน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
จุดเน้น สพฐ. ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและ ส่งเสริมการมีส่วนร่วม
กลยุทธ์ สพม.8 กลยุทธ์ที่ 4. พัฒนาระบบการบริหารจัดการโดยมุ่งเน้นการจัดการศึกษา เพื่อความมั่นคงได้มาตรฐาน
ระดับสากลบนพื้นฐานการมีส่วนร่วมและส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 1. มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน
ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 6. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษาด้วยระบบคุณภาพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายก่อกิจ ธีราโมกข์

1. หลักการและเหตุผล

          ในแต่ละปีงบประมาณ สถานศึกษาจะได้รับงบประมาณจัดสรรจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หน่วยงานต่าง ๆ ใน การสนับสนุนงบประมาณเพื่อใช้ในการบริหารจัดการของสถานศึกษาซึ่งสถานศึกษามีภาระกลุ่มงานในการบริหาร จัดการใน 6 แผนงาน ได้แก่ แผนงานวิชาการ แผนงานงบประมาณ แผนงานบริหารบุคคล แผนงานบริหารงานทั่วไป แผนงานกิจการนักเรียน และ แผนงานเร่งด่วน โรงเรียนจะต้องบริหารจัดการภาระแผนงานดังกล่าวให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาที่กำหนดและทุกกลุ่มงานโดยการ มีส่วนร่วมของคณะครู คณะกรรมการสถานศึกษา และมีการดำเนินงานตามโครงการมีการสรุปรายงานโครงการ มีการรายงานผลแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เพื่อให้การตรวจสอบได้ ทางโรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นโดยน้อมนำหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช มาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆที่ต้องใช้ในการจัดโครงการ/กิจกรรม
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ผู้บริหารการจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์
- มีการวางแผนการดำเนินงานและเตรียมการจัดกิจกรรมอย่างดี
- มีการตั้งคณะกรรมการดำเนินงานรับผิดชอบด้านต่าง ๆ ให้ชัดเจน
- มีการประชุม ปรึกษาหารืออย่างสม่ำเสมอ
- มีการติดตามประเมิน และสรุปโครงการ/กิจกรรม
- มีการใช้ข้อมูลงานลักษณะนี้มาวางแผนการจัดการอย่างต่อเนื่อง
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- ความรู้ด้านการบริหารจัดการ การศึกษา

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - ปฏิบัติตามกฎหมาย
ด้านเศรษฐกิจ - รู้จักใช้วัสดุ อุปกรณ์ อย่างประหยัดเห็นคุณค่าของสรรพสิ่งไม่ ฟุ่มเฟื่อย
ด้านวัฒนธรรม - ซื่อสัตย์สุทจริต
ด้านสิ่งแวดล้อม - ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565 ของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ
2. เพื่อพัฒนางานแผนงานและเผยแพร่ข้อมูลงานแผนงาน
3. เพื่อติดตามผลการดำเนินโครงการ/งาน ในปีงบประมาณ 2564 ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. คณะครู และบุคลากร ร้อยละ 95 มีส่วนร่วมในการวางแผนด้านนโยบาย แผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการของโรงเรียน
2. คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้แทนชุมชน ผู้ปกครอง ร้อยละ 90 มีส่วนร่วมในการพัฒนา / ปรับปรุงแผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการของโรงเรียน
3. จัดทำรูปเล่มแผนปฏิบัติการ รูปเล่มแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา รายงานผลการดำเนินงานของสถานศึกษาตามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2565 จำนวน 30 เล่ม
  เชิงคุณภาพ
    1. โรงเรียนมี แผนกลยุทธ์ ประจำปี 2564-2567 และแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565 ที่ถูกต้องสมบูรณ์
2. ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่าย มีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 อยู่ในระดับยอดเยี่ยม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2563          ถึงวันที่ : 30/9/2564

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    จัดประชุมและทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- จัดทำโครงการ
- เสนอกิจกรรมเพื่ออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง และออกคำสั่งการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประชุมเชิงปฏิบิติการ จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 1500 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2563     ถึงวันที่ 30/9/2564
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวศิริพร วัชรชัยโสภณสิริ
    กิจกรรมที่ 2    ติดตามตรวจสอบงาน/โครงการ
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- จัดทำโครงการ
- เสนอกิจกรรมเพื่ออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง และออกคำสั่งการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ติดตามโครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 500 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2563     ถึงวันที่ 30/9/2564
  ผู้รับผิดชอบ นายก่อกิจ ธีราโมกข์
    กิจกรรมที่ 3    พัฒนานโยบายและแผนงาน
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- จัดทำโครงการ
- วางแผนการปฏิบัติงาน
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง และออกคำสั่งการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- จัดทำแผนป้ายประชาสัมพันธ์ จัดทำรูปเล่มแผนพัฒนาคุณภาพ
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 5000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2563     ถึงวันที่ 30/9/2564
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวศิริพร วัชรชัยโสภณสิริ

   รวม 3 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 7,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 7,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คณะครูโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. โรงเรียนมีการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565 มีแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา และแผ่นป้ายประชาสัมพันธ์ ที่ถูกต้องสมบูรณ์
2. การดำเนินงานตามโครงการ บรรลุผลสำเร็จมีคุณภาพและมีมาตรฐานการศึกษาที่กำหนด
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 2-05-5
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2564
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
กลุ่มสาระ/งาน การจัดทำต้นทุนผลผลิตต่อหน่วย
ชื่อโครงการ คำนวณต้นทุนผลผลิต
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
จุดเน้น สพฐ. ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและ ส่งเสริมการมีส่วนร่วม
กลยุทธ์ สพม.8 กลยุทธ์ที่ 4. พัฒนาระบบการบริหารจัดการโดยมุ่งเน้นการจัดการศึกษา เพื่อความมั่นคงได้มาตรฐาน
ระดับสากลบนพื้นฐานการมีส่วนร่วมและส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 6. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษาด้วยระบบคุณภาพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 2. ส่งเสริมคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายมนตรี แต่งจันทร์

1. หลักการและเหตุผล

           การบริหารงบประมาณตามนโยบายภาครัฐ เป็นงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานเชิงยุทธศาสตร์ ( Stratcgic Performance Base Budgcting : SPBB) ใช้เป็นแนวทางของทุกส่วนราชการ เพื่อนำไปจัดทำแผนการให้บริการ กำหนดเป็นผลผลิต และตัวชี้วัดความสำเร็จ กระบวนการดังกล่าว สถานศึกษาจะต้อง จัดทำเป็นแผนงาน/โครงการ โดยมีกิจกรรมแสดงเป็นรายละเอียดการทำงาน เพื่อกำหนดให้มี การคำนวณต้นทุนผลผลิต การวิเคราะห์ความคุ้มค่าของต้นทุนผลผลิตนำผลการวิเคราะห์ไปใช้ในการปรับปรุงการพัฒนาการศึกษา เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพของโรงเรียน
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆที่ต้องใช้ในการจัดโครงการ/กิจกรรม
- พอประมาณกับสถานที่จัดโครงการ/กิจกรรม
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ผู้บริหารการจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์
- มีการติดตามประเมิน และสรุปโครงการ/กิจกรรม
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- ความรู้ด้านการบริหารจัดการ การศึกษา

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม เสียสละเพื่อส่วนรวม
ด้านเศรษฐกิจ - รู้จักใช้วัสดุ อุปกรณ์ อย่างประหยัดเห็นคุณค่าของสรรพสิ่งไม่ ฟุ่มเฟื่อย
ด้านวัฒนธรรม - ไม่ทำลายชีวิตผู้อื่น ด้วยความคึกคะนอง ตระหนักถึงหลักชีวิต จริยธรรม
ด้านสิ่งแวดล้อม - ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

เพื่อจัดทำการคำนวณต้นทุนผลผลิตและคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีการศึกษา 2564

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    เพื่อจัดทำรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิตร้อยละ 80
  เชิงคุณภาพ
    ความพึงพอใจในระดับดีของการจัดทำรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิต

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 9/11/2563          ถึงวันที่ : 30/9/2564

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การจัดทำต้นทุนผลผลิตต่อหน่วย
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
1. ปรับปรุงโครงการโดยการนำผลประเมินโครงการของปีก่อนหน้า มาปรับปรุงขั้นตอนการดำเนินงาน หรือขั้นตอนการประเมินผล
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
2. คำสั่งการดำเนินงาน โดยใช้คำสั่งของขอบข่ายงานของปีงบประมาณ 2564
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
1. การติดตามข้อมูลในโครงการการคำนวณต้นทุนผลผลิต ในระยะที่ 1 (ตุลาคม 63 - เมษายน 64)
2. การติดตามข้อมูลในโครงการการคำนวณต้นทุนผลผลิต ในระยะที่ 1 ( เมษายน 64 - กันยายน 64)
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
3. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
1. สรุปผลการประเมินกิจกรรม โดยการจัดทำรูปเล่มรายงานผลการคำนวณต้นทุนผลผลิต และ จัดทำคำรับรองการปฏิบัติปีงบประมาณ 2564
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
2. บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรมการคำนวณต้นทุนผลผลิตต่อผู้บริหาร และนำข้อเสนอแนะจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับกิจกรรมนี้มาปรับใช้ในครั้งต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 9/11/2563     ถึงวันที่ 30/9/2564
  ผู้รับผิดชอบ นายมนตรี แต่งจันทร์

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
-
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
โรงเรียนจัดทำการคำนวณต้นทุนผลผลิตได้ถูกต้องและสามารถจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการนำไปใช้ในการบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 2-06-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2564
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
กลุ่มสาระ/งาน งานประเมินผลการปฏิบัติงานด้านบริหารงบประมาณ
ชื่องาน งานประเมินผลการปฏิบัติงานด้านการบริหารงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ2564
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
จุดเน้น สพฐ. ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและ ส่งเสริมการมีส่วนร่วม
กลยุทธ์ สพม.8 กลยุทธ์ที่ 4. พัฒนาระบบการบริหารจัดการโดยมุ่งเน้นการจัดการศึกษา เพื่อความมั่นคงได้มาตรฐาน
ระดับสากลบนพื้นฐานการมีส่วนร่วมและส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 6. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษาด้วยระบบคุณภาพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายไพรัชน์ จารุจิระวงศ์

1. หลักการและเหตุผล

           การบริหารงบประมาณที่มีประสิทธิภาพ ต้องปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใช้จ่ายเงินงบประมาณให้เกิดความ คุ้มค่า และถูกต้องตามระเบียบการใช้จ่ายเงินงบประมาณทั้งในส่วนของเงินอุดหนุนและเงินระดมทรัพยากร ต้องใช้จ่ายให้เป็นไปตาม แนวปฏิบัติและวัตถุประสงค์ของเงินประเภทนั้นๆ นอกจากนี้โรงเรียนต้องมีการจัดเก็บเงินระดมทรัพยากรจากผู้ปกครองเพื่อนำมาใช้ใน การจัดการศึกษาให้กับนักเรียน ดังนั้นการดำเนินการด้านการบริหารงบประมาณ จำเป็นต้องมีการประเมินผลการปฏิบัติงานด้านการ บริหารงบประมาณให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติราชการที่ได้วางแผนไว้ และต้องมีการรายงานการใช้เงินงบประมาณในระบบบัญชีการศึกษา ขั้นพื้นฐาน(E-Budget) ซึ่งโรงเรียนต้องรายงานทุกครึ่งปีงบประมาณในระบบอิเล็กทรอนิกส์ ดังัน้นการปฏิบัติงานด้านการบริหารงบ ประมาณ ของฝ่ายบริหารงบประมาณจึงต้องมีการประเมินผล เพื่อนำผลการประเมินไปรายงานในการประกันคุณภาพสถานศึกษา และ การบริหารงานของโรงเรียน
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับเวลาที่ใช้ดำเนินกิจกรรม ตั้งแต่เตรียมการจัดงานและสรุปประเมินผล
- พอประมาณกับวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆที่ต้องใช้ในการจัดโครงการ/กิจกรรม
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ผู้บริหารการจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์
- มีการวางแผนการดำเนินงานและเตรียมการจัดกิจกรรมอย่างดี
- มีการตั้งคณะกรรมการดำเนินงานรับผิดชอบด้านต่าง ๆ ให้ชัดเจน
- มีการติดตามประเมิน และสรุปโครงการ/กิจกรรม
- มีการใช้ข้อมูลงานลักษณะนี้มาวางแผนการจัดการอย่างต่อเนื่อง
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- การประหยัด ใช้จ่ายงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์อย่างคุ้มค่า
- ความขยัน อดทน
- ความมีสติปัญญา รู้ผิดรู้ชอบ ตัดสินใจกระทำการใด ๆ บนเหตุผล
- ความรู้ด้านการบริหารจัดการ การศึกษา
- ความรู้ด้านการสรุปงาน ประเมินผลงาน

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ - รู้จักใช้วัสดุ อุปกรณ์ อย่างประหยัดเห็นคุณค่าของสรรพสิ่งไม่ ฟุ่มเฟื่อย
ด้านวัฒนธรรม - ซื่อสัตย์สุทจริต
ด้านสิ่งแวดล้อม - ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

เพื่อบริหารงบประมาณของโรงเรียนให้เกิดประสิทธิภาพและพอเพียง

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    กลุ่มงานบริหารงานงบประมาณ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมสามารถจัดสรรเงินงบประมาณได้ครบตามแผนปฏิบัติราชการคิดเป็นร้อยละ 100
  เชิงคุณภาพ
    กลุ่มงานบริหารงานงบประมาณ สามารถบริหารเงินงบประมาณได้อย่างมีประสิทธิภาพ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 5/11/2563          ถึงวันที่ : 30/9/2564

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    งานประเมินผลการปฏิบัติงานด้านการบริหารงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ2564
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- การจัดทำข้อมูลวงเงินอุดหนุน และวงเงินระดมทรัพยากร ในปีงบประมาณ 2564 (วงเงิน 70%)
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- การจัดสรรเงินอุดหนุน และเงินระดมทรัพยากร ตามสัดส่วนที่คณะกรรมการพิจารณาอนุมัติเงินงบประมาณตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2564 ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- การจัดทำรายงานการใช้เงินในแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2564
- การรายงานการรับ-จ่ายเงินในระบบบัญชีการศึกษาขั้นพื้นฐาน(E-Budget) - สรุปผลการดำเนินการ
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มงานบริหารงานงบประมาณ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 5/11/2563     ถึงวันที่ 30/9/2564
  ผู้รับผิดชอบ นายไพรัชน์ จารุจิระวงศ์

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ครูและบุคลากรโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
กลุ่มงานบริหารงานงบประมาณสามารถจัดสรรเงินได้อย่างมีประสิทธิภาพ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
การจัดเก็บเงินระดมทรัพยากร(เงินบำรุงการศึกษา) ไม่ครบร้อยละ 100 ทำให้การกำหนดวงเงินในการดำเนินการตามแผนงานสามารถใช้เงินได้เพียงแค่ร้อยละ 70 เท่านั้น

 

 

รหัสโครงการ 2-02-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2564
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
กลุ่มสาระ/งาน งานบริหารการเงินและบัญชี
ชื่องาน งานบริหารการเงินและบัญชีประจำปีงบประมาณ 2564
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
จุดเน้น สพฐ. ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและ ส่งเสริมการมีส่วนร่วม
กลยุทธ์ สพม.8 กลยุทธ์ที่ 4. พัฒนาระบบการบริหารจัดการโดยมุ่งเน้นการจัดการศึกษา เพื่อความมั่นคงได้มาตรฐาน
ระดับสากลบนพื้นฐานการมีส่วนร่วมและส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 6. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษาด้วยระบบคุณภาพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 1. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายไพรัชน์ จารุจิระวงศ์

1. หลักการและเหตุผล

           การบริหารงานการเงินและบัญชีให้เกิดประสิทธิภาพ เกิดจากองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน ได้แก่ 1) ความชำนาญของบุคลากรผู้ ปฏิบัติงาน 2) การวางแผนที่ดีในการปฏิบัติงาน และ 3)การยึดถือระเบียบการเงินการคลังและแนวปฏิบัติทางการเงินการคลังของหน่วยงาน ราชการอย่างเคร่งครัด การบริหารงานการเงินและการบัญชีของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมในปีงบประมาณ 2564 จะดำเนินการให้บริการแก่ครู บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครอง ผู้ขาย ผู้รับจ้าง และผู้เกี่ยวข้องที่มีส่วนได้ส่วนเสีย ภายใต้กรอบของความโปร่งใสในการป้องกันการทุจริต(ITA) เพื่อให้การบริหารงานการเงินและการบัญชีของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเป็นที่พึงพอใจแก่ผู้รับบริการ ให้เป็นไปตามคำขวัญการปฏิบัติงาน ทัน สมัย ทันใจ ทันเวลา โปร่งใส ยึดระเบียบ และเป็นระบบ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆที่ต้องใช้ในการจัดโครงการ/กิจกรรม
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ผู้บริหารการจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์
- มีการวางแผนการดำเนินงานและเตรียมการจัดกิจกรรมอย่างดี
- มีการตั้งคณะกรรมการดำเนินงานรับผิดชอบด้านต่าง ๆ ให้ชัดเจน
- มีการประสานงานกับกลุ่มเป้าหมาย ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง
- มีการใช้ข้อมูลงานลักษณะนี้มาวางแผนการจัดการอย่างต่อเนื่อง
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- การประหยัด ใช้จ่ายงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์อย่างคุ้มค่า
- ความขยัน อดทน
- ความมีสติปัญญา รู้ผิดรู้ชอบ ตัดสินใจกระทำการใด ๆ บนเหตุผล
- ความรู้ด้านการบริหารจัดการ การศึกษา
- ความรู้ด้านการสรุปงาน ประเมินผลงาน

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - ปฏิบัติตามกฎหมาย
ด้านเศรษฐกิจ - รู้จักใช้วัสดุ อุปกรณ์ อย่างประหยัดเห็นคุณค่าของสรรพสิ่งไม่ ฟุ่มเฟื่อย
ด้านวัฒนธรรม - ซื่อสัตย์สุทจริต
ด้านสิ่งแวดล้อม - ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อบริหารงานการเงินและการบัญชีให้ถูกต้องตามระเบียบการเงินการคลัง
2. เพื่อให้การบริการด้านการเงินและการบัญชีแก่ครู บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครอง ผู้ขายและผู้รับจ้าง

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. การปฏิบัติงานด้านการเงินและการบัญชีมีความถูกต้อง คิดเป็นร้อยละ 100
2. การให้บริการแก่ครูและบุคลากรของโรงเรียน เป็นที่พึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
  เชิงคุณภาพ
    1.การบริหารงานการเงินและการบัญชีของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมมีประสิทธิภาพในระดับดีมาก
2.การให้บริการงานการเงินและการบัญชีของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเป็นที่พึงพอใจแก่ผู้รับบริการในระดับดีมาก

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 5/11/2563          ถึงวันที่ : 30/9/2564

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การบริหารงานการเงินและการบัญชี
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- การประชุมบุคลากรผู้ปฏิบัติงานการเงินและบัญชี เพื่อกำหนดแนวทางการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ
- การวางแผนและการกำหนดปฏิทินการปฏิบัติงานการเงินและการบัญชี
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- การปฏิบัติงานการเงินและการบัญชีตามระเบียบการเงินการคลัง
- การให้บริการด้านการเงินการบัญชีแก่ครู บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครอง ผู้ขาย ผู้รับจ้างและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- การรายงานการรับ-จ่ายเงินทุกประเภท
- รายงานเงินคงเหลือประจำวัน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- รายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 30000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ห้องสำนักงานการเงิน ฝ่ายบริหารงานงบประมาณ
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 5/11/2563     ถึงวันที่ 30/9/2564
  ผู้รับผิดชอบ นายไพรัชน์ จารุจิระวงศ์

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 30,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 30,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1.งานการเงิน /นางสาวพิลาวรรณ ทัพชัย 2.งานบัญชี/นางสาวกัญญาณัฐญ์ ฉินทรงเกียรติ
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม เป็งองค์กรแห่งความโปร่งใส เป็นธรรม และตรวจสอบได้
2.ฝ่ายบริหารงานงบประมาณสามารถบริหารงานการเงินและบัญชีได้ตามปฏิทินการปฏิบัติงาน
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 2-08-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2564
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
กลุ่มสาระ/งาน งานสหกรณ์
ชื่อโครงการ สหกรณ์โรงเรียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
จุดเน้น สพฐ. ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและ ส่งเสริมการมีส่วนร่วม
กลยุทธ์ สพม.8 กลยุทธ์ที่ 4. พัฒนาระบบการบริหารจัดการโดยมุ่งเน้นการจัดการศึกษา เพื่อความมั่นคงได้มาตรฐาน
ระดับสากลบนพื้นฐานการมีส่วนร่วมและส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 6. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษาด้วยระบบคุณภาพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 4. เป็นพลเมืองที่ดี
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวรุจิเรข ฉอยทิม

1. หลักการและเหตุผล

           กิจกรรมสหกรณ์ในโรงเรียนเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนได้มีความรู้ เข้าใจเกี่ยวกับระบบสหกรณ์โดยการปฏิบัติจริง ทั้งนี้สามารถบูรณาการกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้หลากหลายกลุ่มสาระการเรียนรู้ ซึ่งนักเรียนสามารถนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้ ตลอดจนเป็นการปลูกฝังให้นักเรียนมีลักษณะนิสัยอันพึงประสงค์คือไม่ฟุ่มเฟือย รู้จักการประหยัดอดออม และมีการใช้จ่ายอย่างเหมาะสมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับกำลังและความสามารถของครู นักเรียนที่จะช่วยกันดำเนินงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ฝึกฝนให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีจิตสาธารณะ
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ฝึกฝน สร้างนักเรียนให้มีทักษะในการทำงาน
- มีการวางแผนการดำเนินงานและเตรียมการจัดกิจกรรมอย่างดี
- มีการตั้งคณะกรรมการดำเนินงานรับผิดชอบด้านต่าง ๆ ให้ชัดเจน
- มีการประชุม ปรึกษาหารืออย่างสม่ำเสมอ
- มีการประสานงานกับกลุ่มเป้าหมาย ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง
- มีการติดตามประเมิน และสรุปโครงการ/กิจกรรม
- มีการใช้ข้อมูลงานลักษณะนี้มาวางแผนการจัดการอย่างต่อเนื่อง
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- ความขยัน อดทน
- ความมีสติปัญญา รู้ผิดรู้ชอบ ตัดสินใจกระทำการใด ๆ บนเหตุผล
- ความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - นักเรียนได้นำความรู้จากการทำกิจกรรมไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
- ปฏิบัติตามกฎหมาย
ด้านเศรษฐกิจ - มีรายได้ระหว่างเรียน
ด้านวัฒนธรรม - ซื่อสัตย์สุทจริต
ด้านสิ่งแวดล้อม - ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับหลักการของสหกรณ์
2. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนรู้จักประหยัดและมีการวางแผนในการใช้จ่ายบนพื้นฐานของความพอเพียง
3. เพื่อจัดหาอุปกรณ์การเรียนราคาถูกและคุณภาพดีมาบริการนักเรียน

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนร้อยละ 100 เป็นสมาชิกสหกรณ์
2. นักเรียนร้อยละ 80 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและวิธีการของสหกรณ์
3. นักเรียนร้อยละ 80 รู้จักประหยัดและมีการวางแผนในการใช้จ่ายอย่างพอเพียง
4. นักเรียนร้อยละ 80 ได้ซื้ออุปกรณ์การเรียนในราคาถูกและมีคุณภาพ
  เชิงคุณภาพ
    1.นักเรียนรู้และเข้าใจบทบาทของการเป็นสมาชิกสหกรณ์และปฏิบัติตนเป็นสมาชิกสหกรณ์ที่ดีได้อย่าง เหมาะสม
2.นักเรียนมีนิสัยประหยัดอดออมและใช้จ่ายอย่างพอเพียง

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2563          ถึงวันที่ : 30/9/2564

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    สหกรณ์ร้านค้า
  ขั้นเตรียมการ การวางแผนการทำงานเป็นทีม T1
เสนอโครงการ
การกำหนดภาระหน้าที่งาน T2
ออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ การปฏิบัติตามภาระหน้าที่ M1
คณะกรรมการดำเนินงานปฏิบัติหน้าที่ตามคำสั่ง
การประสานงาน M2
ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน
  ขั้นสรุป การประเมินผล V1
1. สำรวจความพึงพอใจ
2. สรุปผลความพึงพอใจ
การกำกับ ติดตาม V2
จัดทำรายงานโครงการและติดตามการดำเนินโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2563     ถึงวันที่ 30/9/2564
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวรุจิเรข ฉอยทิม

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนมีความรู้ เข้าใจ เกี่ยวกับหลักการและวิธีการของสหกรณ์ ตลอดจนสามารถนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้ อย่างเหมาะสม
2. นักเรียนมีนิสัยประหยัดอดออมและวางแผนการใช้จ่ายอย่างเหมาะสมบนพื้นฐานความพอเพียง
3. นักเรียนสามารถซื้ออุปกรณ์การเรียนได้ในราคาถูกและมีคุณภาพ
4.โรงเรียนสามารถนำผลการดำเนินงานไปพัฒนาสถานศึกษา
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
ขาดบุคลากรตรวจสอบบัญชี

 

 

รหัสโครงการ 2-07-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2564
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
กลุ่มสาระ/งาน งานควบคุมภายใน
ชื่อโครงการ พัฒนางานควบคุมภายใน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
จุดเน้น สพฐ. ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและ ส่งเสริมการมีส่วนร่วม
กลยุทธ์ สพม.8 กลยุทธ์ที่ 4. พัฒนาระบบการบริหารจัดการโดยมุ่งเน้นการจัดการศึกษา เพื่อความมั่นคงได้มาตรฐาน
ระดับสากลบนพื้นฐานการมีส่วนร่วมและส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 6. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษาด้วยระบบคุณภาพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางอรอนงค์ ชัยประเสริฐ

1. หลักการและเหตุผล

          คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ข้อ 6 ได้กำหนดระบบการควบคุมภายในของตนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสม กับการปฏิบัติงานในหน่วยงาน เพื่อเป็นเครื่องมือในการป้องกันและรักษาทรัพย์สิน ช่วยให้การใช้ทรัพยากรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และให้การปฏิบัติงานในขั้นตอนต่างๆเป็นไปอย่างถูกต้องเหมาะสม ในการกำกับดูแลการจัดทำระบบการควบคุมภายใน ติดตามประเมินผลและ รายงานผลการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 ข้อ 6 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบการควบคุมภายในโรงเรียน เพื่อให้จัดระบบการควบคุมภายในโรงเรียนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับเวลาที่ใช้ดำเนินกิจกรรม ตั้งแต่เตรียมการจัดงานและสรุปประเมินผล
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ผู้บริหารการจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์
- มีการตั้งคณะกรรมการดำเนินงานรับผิดชอบด้านต่าง ๆ ให้ชัดเจน
- มีการประชุม ปรึกษาหารืออย่างสม่ำเสมอ
- มีการติดตามประเมิน และสรุปโครงการ/กิจกรรม
- มีการใช้ข้อมูลงานลักษณะนี้มาวางแผนการจัดการอย่างต่อเนื่อง
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- การประหยัด ใช้จ่ายงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์อย่างคุ้มค่า
- ความมีสติปัญญา รู้ผิดรู้ชอบ ตัดสินใจกระทำการใด ๆ บนเหตุผล
- ความรู้ด้านการบริหารจัดการ การศึกษา
- ความรู้ด้านการสรุปงาน ประเมินผลงาน

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม เสียสละเพื่อส่วนรวม
- ปฏิบัติตามกฎหมาย
ด้านเศรษฐกิจ - รู้จักใช้วัสดุ อุปกรณ์ อย่างประหยัดเห็นคุณค่าของสรรพสิ่งไม่ ฟุ่มเฟื่อย
ด้านวัฒนธรรม - ซื่อสัตย์สุทจริต
ด้านสิ่งแวดล้อม - ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้โรงเรียนมีการจัดวางระบบการควบคุมภายในตามมาตรฐานที่กำหนดและเป็นไปตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ข้อ 6
2. เพื่อให้โรงเรียนรายงานผลการควบคุมภายในต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและมีการดำเนินงานตามแผนการปรับรุงการควบคุมภายใน
3. เพื่อพัฒนาการดำเนินงานของงานควบคุมภายในของโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพ

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    ร้อยละ 85 ของกลุ่ม/งาน/ฝ่าย จัดทำแผนการควบคุมภายใน ติดตามผลและรายงานผลการควบคุมภายใน
  เชิงคุณภาพ
    งานควบคุมภายในปฏิบัติงานได้ถูกต้อง ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ข้อ 6

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2563          ถึงวันที่ : 30/9/2564

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    พัฒนางานควบคุมภายใน
  ขั้นเตรียมการ การวางแผนการทำงานเป็นทีม T1
1. ประชุมคณะกรรมการฝ่ายบริหารโรงเรียน
2. ขออนุมัติโครงการ
การกำหนดภาระหน้าที่งาน T2
3. แต่งตั้งคณะกรรมการและประชุมคณะกรรมการฝ่ายบริหารโรงเรียน
  ขั้นดำเนินการ การปฏิบัติตามภาระหน้าที่ M1
4. ติดตามการดำเนินงานตามแผนการควบคุมภายใน
การประสานงาน M2
5. วิเคราะห์ความเสี่ยงและวางแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน
  ขั้นสรุป การประเมินผล V1
6. รายงานผลการควบคุมภายในต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การกำกับ ติดตาม V2
7. รายงานผลการปฏิบัติงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 4500 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2563     ถึงวันที่ 30/9/2564
  ผู้รับผิดชอบ นางอรอนงค์ ชัยประเสริฐ

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 4,500.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 4,500.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ฝ่ายบริหารงานงบประมาณ
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
โรงเรียนมีการพัฒนาการจัดทำระบบและรายงานผลการควบคุมภายในตามมาตรฐานที่กำหนดและเป็นไปตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ข้อ 6 ได้มีประสิทธิภาพ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
บุคลากรในการปฏิบัติงานไม่เพียงพอ

 

 

รหัสโครงการ 2-09-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2564
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
กลุ่มสาระ/งาน งานสวัสดิการร้านค้า
ชื่อโครงการ ร้านค้าสวัสดิการโรงเรียน
ลักษณะโครงการ โครงการใหม่
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
จุดเน้น สพฐ. ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและ ส่งเสริมการมีส่วนร่วม
กลยุทธ์ สพม.8 กลยุทธ์ที่ 4. พัฒนาระบบการบริหารจัดการโดยมุ่งเน้นการจัดการศึกษา เพื่อความมั่นคงได้มาตรฐาน
ระดับสากลบนพื้นฐานการมีส่วนร่วมและส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 ข้อที่ 2. ความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 6. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษาด้วยระบบคุณภาพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล
พระราโชบาย ฯ ข้อที่ 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
จุดเน้นมาตรฐานสากล ข้อที่ 3. ล้ำหน้าทางความคิด
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายวุฒิชัย เนียมหอม

1. หลักการและเหตุผล

           การจัดกิจกรรมร้านค้าสวัสดิการโรงเรียนเป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนกิจกรรมร้านค้าสวัสดิการได้อย่างมี ประสิทธิภาพพร้อมฝึกให้เด็กรู้จักการออมทรัพย์และยังเป็นการสร้างระเบียบวินัยในการซื้อและการขายตลอดทั้งสนับสนุนให้ โรงเรียนมีเอกสาร วัสดุอุปกรณ์ประกอบการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในหลักการและวิธีการจัดกิจกรรมร้านค้า สวัสดิการในโรงเรียนให้ดียิ่งขึ้น ทั้งนี้นักเรียนสามารถนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตในประจำวันได้ ตลอดจนเป็นการฝึกฝนด้านระเบียบวินัย การ อดออม ใช้สอยอย่างไม่ฟุ่มเฟือยและมีการใช้จ่ายอย่างเหมาะสมเพื่อให้สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับกำลังและความสามารถของครู นักเรียนที่จะช่วยกันดำเนินงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะในการศึกษาหาความรู้ด้วยตัวเอง
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้สามารถศึกษาต่อระดับที่สูงขึ้นได้
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ฝึกฝน สร้างนักเรียนให้มีทักษะในการทำงาน
- มีการวางแผนการดำเนินงานและเตรียมการจัดกิจกรรมอย่างดี
- มีการประสานงานกับกลุ่มเป้าหมาย ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความขยัน อดทน
- ความมีสติปัญญา รู้ผิดรู้ชอบ ตัดสินใจกระทำการใด ๆ บนเหตุผล
- ความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - นักเรียนอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
- นักเรียนได้นำความรู้จากการทำกิจกรรมไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
- ปฏิบัติตามกฎหมาย
ด้านเศรษฐกิจ - มีรายได้ระหว่างเรียน
- การออม
ด้านวัฒนธรรม - ซื่อสัตย์สุทจริต
ด้านสิ่งแวดล้อม - ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1.เพื่อให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมร้านค้าสวัสดิการในโรงเรียน
2.เพื่อให้นักเรียนมีจิตสำนึกและมีคุณธรรมจริยธรรมความซื่อสัตย์สุจริต
3.เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีการวางแผนในการใช้จ่าย และการลงทุน
4.เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1.นักเรียนร้อยละ 80 มีการวางแผนในการใช้จ่ายและการลงทุน
2.นักเรียนร้อยละ 80 มีความรู้พื้นฐานเรื่องร้านค้าสวัสดิการโรงเรียนและฝึกให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริง
3.นักเรียนร้อยละ 80 มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย
  เชิงคุณภาพ
    1.นักเรียนมีความรู้พื้นฐานเรื่องร้านค้าสวัสดิการโรงเรียนมีการวางแผนในการใช้จ่าย ประหยัดอดออมมีความรับผิดชอบ และสามารถนำความรู้เกี่ยวกับหลักการร้านค้าสวัสดิการไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
2.สร้างลักษณะนิสัยนักเรียนให้รู้จักการอดออม ใช้สอยเงินอย่างประหยัด

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 6/11/2563          ถึงวันที่ : 30/9/2564

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    สวัสดิการร้านค้าโรงเรียน
  ขั้นเตรียมการ 1.แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน T2 - Tabulation to organization (การกำหนดหน้าที่ภาระงาน)
2.ประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินงาน T1 - Team management to framework (การวางแผนและการทำงานเป็นทีม)
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินงานตามแผนที่วางไว้ตามหลักการและวิธีการของสวัสดิการร้านค้าโรงเรียนโดยยึดหลักตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง M1-(ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่)
ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม M2- Making a correlation (การประสานงาน)
  ขั้นสรุป รายงานผลการดำเนินงาน V1 - Validity to evaluation (การประเมินผล)
บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม V2- (ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ สวัสดิการร้านค้าโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 6/11/2563     ถึงวันที่ 30/9/2564
  ผู้รับผิดชอบ นายวุฒิชัย เนียมหอม

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สวัสดิการร้านค้าโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมร้านค้าสวัสดิการในโรงเรียน
2.นักเรียนมีความรู้และทักษะเกี่ยวกับหลักการและวิธีการร้านค้าสวัสดิการ สามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
3. นักเรียนมีจิตสำนึกและมีคุณธรรมจริยธรรมความซื่อสัตย์สุจริต
4. นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ

 

 

รหัสโครงการ 2-04-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2564
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
กลุ่มสาระ/งาน งานธุรการ
ชื่องาน งานธุรการ
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
จุดเน้น สพฐ. ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและ ส่งเสริมการมีส่วนร่วม
กลยุทธ์ สพม.8 กลยุทธ์ที่ 4. พัฒนาระบบการบริหารจัดการโดยมุ่งเน้นการจัดการศึกษา เพื่อความมั่นคงได้มาตรฐาน
ระดับสากลบนพื้นฐานการมีส่วนร่วมและส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 ข้อที่ 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน ข้อที่ 6. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษาด้วยระบบคุณภาพ
กลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 3. ส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวณัฐชนก บุตรดาวงษ์

1. หลักการและเหตุผล

           โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ประจำอำเภอท่ามะกา เปิดสอนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 ใน ด้านการบริหารงานในโรงเรียน ต้องมีความโปรงใส ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน ตรวจสอบได้ และจำเป็นต้องมีการ พัฒนาระบบ งานธุรการให้ทันสมัย เพื่อรองรับประเทศไทยในยุคจิติตัล 4.0 ซึ่งการบริหารงาน จำเป็นต้องใช้วัสดุ อุปกรณ์ และสิ่ง อำนวย ความสะดวก ในการทำงาน และบริการ คณะครู บุคลากร และนักเรียนในโรงเรียน ให้รวดเร็ว ถูกต้อง ตรวจสอบได้
งานธุรการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบงานธุรการขึ้น เพื่ออำนวยความสะดวกใน การให้บริการกับครู บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครอง และผู้มาติดต่องาน ทันต่อเหตุการณ์ สะดวก รวดเร็ว โดยสอดคล้องกับหลักปรัญชาเศรษฐกิจพอเพียง ๓ ห่วง ๒ เงื่อนไข ๔ มิติ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆที่ต้องใช้ในการจัดโครงการ/กิจกรรม
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่พัฒนาสภาพแวดล้อม สื่อ เทคโนโลยี
- มีการตั้งคณะกรรมการดำเนินงานรับผิดชอบด้านต่าง ๆ ให้ชัดเจน
- มีการใช้ข้อมูลงานลักษณะนี้มาวางแผนการจัดการอย่างต่อเนื่อง
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- การประหยัด ใช้จ่ายงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์อย่างคุ้มค่า
- ความรู้ด้านการบริหารจัดการ การศึกษา

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - ปฏิบัติตามกฎหมาย
ด้านเศรษฐกิจ - รู้จักใช้วัสดุ อุปกรณ์ อย่างประหยัดเห็นคุณค่าของสรรพสิ่งไม่ ฟุ่มเฟื่อย
ด้านวัฒนธรรม - ซื่อสัตย์สุทจริต
ด้านสิ่งแวดล้อม - ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อพัฒนางานธุรการให้เป็นปัจจุบัน รวดเร็ว และทันสมัย
2. เพื่อบริการแก่ผู้มาติดต่อ

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    มีวัสดุอุปกรณ์ครบในการปฏิบัติงาน สามารถให้บริการแก่ผู้มาติดต่อ ร้อยละ 100
  เชิงคุณภาพ
    1. เพื่อพัฒนางานธุรการให้เป็นปัจจุบัน รวดเร็ว และทันสมัย
2. มีสิ่งอำนวยความสะดวกบริการกับคณะครู บุคลากร นักเรียน และผู้มาติดต่องาน อยู่ในระดับดีขึ้นไป

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 28/10/2563          ถึงวันที่ : 30/9/2564

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    พัฒนางานธุรการ
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- แผนงาน/โครงการ ตรวจวัสดุ และสิ่งอำนวยความสะดวกอื่น ๆ ที่ต้องใช้
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- การกำหนดหน้าที่ภาระงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- การดำเนินงาน ดำเนินการสั่งซื้อ
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- ประสานงาน
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- การประเมินผล รายงานผลการปฏิบัติงาน
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- การกำกับติดตาม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 43500 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ งานการเงิน ฝ่ายบริหารงบประมาณ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 28/10/2563     ถึงวันที่ 30/9/2564
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวณัฐชนก บุตรดาวงษ์

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 43,500.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 43,500.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
งานการเงิน ฝ่ายบริหารงบประมาณ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
งานธุรการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม มีวัสดุอุปกรณ์ที่เพียงพอ ทันสมัย บริการแก่ผู้มาติดต่อ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 2-10-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2564
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
กลุ่มสาระ/งาน สวัสดิการข้าราชการครูและลูกจ้างโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
ชื่องาน สวัสดิการข้าราชการครูและลูกจ้างโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ -
จุดเน้น สพฐ. -
กลยุทธ์ สพม.8 -
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน -
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวสิริลักษณ์ ภัทรเวียงกาญจน์

1. หลักการและเหตุผล

          

ในการจัดการศึกษาของโรงเรียน บุคลากรเป็นปัจจัยหลักของความสำเร็จในการพัฒนาทุกด้าน ของการศึกษา เพราะบุคลากรเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการสนับสนุนการเรียนการสอนและการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน การบริหารงาน โดยการจัดการให้ร่วมกันทำงานเป็นทีมและด้วยความพึงพอใจ ขวัญและกำลังใจมีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานเป็นอย่าง มาก เพราะเป็นสภาพจิตใจและพฤติกรรมของบุคคลที่แสดงให้เห็นถึงสักษณและความรู้สึกที่มีต่อการปฏิบัติงาน บุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถสูงหากขวัญและกำลังใจไม่ดีการปฏิบัติงานอาจจะไม่มีประสิทธิภาพดีเท่าที่ควร ในทางตรงกันข้ามบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถไม่โดดเด่นแต่มีขวัญกำลังใจที่ดี การปฏิบัติงานอาจจะมีประสิทธิภาพมากกว่า ดังนั้นการจัดสวัสดิการต่าง ๆ ให้แก่ บุคลากรจึงเป็นส่วนหนึ่งในกระบวนการเสริมสร้างขวัญและกำลังใจโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม มีความตระหนักและเห็นความสำคัญใน การสร้างขวัญและกำลังใจบุคลากรเป็นอย่างดี จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นในการจัดการศึกษาของโรงเรียน บุคลากรเป็นปัจจัยหลักของ ความสำเร็จในการพัฒนาทุกด้านของการศึกษา เพราะบุคลากรเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการสนับสนุนการเรียนการสอนและการพัฒนา คุณภาพผู้เรียน การบริหารงานโดยการจัดการให้ร่วมกันทำงานเป็นทีมและด้วยความพึงพอใจ ขวัญและกำลังใจมีอิทธิพลต่อประสิทธิ ภพในครูปฏิบัติงานเป็นอย่างมาก เพราะเป็นสภาพจิตใจและพฤติกรรมของบุคคลที่แสดงให้เห็นถึงสักษณและความรู้สึกที่มีต่อการ ปฏิบัติงาน บุคลากรที่มีความรู้ความสามารถสูงหากขวัญและกำลังใจไม่ดีการปฏิบัติงานอาจจะไม่มีประสิทธิภาพดีเท่าที่ควร ในทาง ตรงกันข้ามบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถไม่โดดเด่นแต่มีขวัญกำลังใจที่ดี การปฏิบัติงานอาจจะมีประสิทธิภาพมากกว่า ดังนั้นการ จัดสวัสดิการต่าง ๆให้แก่บุคลากรจึงเป็นส่วนหนึ่งในกระบวนการเสริมสร้างขวัญและกำลังใจ

โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม มีความตระหนักและเห็นความสำคัญในการสร้างขวัญและกำลังใจบุคลากรเป็นอย่างดี จึงได้จัด ทำโครงการนี้ขึ้น
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่ครูและบุคลากรทางการศึกษา
2. เพื่อเป็นแรงจูงใจให้บุคลากรปฏิบัติงานอย่างมีความสุขและมีประสิทธิภาพ
3. เพื่อให้บุคลากรปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี มีความภาคภูมิใจ

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ครูและบุคลากรโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
2. ครูและบุคลากรโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  เชิงคุณภาพ
    1. ครูและบุคลากรโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
2. ครูและบุคลากรโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2563          ถึงวันที่ : 30/9/2564

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    .
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1) - จัดทำโครงการ - เสนอกิจกรรมเพื่ออนุมัติ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2) - ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง และออกคำสั่งการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1) - บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม ขั้นตอนการประสานงาน(M2) - ประชุมเชิงปฏิบิติการ จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2564
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1) - สรุปรายงานผลการดำเนินงาน ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2) - รายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2563     ถึงวันที่ 30/9/2564
  ผู้รับผิดชอบ นางสิริลักษณ์ ภัทรเวียงกาญจน์

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
.
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
.
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
.