รหัสโครงการ 1-01-1
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานจัดการเรียนการสอน
ชื่อโครงการ การจัดการเรียนการสอน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูสมชาติ ตรียินดี

1. หลักการและเหตุผล

          

กรณีต้องการย่อหน้าที่ 2

<ตามแนวทางการจัดการศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในการพัฒนากระบวนการ การเรียนการ สอน และการ นิเทศ พร้อมแนวทางการสร้างทักษะการดำรงชีวิต การพัฒนากระบวนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ เน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ โรงเรียนจึงต้องสนับสนุนด้านวัสดุ ครุภัณฑ์สื่อและเทคโนโลยีด้านต่างๆ เพื่อนำไปจัดการเรียน การสอนให้เพียงพอกับความ ต้องการ ของผู้เรียน อันเป็นการปรับปรุงคุณภาพการศึกษา ซึ่งจะเป็นแนวทางการยกระดับ มาตรฐานการศึกษา ให้ครูพัฒนาสู่ความ เป็นครูมืออาชีพ และนักเรียนมีศักยภาพและ ความสามารถเท่าเทียมกับโรงเรียนมัธยมศึกษาทั่วไป โดยน้อมนำหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชเป็น แนวทางในการดำเนินงาน และให้สอดคล้องกับปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง>

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อให้มีวัสดุอุปกรณ์เพียงพอต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
2. เพื่อให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นไปตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา
3. เพื่อส่งเสริมบรรยากาศในการเรียนการสอน
4. เพื่อให้ครูพัฒนาตนเองสู่ความเป็นครูมืออาชีพ

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ร้อยละ 90 ครู นักเรียน มีวัสดุอุปกรณ์บริการด้านวิชาการอย่างเพียงพอตามความจำเป็น
2. ร้อยละ 90 ครู พัฒนาตนเองสู่ความเป็นครูมืออาชีพ
  เชิงคุณภาพ
    1. การจัดการเรียนการสอนทุกรายวิชามีประสิทธิภาพสูงขึ้น
2. ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่าย มีความพึงพอใจ ระดับดีมาก

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การจัดการเรียนการสอนด้านวิชาการ
  ขั้นเตรียมการ 1. สำรวจรายการวัสดุอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอน
2. กำหนดรายการที่จำเป็นต้องซื้อ
  ขั้นดำเนินการ 1. กิจกรรมจัดการเรียนการสอน ตามกลุ่มสาระ
2. จัดการเรียนการสอนรายวิชาต่างๆ
3. ซื้อวัสดุอุปกรณ์ไว้บริการในการจัดการเรียนการสอน
  ชั้นสรุป รายงานการจัดการเรียนการสอน รายงานผลการศึกษาต่อและการมีงานทำ
ประเมินผลกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 150000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2530
  ผู้รับผิดชอบ นายสมชาติ ตรียินดี
    กิจกรรมที่ 2    พัฒนาปรับปรุงสำนักงานวิชาการ
  ขั้นเตรียมการ 1. สำรวจรายการวัสดุอุปกรณ์
2. กำหนดรายการที่จำเป็นต้องซื้อ
  ขั้นดำเนินการ 1. สำรวจรายการวัสดุอุปกรณ์
2. จัดซื้อวัดสุอุปกรณ์
  ชั้นสรุป รายงานการจัดซื้อ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 2500 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายสมชาติ ตรียินดี
    กิจกรรมที่ 3    การซ่อมบำรุงเครืองถ่ายเอกสาร เครื่องโรเนียว เครื่อง copyprint color
  ขั้นเตรียมการ สำรวจและศึกษาระบบและแนวทางการแก้ไขติดต่อบริษัทและขอใบเสนอราคา
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินการซ่อมบำรุง
  ชั้นสรุป ทดลองใช้งานและติดตามผล
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 15000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ห้องผลิตเอกสาร โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายสมชาติ ตรียินดี
    กิจกรรมที่ 4    หมึกเครื่องถ่ายเอกสารและเครื่องโรเนียว
  ขั้นเตรียมการ สำรวจหมึกเครื่องถ่ายเอกสารและเครื่องโรเนียว
  ขั้นดำเนินการ สรุปและดำเนินการจัดซื้อ
  ชั้นสรุป รายงานการจัดซื้อ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 900000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายสมชาติ ตรียินดี
    กิจกรรมที่ 5    กระดาษ A4 ขาว กระดาษบรูฟ และกระดาษคำตอบ
  ขั้นเตรียมการ สำรวจจำนวนกระดาษคงเหลือ
  ขั้นดำเนินการ สรุปและดำเนินการจัดซื้อ
  ชั้นสรุป มีกระดาษใช้สำหรับผลิตสื่อให้นักเรียน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 350000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายสมชาติ ตรียินดี

   รวม 5 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 1,417,500.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 1,417,500.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.มีวัสดุอุปกรณ์ และสื่อการสอนเพียงพอกับความจำเป็น
2.นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และมีคุณธรรมจริยธรรมสูงขึ้น

 

 

รหัสโครงการ 1-30-7
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมความรู้ความสามารถและทักษะของนักเรียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูสมชาติ ตรียินดี

1. หลักการและเหตุผล

          

กรณีต้องการย่อหน้าที่ 2

<ปัจจุบันการเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี ได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว และเกี่ยวข้องกับ วิถีชีวิตของ ประชาชนทั่วไปมากยิ่งขึ้น ส่งผลให้การดำเนินชีวิตของทุกๆ คน มีการพัฒนา และปรับตัวให้เหมาะสมกับ สภาวการณ์ที่เปลี่ยนไปอยู่ ตลอดเวลา ดังนั้น การจัดการศึกษา จึงจำเป็นต้องสร้าง เด็กและเยาวชนให้มีความรู้ความ สามารถที่ เปลี่ยนแปลงตามสภาวการณ์ใน ปัจจุบัน การจัดกิจกรรมส่งเสริม สนับสนุนให้นักเรียนในระดับการศึกษาขั้น พื้น ฐาน มีความเป็นเลิศด้าน วิชาการ วิชาชีพ และมี สุนทรียภาพ ด้านดนตรี กีฬา ศิลปะการแสดง รวมถึงการประดิษฐ์ คิดค้น นวัตกรรมใหม่ๆ ในการเตรียมพร้อมให้เด็ก และเยาวชนเป็นกำลัง สำคัญในการขับเคลื่อนประเทศในอนาคต โรงเรียนในฐานะ เป็นหน่วยงานหลักในการจัดการศึกษาให้แก่เด็กและ เยาวชน ให้เป็นผู้ที่มี พร้อมด้วยคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ จึงสร้าง โอกาสให้แก่เด็กและเยาวชนได้แสดงออกซึ่งศักยภาพและ สุนทรียภาพ กิจกรรมสร้างสรรค์ ตลอด จนสนับสนุนส่งเสริมให้ครู และบุคลากรทางการศึกษาได้ใช้ความรู้ ความสามารถ ในการพัฒนาการ เรียนการสอนอย่าง เต็มตาม ความสามารถ โดยส่ง เสริมความรู้ความสามารถและทักษะทางวิชาการ เพื่อนำทักษะต่างๆ ไปใช้ในชีวิต ประจำ วันและเข้าร่วมการแข่งขัน ทักษะ ทางวิชาการ เช่น งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนทั้งในระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับ ภาค และระดับ ประเทศ การจัดนิทรรศการ วิชาการ โดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมา เป็นแนวทาง ในการดำเนิน งาน และให้สอดคล้องกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพียง

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อให้ผู้เรียนได้แสดงความรู้ความสามารถทางทักษะวิชาการ
2. เพื่อให้ผู้เรียนได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันอันจะนำไปสู่การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้
3. เพื่อให้นักเรียนใช้ทักษะการจัดการได้
4. เพื่อให้ครูและนักเรียนนำความรู้และผลงานจากกการเรียนการสอนมาจัดนิทรรศการ
5. เพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถของนักเรียนในดีขึ้น

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1.นักเรียนร้อยละ 80 เห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม
2.นักเรียนร้อยละ 85 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้เกียรติผู้อื่น
3.นักเรียนร้อยละ 85 สามารถสร้างผลงานจากเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี/นาฏศิลป์ กีฬา/นันทนาการ ตามจินตนาการ
4.นักเรียนร้อยละ 85 สามารถเรียนรู้กันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ ระหว่างกัน
5.ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่าย มีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 อยู่ในระดับ ดีเยี่ยม
6.นักเรียนร้อยละ 85 เห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม
  เชิงคุณภาพ
    1.นักเรียนเห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม
2.นักเรียนมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้เกียรติผู้อื่น
3.นักเรียนสามารถสร้างผลงานจากเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี/นาฏศิลป์ กีฬา/นันทนาการ ตามจินตนาการ
4.นักเรียนสามารถเรียนรู้กันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
5.รายงานผลการแข่งขันทักษะทางวิชาการงานศิลปหัตถกรรม ครั้งที่ 66 ระดับเขต ระดับภาค และระดับประเทศ จำนวน 1 เล่ม
6.นักเรียนเห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม
7.จัดนิทรรศการทางวิชาการและแสดงผลงานนักเรียนปีละ 1 ครั้ง

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การแข่งขันทักษะทางวิชาการงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมวางแผนการ
2. แจ้งกิจกรรมและหลักเกณฑ์การประกวดแข่งขัน 3. เสนอแต่งตั้งคณะกรรมการตัดสินกิจกรรมการแข่งขัน
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินการประกวด แข่งขันกิจกรรมต่างๆ ในระดับเขต ระดับภาค ระดับประเทศ
  ชั้นสรุป 1. สรุปผลการแข่งขัน ระดับเขต ระดับภาค ระดับประเทศ
2. สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 400000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
ศูนย์การแข่งขัน โรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ โรงเรียนวิสุทธรังษี โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯ กาญจนบุรี
ระดับภาค/ชาติ จังหวัดสมุทรปราการ
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายสมชาติ ตรียินดี
    กิจกรรมที่ 2    นิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการ
  ขั้นเตรียมการ ประชุม วางแผน ดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ 1. กิจกรรมนิทรรศการวิชาการ
2. ประชาสัมพันธ์การจัดงาน
3. ซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการจัดงาน
4. จัดนิทรรศการ
  ชั้นสรุป 1. สังเกตการร่วมกิจกรรมของทุกหมวดวิชา
2. ประเมินผลการจัดนิทรรศการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 150000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายสมชาติ ตรียินดี
    กิจกรรมที่ 3    กิจกรรมพัฒนาทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศ
  ขั้นเตรียมการ ประชุม วางแผน ดำเนินงาน
แต่งตั้งคณะกรรมการ
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดกิจกรรมตามเป้าหมายที่กำหนด
  ชั้นสรุป รายงานกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 200000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม / ฝ่ายวิชาการ
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายสมชาติ ตรียินดี
    กิจกรรมที่ 4    ส่งเสริมงานวิชาการ
  ขั้นเตรียมการ ประชุม วางแผน ดำเนินงาน
แต่งตั้งคณะกรรมการ
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดกิจกรรมตามเป้าหมายที่กำหนด
  ชั้นสรุป รายงานกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม สถานที่จัดการแข่งขัน หน่วยงานอื่นๆ
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายสมชาติ ตรียินดี

   รวม 4 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 750,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 750,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1. โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม / ฝ่ายวิชาการ
2. ผู้บริหาร คณะครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะทางวิชาการ
2.นักเรียนมีความรู้ความสามารถ เห็นคุณค่าในตนเอง และกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม 3.นักเรียนมีประสบการณ์ในการแข่งขันทักษะในระดับเขต ระดับภาค และระดับประเทศ

 

 

รหัสโครงการ 1-17-6
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชื่อโครงการ โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูสุชาติ จงเจริญไพสิฐ

1. หลักการและเหตุผล

          

นโยบายการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2552 ได้ดำเนินนโยบายด้านคุณภาพการศึกษา ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ครูสามารถจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรได้อย่างมี ประสิทธิภาพและให้ความสำคัญกับพื้นฐานและศักยภาพของผู้เรียน ดังนั้นกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จึงได้จัดโครงการยกระดับผล สัมฤทธิ์ทางการเรียน จากผลการทดสอบระดับชาติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ให้เพิ่มขึ้นร้อยละ ตามนโยบายของหน่วย งานต้นสังกัด และเพิ่มขึ้นให้ได้ร้อยละ 5 เนื่องจากเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อให้ผู้เรียนมีผลการทดสอบระดับชาติเป็นไปตามเกณฑ์
2. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียนให้เพิ่มขึ้น

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ร้อยละ 55 ของผู้เรียนมีผลการทดสอบระดับชาติเป็นไปตามเกณฑ์
  เชิงคุณภาพ
    1. ผู้เรียนมีผลการทดสอบระดับชาติเป็นไปตามเกณฑ์

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมสอนเสริมเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
  ขั้นเตรียมการ ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน
  ขั้นดำเนินการ 1. จัดกิจกรรมสอนเสริมเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
2. จัดกิจกรรมจัดทำข้อสอบพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาภาษาไทย
  ชั้นสรุป สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 13000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายสุชาติ จงเจริญไพสิฐ และคณะ

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 13,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 13,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผู้เรียนมีผลการทดสอบระดับชาติเป็นไปตามเกณฑ์
2. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางภาษาไทยเพิ่มขึ้น

 

 

รหัสโครงการ 1-17-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชื่อโครงการ พัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 2. การเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ทั่วถึงครอบคลุมผู้เรียนให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพและมีคุณภาพ
ประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อที่ 1. พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
ข้อที่ 4. ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 3. กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
นโยบายโรงเรียน ข้อที่ 2. ส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการและการเรียนรู้ภาษาที่สอง โดยเน้นการจัดการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
ข้อที่ 6. มุ่งเน้นการร่วมคิดร่วมทำ ร่วมรับผิดชอบ ระหว่างบุคลากรของโรงเรียน ชุมชนและผู้เกี่ยวข้องในการใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างคุ้มค่าเพื่อพัฒนาโรงเรียน สร้างศรัทธาต่อชุมชน ร่วมมือจัดกิจกรรมของชุมชนที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและร่วมอนุรักษ์ฯ
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูสุชาติ จงเจริญไพสิฐ

1. หลักการและเหตุผล

          

นโยบายการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2552 ได้ดำเนินนโยบายด้านคุณภาพการศึกษา ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับการ ศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ครูสามารถจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรได้อย่างมี ประสิทธิภาพและให้ความ สำคัญกับพื้นฐานและศักยภาพของผู้เรียน และเพื่อเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มตาม ศักยภาพ และเป็นไปตามวิสัย ทัศน์แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่สิบเอ็ด พ.ศ.2555-2559 ที่กำหนดว่า “คนไทย ได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่าง มีคุณภาพ เป็นคนดี มีความสุข มีภูมิคุ้มกันรู้เท่าทันในเวทีโลก ดังนั้นทางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จึงได้ จัดทำโครงการพัฒนา คุณภาพการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน ซึ่งมีกิจกรรมค่ายสร้างสรรค์พัฒนาคุณภาพเด็กไทย เตรียมความพร้อมสู่ ประชาคมอาเซียน และ นิทรรศการอาเซียน เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันรู้เท่าทันบนเวทีโลก

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วัฒนธรรมต่างชาติ
2. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดภาคภูมิใจในภาษาไทยที่เป็นเอกลักษณ์ของชาติ

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ผู้เรียนร้อยละ 70 ที่ยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่าง
  เชิงคุณภาพ
    1. ผู้เรียนยอมรับความคิดและวัฒนาธรรมที่แตกต่างมากขึ้น

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมเรียนรู้ภาษาอาเซียน
  ขั้นเตรียมการ ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดกิจกรรมเรียนรู้ภาษาอาเซียน
  ชั้นสรุป สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 3000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายสุชาติ จงเจริญไพสิฐ และคณะ

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 3,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 3,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วัฒนธรรมต่างชาติ 2. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดภาคภูมิใจในภาษาไทยที่เป็นเอกลักษณ์ของชาติ

 

 

รหัสโครงการ 1-30-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ชื่อโครงการ ค่ายพัฒนาทักษะทางภาษาไทย
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 1. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข้อที่ 2. การเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ทั่วถึงครอบคลุมผู้เรียนให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพและมีคุณภาพ
ประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อที่ 1. พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
ข้อที่ 4. ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 1.1. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
ข้อที่ 1.2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
นโยบายโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ รักประชาธิปไตย ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม ศึกษาต่อ มีงานทำ มีความภูมิใจในสถาบันดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ข้อที่ 2. ส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการและการเรียนรู้ภาษาที่สอง โดยเน้นการจัดการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูสุชาติ จงเจริญไพสิฐ

1. หลักการและเหตุผล

          

นโยบายการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2552 ได้ดำเนินนโยบายด้านคุณภาพการศึกษา ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับการ ศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ครูสามารถจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ให้ความ สำคัญกับพื้นฐานและศักยภาพของผู้เรียน และเพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ ทาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย จึงได้ส่งเสริมให้ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรม เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการเรียนรู้อย่างหลากหลายเต็มศักยภาพ ทั้งการอ่าน การฟัง การพูด การดู การเขียน คิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ รวมทั้งส่งเสริมให้เข้าร่วมประกวดแข่งขันทักษะต่างๆ ของ กลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาไทย มีจิตสำนึกรักความเป็นไทยและเห็นความสำคัญของภาษาไทย

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะกระบวนการเรียนรู้ภาษาไทย
2. เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการอ่าน การฟัง การดู การพูด การเขียน คิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ
3. เพื่อให้ผู้เรียนมีจิตสำนึกรักความเป็นไทยและเห็นความสำคัญของภาษาไทย

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ผู้เรียนร้อยละ 70 มีการพัฒนาทักษะกระบวนการเรียนรู้ภาษาไทย
2. ผู้เรียนร้อยละ 70 มีจิตสำนึกรักความเป็นไทยและเห็นความสำคัญของภาษาไทย
  เชิงคุณภาพ
    1. ผู้เรียนมีการพัฒนาทักษะกระบวนการเรียนรู้อย่างหลากหลายเต็มศักยภาพ ทั้งการอ่าน การฟัง การพูด การดู การเขียน คิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ มีจิตสำนึกรักความเป็นไทยและเห็นความสำคัญของภาษาไทย

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมค่ายพัฒนาทักษะทางภาษาไทย
  ขั้นเตรียมการ ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดกิจกรรมค่ายพัฒนาทักษะทางภาษาไทย
  ชั้นสรุป สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 23000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/10/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายสุชาติ จงเจริญไพสิฐ และคณะ

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 23,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 23,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผู้เรียนพัฒนาทักษะกระบวนการเรียนรู้ภาษาไทย
2. ผู้เรียนมีทักษะในการอ่าน การฟัง การดู การพูด การเขียน คิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ
3. ผู้เรียนมีจิตสำนึกรักความเป็นไทยและเห็นความสำคัญของภาษาไทย

 

 

รหัสโครงการ 1-17-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชื่อโครงการ พัฒนาผู้เรียนคิดเป็นทำเป็น
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 1. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข้อที่ 2. การเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ทั่วถึงครอบคลุมผู้เรียนให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพและมีคุณภาพ
ประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อที่ 1. พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
ข้อที่ 4. ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 1.1. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
ข้อที่ 1.2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
ข้อที่ 3. กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
นโยบายโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ รักประชาธิปไตย ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม ศึกษาต่อ มีงานทำ มีความภูมิใจในสถาบันดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูสุชาติ จงเจริญไพสิฐ

1. หลักการและเหตุผล

          

นโยบายการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2552 ได้ดำเนินนโยบายด้านคุณภาพการศึกษา ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ครูสามารถจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรได้อย่างมี ประสิทธิภาพและให้ความสำคัญกับพื้นฐานและศักยภาพของผู้เรียน และเพื่อเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มตาม ศักยภาพ ทางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จึงได้ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เข้าร่วมการประกวดแข่งขันทักษะต่างๆ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาทักษะวิชาการของกลุ่มสาระภาษาไทย
2. เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน
3. เพื่อให้ผู้เรียนมีจิตสำนึกรักความเป็นไทยและเห็นความสำคัญของภาษาไทย

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ผู้เรียนร้อยละ 80 เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาทักษะวิชาการของกลุ่มสาระภาษาไทย
2. ผู้เรียนร้อยละ 80 สามารถเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
  เชิงคุณภาพ
    1. ผู้เรียน มีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้และสื่อต่างๆ รอบตัว
2. สามารถเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมฝึกซ้อมและแข่งขันทักษะทางภาษาไทย
  ขั้นเตรียมการ ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน
  ขั้นดำเนินการ กิจกรรมฝึกซ้อมและแข่งขันทักษะทางภาษาไทย
  ชั้นสรุป สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 6000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายสุชาติ จงเจริญไพสิฐ และคณะ
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมพัฒนานักเรียนให้อ่านคล่องเขียนคล่อง
  ขั้นเตรียมการ ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน
  ขั้นดำเนินการ กิจกรรมพัฒนานักเรียนให้อ่านออกเขียนได้
  ชั้นสรุป สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 3000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายสุชาติ จงเจริญไพสิฐ และคณะ
    กิจกรรมที่ 3    กิจกรรมวันสำคัญของภาษาไทย (วันสุนทรภู่ วันภาษาไทยแห่งชาติ)
  ขั้นเตรียมการ ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน
  ขั้นดำเนินการ จัดกิจกรรมวันสำคัญของภาษาไทย (วันสุนทรภู่ วันภาษาไทยแห่งชาติ)
  ชั้นสรุป สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 15000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายสุชาติ จงเจริญไพสิฐ และคณะ
    กิจกรรมที่ 4    กิจกรรมวรรณคดีสัญจร
  ขั้นเตรียมการ ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน
  ขั้นดำเนินการ กิจกรรมวรรณคดีสัญจร
  ชั้นสรุป สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 68000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายสุชาติ จงเจริญไพสิฐ และคณะ

   รวม 4 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 92,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 92,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้เรียนมีทักษะวิชาการของกลุ่มสาระภาษาไทยดีขึ้น
2.ผู้เรียนมีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียนภาษาไทย
3.ผู้เรียนมีจิตสำนึกรักความเป็นไทยและเห็นความสำคัญของภาษาไทย

 

 

รหัสโครงการ 1-17-6
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 3. การพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อที่ 2. ผลิต พัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 3. กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
นโยบายโรงเรียน ข้อที่ 4. เชิดชูความดีของนักเรียน ครู ชุมชนที่ดีต่อโรงเรียน พัฒนาบุคลากรให้มีประสิทธิผลและบังเกิดประสิทธิภาพ
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูสุชาติ จงเจริญไพสิฐ

1. หลักการและเหตุผล

          

นโยบายการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2552 ได้ดำเนินนโยบายด้านคุณภาพการศึกษา ให้ผู้เรียนทุกคนพัฒนาการ จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ครูสามารถจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพและ ให้ความสำคัญกับพื้นฐาน และศักยภาพของผู้เรียน ดังนั้นกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จึงได้จัดโครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้ เรียนเป็นสำคัญ โดย การสนับสนุนให้ครูเข้ารับการประชุม อบรม สัมมนา จากหน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานอื่นๆ เพื่อนำความรู้มาใช้ ในการจัดการเรียน การสอนให้เกิดประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อพัฒนาครูกลุ่มสาระฯภาษาไทย ให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยร้อยละ 87 มีการอบรม ประชุม สัมมนา ศึกษา วิจัย และพัฒนาการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ.
  เชิงคุณภาพ
    1. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลอยู่ในระดับดีเยี่ยม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมพัฒนาครูกลุ่มสาระฯภาษาไทย ให้เป็นครูมืออาชีพ
  ขั้นเตรียมการ ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาครูกลุ่มสาระฯภาษาไทย ให้เป็นครูมืออาชีพ
  ชั้นสรุป สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 5000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายสุชาติ จงเจริญไพสิฐ และคณะ

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 5,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 5,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยได้รับการพัฒนาจากการอบรม ประชุม สัมมนา ศึกษา วิจัย และพัฒนาการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

 

 

รหัสโครงการ 1-17-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชื่อโครงการ คลินิกหมอภาษา
ลักษณะโครงการ โครงการใหม่
กลยุทธ์
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูดุจดาว นุชนุ่ม

1. หลักการและเหตุผล

           ปัญหาต่าง ๆเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทยในชีวิตประจำวันของนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม พบว่ายังมีปัญหาในหลาย ๆทักษะ เช่นการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน โดยเฉพาะด้านการพูดและการอ่านที่พบว่ามีปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างมากมายจากการสื่อสารใน โลกที่เป็นสากล คนรุ่นใหม่พูดภาษาไทยน้อยลง พูดภาษาไทยไม่ชัด พูดผิดเพี้ยนไปไม่เหมือนเดิม มีการเลียนเสียงภาษาต่างประเทศ ทำให้เสียงวรรณยุกต์เลื่อนขึ้นไป การใช้คำทับศัพท์โดยไม่จำเป็น ใช้สำนวนภาษาต่างประเทศหรือใช้ภาษาไทยแต่ไม่ใช่สำเนียงไทย ซึ่งจะพบได้จากการรับสารจากสื่อต่าง ๆ นับว่าเป็นปัญหาที่น่าเป็นห่วงต่อความเป็นเอกลักษณ์และความยั่งยืนของภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยจึงจัดให้มีกิจกรรมนี้ขึ้นเพื่อสร้างนักเรียนให้เป็นผู้นำในด้านการการแก้ไขปัญหาภาษาไทยให้ถูกต้อง และเป็นผู้พิทักษ์ปกป้องภาษาไทย

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนในโรงเรียนใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง ชัดเจน งดงาม 2. เพื่อเสริมสร้างความตระหนักให้โรงเรียนและชุมชน เห็นความสำคัญของการแก้ปัญหา และพัฒนาทักษะการใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง 3. เพื่อสร้างนักเรียนให้เป็นผู้นำในการแก้ไขปัญหาการใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง 4. เพื่อสร้างเครือข่ายแนวร่วมในการอนุรักษ์และเชิดชูคุณค่าของภาษาไทยในโรงเรียนเพี้ยนพินอนุสรณ์ 5. เพื่อยกย่องและให้กำลังใจนักเรียนที่ใช้ภาษาไทยได้ถูกต้องและเป็นแบบอย่างได้ ข้อความ....

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    นักเรียนที่มีปัญหาเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทย ร้อยละ ๘๐ ได้รับการแก้ไขให้ใช้ภาษาไทยได้ถูกต้องชัดเจน
  เชิงคุณภาพ
    นักเรียนสามารถพูดและอ่านภาษาไทยได้ถูกต้องชัดเจน มีความรู้และทักษะที่จำเป็นต่อหลักสูตรอยู่ในระดับดี

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 11/9/2562          ถึงวันที่ : 10/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    คลินิกหมอภาษา
  ขั้นเตรียมการ 1. เสนอโครงการเพื่ออนุมัติ 2. ประชุมครูในกลุ่มสาระฯ หรือผู้รับผิดชอบเพื่อร่วมกันวางแผนการดำเนินงาน และสำรวจนักเรียนที่มีปัญหาการพูดและการอ่าน
  ขั้นดำเนินการ 1. รับสมัครนักเรียนเพื่อเป็น “หมอภาษา” โดยสร้างความตระหนักและความสำคัญของการใช้ภาษาไทยในปัจจุบัน ฝึกการพูดและการอ่านให้ถูกต้อง 2. สร้างสื่อ เอกสาร หรือนำสื่อมาใช้ในการดำเนินงาน 3. เปิดบริการร้านหมอภาษา บำบัดรักษาและแก้ปัญหาผู้ที่ออกเสียง ภาษาไทยไม่ถูกต้อง 4. สรุปประเมินผลการดำเนินงานทุกขั้นตอน 5. ประเมินความพึงพอใจของนักเรียน ครู ผู้บริหาร
  ชั้นสรุป รายงานผลการดำเนินงาน “หมอภาษา” ของนักเรียนที่เป็นหมอภาษา
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 5000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 11/9/2562     ถึงวันที่ 11/10/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางดุจดาว นุชนุ่ม

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 5,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 5,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย งานการเงิน และพัสดุ
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนสามารถพูดและอ่านภาษาไทยได้ถูกต้องชัดเจน 2. นักเรียนเห็นคุณค่าและอุทิศตนช่วยเหลือผู้อื่นให้สามารถพูดและอ่านภาษาไทยได้ถูกต้อง 3. นักเรียนสามารถเป็นผู้นำในการดำเนินงานเพื่อให้เกิดการรณรงค์แก้ปัญหาการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้อง 4. นักเรียนสามารถใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

 

รหัสโครงการ 1-17-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชื่อโครงการ พรรณไม้ในวรรณคดีไทย
ลักษณะโครงการ โครงการใหม่
กลยุทธ์
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูดุจดาว นุชนุ่ม

1. หลักการและเหตุผล

           พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๕ (ฉบับที่๒)มาตรา 24 ระบุว่า การจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความ สนใจและความถนัดของผู้เรียนกลุ่มสาระฯภาษาไทยพบว่าการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง โดยจัดการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริง จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถ จัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอำนวยความสะดวก เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และมีความรอบรู้ รวมทั้งจัดการเรียนรู้ให้ เกิดขึ้นได้ในทุกสถานการณ์ โดยเฉพาะในการศึกษาวรรณคดีต่างๆ ได้กล่าวถึงพรรณไม้นานาชนิด เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้จากการ ศึกษาตามสภาพจริง จึงจัดให้มีกิจกรรมตามรอยพรรณไม้ในวรรณคดีไทย

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ คณะครู นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน ใช้สวนพฤกษาพรรณวรรณคดีไทยเป็นแหล่งเรียนรู้ 2. เพื่อเสริมสร้างความตระหนักให้สังคมไทยเห็นความสำคัญของการอนุรักษ์และรักษาทรัพยากรต้นไม้เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีงาม 3. ครูและนักเรียนเป็นผู้นำในการใช้ภาษาไทยในการสื่อสาร เพื่อความสุนทรียภาพทางภาษา จากแหล่งเรียนรู้ตามสภาพจริง

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    นักเรียนชั้นม. 1-6
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนชั้นม.1-6 มีความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อให้เกิดสุนทรียภาพ ได้อย่างงดงาม รู้จักรักหวงแหนสิ่งแวดล้อม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 12/9/2562          ถึงวันที่ : 11/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    โครงการพรรณไม้ในวรรณคดีไทย
  ขั้นเตรียมการ 1. จัดทำโครงการเพื่อขอนุมัติ 2. ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง
  ขั้นดำเนินการ 1. จัดซื้อต้นไม้ในวรรณคดีไทย และอุปกรณ์ตกแต่งสวนและสถานที่ 2. จัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
  ชั้นสรุป รายยงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 40000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 12/9/2562     ถึงวันที่ 12/10/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางดุจดาว นุชนุ่ม

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 40,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 40,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
งานอาคารสถานที่ งานการเงิน และงานพัสดุ
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมมีแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียนเพิ่มขึ้น คณะครู นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน ใช้สวนพฤกษาพรรณวรรณคดีไทยเป็นแหล่งเรียนรู้ สามารถบูรณาการได้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และโครงการสวนพฤกษศาสตร์ของโรงเรียน

 

 

รหัสโครงการ 1-09-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานห้องสมุด
ชื่อโครงการ ส่งเสริมผู้เรียนให้มีความใฝ่รู้และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 2. การเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ทั่วถึงครอบคลุมผู้เรียนให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพและมีคุณภาพ
ประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อที่ 4. ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 1.2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
นโยบายโรงเรียน ข้อที่ 2. ส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการและการเรียนรู้ภาษาที่สอง โดยเน้นการจัดการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูพลิมา อุตตโรพร

1. หลักการและเหตุผล

          

ห้องสมุดโรงเรียน เป็นแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนที่มีความสำคัญยิ่งต่อการ จัดการเรียนรู้ ของครูผู้สอนและการเรียนรู้ในกลุ่ม สาระการเรียนรู้ต่างๆของนักเรียน เพราะเป็นแหล่งการเรียนรู้ที่อำนวยความสะดวก จัดกิจกรรมที่ กระตุ้นให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ ศึกษา ค้นคว้า แสวงหาคำตอบ และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองได้ ซึ่งสอดคล้องกับหลักสูตรแกน กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่เน้นให้ส่งเสริมการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ทั้งใน และนอกสถานศึกษาเพื่อการพัฒนาไปสู่ ความเป็นสากลและมุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียน เรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตและใช้เวลา อย่างสร้างสรรค์ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ ได้ทุกเวลา แสวงหาคำตอบและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองเช่น การทำงาน โครงงาน รายงาน ชิ้นงาน การปฏิบัติจริง โดยสถาน ศึกษาควรมีการพัฒนา ปรับปรุงห้องสมุดให้สะดวกต่อการใช้ เช่น การพัฒนาห้องสมุด จัด บรรยากาศให้น่าสนใจ ปรับปรุงกิจกรรม ส่งเสริมการอ่าน ดังนั้น งานห้องสมุดจึงได้ดำเนินการจัดโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นการพัฒนา ปรับปรุงแหล่งการเรียนรู้ภายในโรงเรียนที่เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนใน ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้อย่างเหมาะสมและมี ประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อให้ครู บุคลากรและนักเรียนมีแหล่งการเรียนรู้เพื่อศึกษาค้นคว้าหาความรู้
2. เพื่อจัดประสบการณ์การใช้ห้องสมุด กระตุ้นความสนใจให้นักเรียนมีนิสัยรักการอ่าน

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    ครู บุคลากร และนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม เข้าร่วมกิจกรรมและใช้บริการห้องสมุดร้อยละ 80
  เชิงคุณภาพ
    1. ครู บุคลากรและนักเรียนมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมและเข้าใช้บริการห้องสมุด ในระดับดีขึ้นไป
2. นักเรียนมีนิสัยรักการอ่าน

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    ส่งเสริมการอ่าน
  ขั้นเตรียมการ 1.สำรวจรายการวัสดุ อุปกรณืที่จำเป็นต้องใช้
2.เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
  ขั้นดำเนินการ 1.ดำเนินการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ หนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ ที่ต้องใช้ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
2.จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ดังนี้
2.1 กิจกรรมแนะนำหนังสือใหม่
2.2 กิจกรรมความรู้วันสำคัญต่าง ๆ
2.3 กิจกรรมตอบปัญหาเกมเศรษฐีประจำเดือน
2.4 กิจกรรมคิดจากข่าว
3.ประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
  ชั้นสรุป สรุปรายงานผลการดำเนินงานให้ฝ่ายบริหารทราบ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวพลิมา อุตตโรพร
    กิจกรรมที่ 2    บันทึกรักการอ่าน
  ขั้นเตรียมการ สำรวจจำนวนนักเรียน จัดทำสมุดบันทึกรักการอ่าน
  ขั้นดำเนินการ 1.แจกสมุดบันทึกรักการอ่านให้นักเรียนคนละ 1 เล่ม
2.กำหนดวันให้นักเรียนส่งบันทึกรักการอ่าน
3.ตรวจบันทึกรักการอ่านของนักเรียน
4.สรุปผลการปฏิบัติของนักเรียน
  ชั้นสรุป สรุปรายงานผลการจัดกิจกรรมให้ฝ่ายบริหารทราบ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายสุชาติ จงเจริญไพสิฐ
    กิจกรรมที่ 3    ปรับปรุงห้องสมุด
  ขั้นเตรียมการ สำรวจสิ่งที่ต้องการปรับปรุง เสนอขออนุมัติ
  ขั้นดำเนินการ 1.ดำเนินการจ้างปรับปรุงย้ายที่กั้นห้องกระจกเดิม และกั้นกระจกบริเวณเคาน์เตอร์บริการห้องสมุด
2.เปลี่ยนพรมปูพื้นหน้ามุมเฉลิมพระเกียรติ 2 แห่ง
3.จัดซื้อพุ่มดอกไม้ประดิษฐ์ ตกแต่งมุมต่าง
  ชั้นสรุป รายการผลการดำเนินการให้ฝ่ายบริหารทราบ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ห้องสมุดโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวพลิมา อุตตโรพร
    กิจกรรมที่ 4    ส่งนักเรียนแข่งขันตอบปัญหารายการต่าง ๆ
  ขั้นเตรียมการ - ประชุมคณะทำงาน
- จัดทำแผนปฏิบัติงาน
  ขั้นดำเนินการ 1.คัดเลือกนักเรียนตัวแทนเข้าร่วมแข่งขันรายการต่าง ๆ เช่น ตอบปัญหาสารานุกรมไทย การแข่งขันตอบปัญหาที่หน่วยงานอื่น ๆจัด
2.ดำเนินการฝึกซ้อมนักเรียน
3.ส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน
  ชั้นสรุป สรุปรายงานผลการแข่งขันให้ฝ่ายบริหารทราบ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ห้องสมุดโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวพลิมา อุตตโรพร และคณะ
    กิจกรรมที่ 5    สัปดาห์ห้องสมุด
  ขั้นเตรียมการ -ประชุมวางแผนการจัดกิจกรรม
-จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ -จัดกิจกรรมสัปดาห์ห้องสมุด ระหว่างวันที่ 9-11 สิงหาคม 2562
-ประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  ชั้นสรุป สรุปผลการดำเนินงานการจัดกิจกรรมให้ฝ่ายบริหารทราบ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ห้องสมุดโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวพลิมา อุตตโรพรและคณะ

   รวม 5 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
งานพัสดุ และงานการเงินโรงเรียน
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ครู บุคลากรและนักเรียนมีแหล่งการเรียนรู้เพื่อศึกษาค้นคว้าหาความรู้
2. นักเรียนมีนิสัยรักการอ่านจากประสบการณ์การเข้าร่วมกิจกรรม และการใช้ห้องสมุด

 

 

รหัสโครงการ 1-15-7
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชื่อโครงการ กิจกรรมการพัฒนาสื่อและแหล่งเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 1. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อที่ 4. ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 3. กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
นโยบายโรงเรียน
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูดารารัตน์ ศรีธงไชยะ

1. หลักการและเหตุผล

           การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมุ่งพัฒนาทักษะความสามารถพิเศษของผู้เรียนทางด้านคณิตศาสตร์ และเตรียม ความพร้อมในการ เข้าแข่งขันในกิจกรรมต่างๆทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ทั้งสื่อการสอนและแหล่งเรียนรู้ได้แก่ ห้องปฏิบัติการคณิตศาสตร์และคลินิก คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ควรมีความพร้อมในการใช้งานอยู่เสมอเพื่อให้ นักเรียนแสดงความสามารถพิเศษของผู้เรียนทางด้าน คณิตศาสตร์ได้อย่างเต็มที่ ประกอบด้วยกิจกรรม 1 กิจกรรม คือ 1. กิจกรรมการพัฒนาสื่อและแหล่งเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ (ห้องปฏิบัติ การคณิตศาสตร์และคลินิกคณิตศาสตร์)

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อให้นักเรียนมีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้และสื่อต่างๆ รอบ

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ผู้เรียนอย่างน้อยร้อยละ 95 มีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง จากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้และสื่อต่าง ๆ รอบตัว 2. มีครูและนักเรียนใช้บริการห้องปฏิบัติการคณิตศาสตร์และคลินิกคณิตศาสตร์ ไม่ต่ำกว่า 500 คนต่อปีการศึกษ.
  เชิงคุณภาพ
    1. ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความพึงพอใจต่อ ใช้บริการห้องปฏิบัติการคณิตศาสตร์และคลินิกคณิตศาสตร์ อยู่ในระดับดีเยี่ยม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 9/9/2562          ถึงวันที่ : 8/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    พัฒนาสื่อและแหล่งเรียนรู้
  ขั้นเตรียมการ จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ - ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
  ขั้นดำเนินการ จัดเตรียมหาสื่อและแหล่งเรียนรู้ต่างๆ - ให้บริการห้องปฏิบัติการคณิตศาสตร์ - จัดทำเอกสาร รายงานผลการใช้บริการห้องปฏิบัติการคณิตศาสตร์ -จัดซื้อ ซ่อมบำรุง ดูแลสื่อและอุปกรณ์การเรียน -จัดซื้อ ซ่อมบำรุง ดูแลอุปกรณ์ไฟฟ้าและอุปกรณ์ไอที -จัด ปรับปรุง ดูแลป้ายนิเทศประชาสัมพันธ์ และแหล่งเรียนรู้ของกลุ่มสาระฯ -จัดทำสื่อนำเสนอต่างๆของกลุ่มสาระฯ
  ชั้นสรุป ประเมินผลและรายงานผลการปฏิบัติงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 20000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 9/9/2562     ถึงวันที่ 9/10/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางดารารัตน์ ศรีธงไชยะ และ นายนรุตม์ รัชชประภาพรกุล

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 20,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 20,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนมีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้และสื่อต่างๆ รอบตัว 2. นักเรียนจัดนิทรรศการวันวิทยาศาสตร์และวันวิชาการและเข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันคิดเลขเร็วและเกมทางคณิตศาสตร์

 

 

รหัสโครงการ 1-15-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชื่อโครงการ ส่งเสริมทักษะการคิดคำนวณด้วยเทคนิคการคิดเลขเร็วแบบอินเดีย(เวทคณิต)
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 1. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อที่ 1. พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 1.1. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
นโยบายโรงเรียน
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูดารารัตน์ ศรีธงไชยะ

1. หลักการและเหตุผล

          

กรณีต้องการย่อหน้าที่ 2

การดำเนินชีวิตของมนุษย์ ตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา มนุษย์ต้อง รู้จักเอาตัวรอด อาศัยการคิด การ ค้นพบ การประดิษฐ์สิ่งแปลกใหม่ด้วยความรู้ในศาสตร์ต่างๆเพื่ออำนวยความสะดวกและ ดำรงชีวิตอยู่ใน สังคมได้อย่างมีความสุข วิชา คณิตศาสตร์เป็นพื้นฐานสำคัญของศาสตร์ต่างๆ แต่ปัจจุบันคนส่วนใหญ่มักจะมองไม่เห็นถึงความสำคัญของ วิชานี้เพราะเป็นวิชา ที่เป็น นามธรรม เข้าใจได้ยากจนทำให้มีเจตคติที่ไม่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์และทำให้ขาดทักษะทาง คณิตศาสตร์ที่ จำเป็นในการพัฒนาศาสตร์ ต่างๆไปด้วย อีกทั้งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติปี 2542 ยังมุ่งหวังให้ผู้เรียนมีความคิดสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ และเรียนรู้ด้วยตนเอง จึงได้จัดกิจกรรม ค่ายเวทคณิตขึ้น เพื่อเป็นการพัฒนาทักษะการคิดคำนวณด้วยเทคนิคการคิดเลขเร็วแบบอินเดีย(เวทคณิต) พัฒนาศักยภาพ เสริมสร้าง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และสร้างเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ ซึ่งในปัจจุบันทางการศึกษาได้เล็งเห็นความสำคัญของการคิดคำนวณด้วยเทคนิคการคิดเลขเร็วแบบอินเดีย(เวทคณิต) ในปีการศึกษานี้ ทางกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์จึงได้วางแผนในจัดกิจกรรม ค่ายเวทคณิตขึ้นเพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน โดยน้อมนำหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ พลอดุลยเดชมาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1.เพื่อเป็นการพัฒนาทักษะการคิดคำนวณด้วยเทคนิคการคิดเลขเร็วแบบอินเดีย(เวทคณิต)
2.เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนมีทักษะกระบวนการทางด้านคณิตศาสตร์เพิ่มเติมจากในบทเรียน
3.เพื่อให้นักเรียนสามารถจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ 4.เพื่อสร้างเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนร้อยละ 60 มีทักษะการคิดคำนวณ
2. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ เป็นนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (1 ระดับชั้น) จำนวน 350 คน
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนมีทักษะการคิดคำนวณอยู่ในระดับดีเลิศ
2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 อยู่ในระดับดีเยี่ยม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 9/9/2562          ถึงวันที่ : 8/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    ค่ายเวทคณิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
  ขั้นเตรียมการ 1.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ 2. ขออนุมัติโครงการ 3. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 4. ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
  ขั้นดำเนินการ 1. เสนอโครงการขออนุมัติต่อทางโรงเรียนและออกคำสั่งแต่งตั้ง 2. ประชุมครูในกลุ่มสาระฯ เพื่อวางแผนงาน 3. ติดต่อสำรวจสถานที่ตามความเหมาะสม 4. ประชาสัมพันธ์นักเรียนที่สนใจ 5. จัดเตรียมเอกสาร วัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมค่ายเวทคณิต ุ6. ดำเนินการจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์
  ชั้นสรุป 1. ตรวจสอบรายงานกิจกรรมค่ายเวทคณิต 2. ประเมินผลและรายงานผลโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 50000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 9/9/2562     ถึงวันที่ 9/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นางดารารัตน์ ศรีธงไชยะ และนางสาวศิริพร วัชรโสภณสิริ

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 50,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 50,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนมีทักษะการคิดคำนวณด้วยเทคนิคการคิดเลขเร็วแบบอินเดีย(เวทคณิต)และ ความสามารถพิเศษทางคณิตศาสตร์เพิ่มมากขึ้น 2. นักเรียนมีเจตคติที่ดีในวิชาคณิตศาสตร์

 

 

รหัสโครงการ 1-15-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชื่อโครงการ พัฒนาและส่งเสริมศักยภาพนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
ลักษณะโครงการ โครงการใหม่
กลยุทธ์
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูดารารัตน์ ศรีธงไชยะ

1. หลักการและเหตุผล

           การดำเนินชีวิตของมนุษย์ ตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา มนุษย์ต้อง รู้จักเอาตัวรอด อาศัยการคิด การค้นพบ การประดิษฐ์สิ่งแปลกใหม่ด้วยความรู้ในศาสตร์ต่างๆเพื่ออำนวยความสะดวกและ ดำรงชีวิตอยู่ใน สังคมได้อย่างมีความสุข วิชา คณิตศาสตร์เป็นพื้นฐานสำคัญของศาสตร์ต่างๆ แต่ปัจจุบันคนส่วนใหญ่มักจะมองไม่เห็นถึงความสำคัญของ วิชานี้เพราะเป็นวิชา ที่เป็น นามธรรม เข้าใจได้ยากจนทำให้มีเจตคติที่ไม่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์และทำให้ขาดทักษะทาง คณิตศาสตร์ที่ จำเป็นในการพัฒนาศาสตร์ ต่างๆไปด้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จึงได้เล็งเห็นความสำคัญในการพัฒนา และส่งเสริมศักยภาพทางด้าน คณิตศาสตร์โดยเฉพาะนักรียนที่เป็นตัวแทนแข่งขัน เพราะนักเรียนกลุ่มนี้เป็นผู้มีความสามารถทางด้าน คณิตศาสตร์ที่โดดเด่นและมีจิต สาธารณะในการฝึกซ้อมการแข่งขันในรายการต่างๆ ในปีการศึกษานี้ทางกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จึงได้วางแผนในจัดกิจกรรม ค่าย พัฒนาและส่งเสริมศักยภาพทางคณิตศาสตร์ขึ้นเพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน โดยน้อมนำหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ พลอดุลยเดชมาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน

กรณีต้องการ ย่อหน้าที่ 2

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพทางคณิตศาสตร์ให้กับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
2. เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนมีทักษะกระบวนการทางด้านคณิตศาสตร์เพิ่มเติมจากในบทเรียน
3. เพื่อให้นักเรียนสามารถนำความรู้ในวิชาคณิตศาสตร์ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน 4. เพื่อสร้างเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. มีการจัดกิจกรรมค่ายพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ทางคณิตศาสตร์อย่างน้อย 1 ครั้ง 2. นักเรียนร้อยละ 50 มีความสามารถในการคิดคำนวณ
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนมีความสามารถในการคิดคำนวณอยู่ในระดับดีเลิศ 2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 อยู่ในระดับดีเยี่ยม 4. ระยะเวลาดำเนินการ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 9/9/2562          ถึงวันที่ : 8/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    ค่ายพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ทางคณิตศาสตร์
  ขั้นเตรียมการ 1. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ 2. ขออนุมัติโครงการ 3. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 4. ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
  ขั้นดำเนินการ 1. เสนอโครงการขออนุมัติต่อทางโรงเรียนและออกคำสั่งแต่งตั้ง 2. ประชุมครูในกลุ่มสาระฯ เพื่อวางแผนงาน 3. ติดต่อสำรวจสถานที่ตามความเหมาะสม 4. จัดเตรียมเอกสาร วัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ 5. ดำเนินการจัดกิจกรรมค่ายพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพทางคณิตศาสตร์
  ชั้นสรุป ตรวจสอบรายงานกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ 2. ประเมินผลและรายงานผลโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 50000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม และแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 9/9/2562     ถึงวันที่ 9/10/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางดารารัตน์ ศรีธงไชยะ และ นายจิรภัทร์ เหลืองวัฒนวิไล

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 50,000.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 50,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนมีทักษะ ความสามารถพิเศษทางคณิตศาสตร์เพิ่มมากขึ้น

 

 

รหัสโครงการ 1-07-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
ชื่อโครงการ ส่งเสริมการจัดทำงานวิจัยในชั้นเรียนเเละวิจัยระดับโรงเรียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 3. การพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ประเด็นยุทธศาสตร์
มาตรฐานการศึกษา
นโยบายโรงเรียน
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูดิฐารัตน์ ลีวรางกุล

1. หลักการและเหตุผล

           การวิจัยในชั้นเรียนซึ่งทำโดยครูผู้สอน ถือว่าเป็นงานวิจัยที่เอื้อประโยชน์โดยตรงต่อการช่วยเหลือผู้ เรียน รวมทั้งมีประโยชน์ทางอ้อมใน การใช้เพิ่มวิทยฐานะหรือประกอบการพิจารณาความดีความชอบต่างๆ แต่ทั้งนี้ปัญหาที่สำคัญที่สุดคือ ครูยังขาดความรู้ความเข้าใจใน เรื่องระเบียบวิธีวิจัย โดยจากสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นในการสอนและการทำวิจัยของครูส่วนใหญ่ไม่มีความรู้ ความเข้าใจในการทำวิจัยและ คิดว่าการทำวิจัยเป็นเรื่องยาก โดยมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและการทำวิจัยแบบแยกส่วน มีการทำ กิจกรรมการเก็บข้อมูลการ วิจัยเป็นโครงการเฉพาะกิจทำให้เสียเวลาไปกับการทำวิจัย เวลาที่อุทิศให้การสอนลดน้อยลง ทำให้การเรียน การสอนในชีวิตประจำวัน ได้รับผลกระทบครูทำการสอนไม่ได้เต็มที่จนเป็นเรื่องปกติที่กล่าวว่าครูทำการวิจัยงานสอนจะหย่อนลง จาก ปัญหาที่กล่าวมานี้ทำให้การ วิจัยของครูไม่พัฒนาเท่าที่ควร ดังนั้นเพื่อไม่ให้ครูที่ทำวิจัยในชั้นเรียนเกิดความท้อแท้ควรใช้วิธีการสนับสนุน ให้ครูทำวิจัยจนเป็นส่วน หนึ่งของวิถีชีวิตการทำงานตามปกติ ให้เกิดความยั่งยืนของกิจกรรมการวิจัย ทำให้งานวิจัยในชั้นเรียนน่าสนใจ เป็นนวัตกรรมที่จะช่วย แก้ ปัญหาในชั้นเรียน มีหลักการและวิธีการที่เอื้อต่อการพัฒนาการเรียนการสอนของครู โดยให้ครูได้เรียนรู้จาก ประสบการณ์และการปฏิบัติ จริงของตนเอง งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการจัดทำงานวิจัยในชั้นเรียนโดยใช้ แนวคิดและหลัก การของ การทำวิจัยเชิงปฏิบัติการ อันจะทำให้ครูได้รอบรู้ทั้งเนื้อหาวิชาการและวิธีการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้อง กับการ เปลี่ยนแปลงของ สังคมและเทคโนโลยี ตามแนวทางของการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นไปตามจุดมุ่งหมายที่ต้องการของหลักสูตร

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อส่งเสริมให้ครูทำวิจัยในชั้นเรียนโดยใช้กระบวนการ PLC เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน อย่างน้อย 1 เรื่องใน 1 ภาคการศึกษา
2. เพื่อให้โรงเรียนมีงานวิจัยระดับโรงเรียนอย่างน้อย 1 เรื่องใน 1 ภาคการศึกษา

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ครูร้อยละ 87 มีการทำวิจัยในชั้นเรียนโดยใช้กระบวนการ PLC เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในวิชาที่ตนรับผิดชอบ อย่างน้อย 1 เรื่องใน 1 ภาคการศึกษา
2. โรงเรียนมีงานวิจัยระดับโรงเรียนอย่างน้อย 1 เรื่องใน 1 ปีการศึกษา
  เชิงคุณภาพ
    1. ครูทุกคนมีผลการประเมินงานวิจัยในชั้นเรียนโดยใช้กระบวนการ PLC เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในวิชาที่ตนรับผิดชอบอยู่ในระดับผ่านขึ้นไป
2. โรงเรียนมีงานวิจัยระดับโรงเรียนที่เกิดจากความร่วมมือของครูในทุกระดับชั้นเรียน

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 9/9/2562          ถึงวันที่ : 8/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    ส่งเสริมการจัดทำงานวิจัยในชั้นเรียน
  ขั้นเตรียมการ จัดประชุมครูเพื่อชี้แจงรายละเอียดเเละวางแผนการทำวิจัยในชั้นเรียนโดยใช้กระบวนการ PLC เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในวิชาที่ตนรับผิดชอบ
  ขั้นดำเนินการ 1) ครูแต่ละคนศึกษาปัญหา วิเคราะห์ปัญหาของผู้เรียนในวิชาที่ตนรับผิดชอบ 2) ครูดำเนินการตามกระบวนการ PLC เเละดำเนินการทำการวิจัยในชั้นเรียนเเละเขียนรายงานการวิจัยตามแบบฟอร์มที่งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้จัดทำให้
  ชั้นสรุป 1) งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้รวบรวมรายงานการงานวิจัยในชั้นเรียน 2) ผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพของรายงานการงานวิจัยในชั้นเรียนเเละคัดเลือกงานวิจัยที่มีคุณภาพ 3) รายงานผลการประเมินคุณภาพของรายงานการงานวิจัยในชั้นเรียนให้ผู้บริหารทราบ ประกาศผลเเละมอบรางวัล
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 2000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 9/9/2562     ถึงวันที่ 9/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวดิฐารัตน์ ลีวรางกุล
    กิจกรรมที่ 2    การจัดทำงานวิจัยระดับโรงเรียน
  ขั้นเตรียมการ จัดประชุมครูเพื่อชี้แจงรายละเอียดเเละวางแผนการทำงานวิจัยระดับโรงเรียน
  ขั้นดำเนินการ ครูผู้เกี่ยวข้องดำเนินการตามแผนการวิจัยเเละทีมงานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้เก็บรวบรวมข้อมูล
  ชั้นสรุป ทีมงานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้สรุปข้อมูลเเละเขียนรายงานการวิจัยระดับโรงเรียน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 3000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 9/9/2562     ถึงวันที่ 9/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวดิฐารัตน์ ลีวรางกุล

   รวม 2 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 5,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 5,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ครูโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
ครูทุกคนมีรายงานวิจัยในชั้นเรียนโดยใช้กระบวนการ PLC เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในวิชาที่ตนรับผิดชอบเพื่อใช้ประกอบในการเลื่อนวิทยฐานะ

 

 

รหัสโครงการ 1-15-4
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชื่อโครงการ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 1. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อที่ 4. ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 1.1. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
นโยบายโรงเรียน
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูดิฐารัตน์ ลีวรางกุล

1. หลักการและเหตุผล

           จากผลการทดสอบมาตรฐานทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) ในรายวิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 โดย สถาบัน ทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) พบว่า นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียนต่ำกว่าคะแนน เฉลี่ยระดับเขตพื้นที่การศึกษา และ ระดับชาติ ดั้งนั้นเพื่อเป็นการพัฒนานักเรียนให้มีผลการทดสอบและผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาคณิตศาสตร์เป็นไป ตาม เกณฑ์ พร้อมทั้งเป็นการเพิ่มพูนความรู้ พัฒนาศักยภาพ และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา คณิตศาสตร์ให้สูงขึ้น กลุ่มสาระ การ เรียนรู้คณิตศาสตร์จึงได้จัดทำโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนซึ่งประกอบด้วยกิจกรรม 2 กิจกรรม ดังนี้ 1. กิจกรรมค่าย สอน เสริมเพื่อเติมเต็มและต่อยอดความรู้ทางคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2. กิจกรรมค่ายสอนเสริมเพื่อเติมเต็มและต่อยอด ความรู้ ทางคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ได้จัดทำโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนขึ้นโดย น้อมนำหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อเพิ่มยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้น
2. เพื่อพัฒนาผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) ให้คะแนนเฉลี่ยสูงขึ้น

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ผู้เรียนอย่างน้อยร้อยละ 70 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เป็นไปตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกำหนด
2. ผู้เรียนอย่างน้อยร้อยละ 70 มีผลการทดสอบระดับชาติวิชาคณิตศาสตร์เป็นไปตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกำหนด
  เชิงคุณภาพ
    คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) วิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนสูงกว่าหรือเท่ากับคะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัดและระดับเขตพื้นที่การศึกษา

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 9/9/2562          ถึงวันที่ : 8/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมสอนเสริมเพื่อเติมเต็มและต่อยอดความรู้ทางคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
  ขั้นเตรียมการ - จัดทำโครงการและขออนุมัติ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ - ประชุมคณะกรรมการดำเนินการและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยจัดคาบสอนเสริมให้กับคุณครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ - จัดทำหลักสูตรในการจัดกิจกรรม
  ขั้นดำเนินการ - จัดทำเอกสารประกอบการทำกิจกรรม - ดำเนินการจัดกิจกรรมสอนเสริมตามที่กำหนดไว้ในตารางสอน - ประเมินผลการจัดกิจกรร
  ชั้นสรุป - ตรวจสอบรายงานการจัดกิจกรรมของกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ – ประเมินผลและรายงานผลการปฏิบัติงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 3000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 9/9/2562     ถึงวันที่ 9/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวดิฐารัตน์ ลีวรางกุล
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมค่ายสอนเสริมเพื่อเติมเต็มและต่อยอดความรู้ทางคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
  ขั้นเตรียมการ - จัดทำโครงการและขออนุมัติ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ - ประชุมคณะกรรมการดำเนินการและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยจัดคาบสอนเสริมให้กับคุณครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ - จัดทำหลักสูตรในการจัดกิจกรรม
  ขั้นดำเนินการ - จัดทำเอกสารประกอบการทำกิจกรรม - ดำเนินการจัดกิจกรรมสอนเสริมตามที่กำหนดไว้ในตารางสอน - ประเมินผลการจัดกิจกรรม
  ชั้นสรุป - ตรวจสอบรายงานการจัดกิจกรรมของกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ – ประเมินผลและรายงานผลการปฏิบัติงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 3000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 9/9/2562     ถึงวันที่ 9/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวดิฐารัตน์ ลีวรางกุล

   รวม 2 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 6,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 6,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ครูทุกคนในกลุ่มสารการเรียนรู้คณิตศาสตร์
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนได้รับการพัฒนาศักยภาพทางด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้ดีขึ้นเเละมีคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ในการทดสอบระดับชาติ (O-NET) ดีขึ้น

 

 

รหัสโครงการ 1-31-4
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานการประเมินผลการดำเนินงานวิชาการ
ชื่อโครงการ ประเมินการจัดโครงการหรือกิจกรรมของกลุ่มงานบริหารวิชาการ
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 4. การพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
ประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
มาตรฐานการศึกษา
นโยบายโรงเรียน ข้อที่ 5. ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรโรงเรียน โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูดิฐารัตน์ ลีวรางกุล

1. หลักการและเหตุผล

           ในการดำเนินโครงการหรือกิจกรรมต่างๆ จำเป็นต้องมีการประเมินเพื่อให้ทราบว่าโครงการหรือ กิจกรรมต่างๆที่ดำเนินการนั้นเป็นไป ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้หรือไม่หรือเป็นโครงการที่คุ้มค่าต่อการตัดสินใจในการดำเนินการหรือไม่ รวมถึงการศึกษาว่าในการดำเนินการ โครงการมีปัญหาที่ต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขในเรื่องอะไรบ้าง และเป็นโครงการที่มีคุณค่า มากน้อยเพียงใด

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

เพื่อประเมินความคิดเห็นเเละความพึงพอใจในการดำเนินโครงการหรือกิจกรรมของกลุ่มงานบริหารวิชาการ

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    ร้อยละ 100.00 ของโครงการหรือกิจกรรมของกลุ่มงานบริหารวิชาการได้รับการประเมินในกิจกรรมที่มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน
  เชิงคุณภาพ
    โครงการหรือกิจกรรมของกลุ่มงานบริหารวิชาการได้รับการประเมินครบทุกกิจกรรมที่มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 9/9/2562          ถึงวันที่ : 8/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    ประเมินการจัดโครงการหรือกิจกรรมของกลุ่มงานบริหารวิชาการ
  ขั้นเตรียมการ รับทราบคำสั่งแต่งตั้งในการประเมินโครงการหรือกิจกรรมของกลุ่มงานบริหารวิชาการ
  ขั้นดำเนินการ 1) จัดทำแบบประเมินความคิดเห็นเเละความพึงพอใจในการดำเนินโครงการหรือกิจกรรมของกลุ่มงานบริหารวิชาการ 2) เก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เข้าร่วมโครงการหรือกิจกรรม
  ชั้นสรุป 1) สรุปผลการประเมินเเละเขียนรายการประเมินส่งผู้บริหารโรงเรียน 2) ส่งผลการรายงานให้เจ้าของโครงการหรือกิจกรรมรับทราบผลการประเมิน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 9/9/2562     ถึงวันที่ 9/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวดิฐารัตน์ ลีวรางกุล

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ครูโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
โครงการหรือกิจกรรมของกลุ่มงานบริหารวิชาการได้รับการประเมินครบทุกกิจกรรมที่มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน

 

 

รหัสโครงการ 1-03-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานวัดผลและประเมินผลการเรียน
ชื่อโครงการ โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการทดสอบระดับชาติโอเน็ต
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูปานรวี ภูศรี

1. หลักการและเหตุผล

          งานวัดและประเมินผล ฝ่ายบริหารงานวิชาการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ได้วางแผนในการดำเนินโครงการยกระดับผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการทดสอบโอเน็ตมาอย่างต่อเนื่อง โดยในปีงบประมาณ 2562 งานวัดและประเมินผลได้ดำเนิน งานตามแผนการดำเนินโครงการตามหลัก P D C A มีผลการดำเนินงาน ดังนี้ (1) มีคลังข้อสอบโอเน็ต จำนวน 2 ปีการศึกษา (2) จัดค่ายส่งเสริมวิชาการ ระดับชั้น ม.3 และ ม.6 จำนวน 2 ครั้ง (3) ดำเนินกิจกรรมการเรียนซ้ำรายวิชา ภาคเรียนละ 1 ครั้ง และการเรียนซ้ำภาคฤดูร้อน จำนวน 1 ครั้ง (4) ดำเนินกิจกรรมสอนเสริมเพิ่มศักยภาพเตรียมพร้อมสอบโอเน็ต ตลอดภาคเรียนที่ 2 และในปีงบประมาณ 2563 งานวัดและประเมินผลจึงได้วางแผนที่จะดำเนินกิจกรรมในโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนและผลการทดสอบโอเน็ตอย่างต่อเนื่อง ประกอบด้วย 4 กิจกรรม คือ (1) กิจกรรมการผลิตคลังข้อสอบ (2) กิจกรรมค่ายส่งเสริมวิชาการ ระดับชั้น ม.3 และ ม.6 (3) กิจกรรมการเรียนซ้ำรายวิชาเพื่อแก้ไขผลการเรียน และ (4) กิจกรรม สอนเสริมเพิ่มศักยภาพเตรียมพร้อมสอบโอเน็ต โดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

2.1 เพื่อให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    3.1.1. จำนวนผู้เรียนที่มีความก้าวหน้าจากพื้นฐานเดิมในแต่ละปีด้านความรู้ความเข้าใจ ด้านทักษะต่างๆตามหลักสูตรอย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่องในระดับดี ร้อยละ 70
  เชิงคุณภาพ
    3.2.1 มีคลังข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและคลังข้อสอบระดับชาติโอเน็ต 3.2.2 มีการจัดค่ายส่งเสริมวิชาการ จำนวน 2 ครั้งต่อปี 3.2.3 มีการดำเนินกิจกรรมเรียนซ้ำครบทุกภาคเรียนและภาคฤดูร้อน 3.2.4 มีการดำเนินกิจกรรมสอนเสริมเพิ่มศักยภาพเตรียมพร้อมสอบโอเน็ต

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมการผลิตคลังข้อสอบ
  ขั้นเตรียมการ - จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ - ขออนุมัติโครงการ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ - ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
  ขั้นดำเนินการ -บันทึกขอดำเนินกิจกรรม -จัดทำชุดข้อสอบโอเน็ต(วิชาละ80ฉบับ/ปีการศึกษา) -จัดทำระบบการยืมคืน -ดำเนินกิจกรรมการใช้ข้อสอบโอเน็ต -จัดทำฐานข้อมูลข้อสอบโอเน็ตบนเว็บไซต์ -จัดเตรียมแฟ้มเอกสารคลังข้อสอบรายวิชาต่างๆสำหรับแจกกลุ่มสาระฯ -จัดทำสารสนเทศคลังข้อสอบ
  ชั้นสรุป -ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมทุกกิจกรรม -จัดทำรายงานผลการดำเนินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 2000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสาววันลิษา ขำอิ่ม
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมค่ายส่งเสริมวิชาการ ระดับชั้น ม.3 และ ม.6
  ขั้นเตรียมการ - จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ - ขออนุมัติโครงการ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ - ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
  ขั้นดำเนินการ -บันทึกขอดำเนินกิจกรรม -จัดจ้างวิทยากร -จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง -จัดทำเอกสารประกอบการอบรม -จัดค่ายส่งเสริมวิชาการ ม.3 และ ม.6
  ชั้นสรุป -ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมทุกกิจกรรม -จัดทำรายงานผลการดำเนินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 100000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 31/3/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวกรรณิการ์ กล้าสืบการ
    กิจกรรมที่ 3    กิจกรรมการเรียนซ้ำเพื่อแก้ไขผลการเรียน
  ขั้นเตรียมการ - จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ - ขออนุมัติโครงการ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ - ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
  ขั้นดำเนินการ -บันทึกขอดำเนินกิจกรรม -จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง -จัดเตรียมเอกสารการลงทะเบียนเรียนซ้ำ -จัดการประชุมผู้ปกครองและลงทะเบียนเรียนซ้ำ(ภาคเรียนละ 1 ครั้ง) -จัดทำแฟ้มเอกสารการเรียนซ้ำ -ดำเนินกิจกรรมการเรียนซ้ำ -รวบรวมผลการเรียนซ้ำ -สรุปและรายงานผลการเรียนซ้ำ -จัดการเรียนซ้ำภาคฤดูร้อน
  ชั้นสรุป -ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมทุกกิจกรรม -จัดทำรายงานผลการดำเนินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 1000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายกันต์กวี ครุรัตน์ศิริพิมุก
    กิจกรรมที่ 4    กิจกรรมสอนเสริมเพิ่มศักยภาพเตรียมพร้อมสอบโอเน็ต
  ขั้นเตรียมการ - จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ - ขออนุมัติโครงการ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ - ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
  ขั้นดำเนินการ -บันทึกขอดำเนินกิจกรรม -จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง -จัดสอบ pre O-NET นักเรียน ม.3 และ ม.6 -วิเคราะห์ผลการสอบ pre O-NETและจัดกลุ่มนักเรียนตามศักยภาพ -ดำเนินกิจกรรมการสอนเสริมตลอดภาคเรียนที่ 2 -จัดสอบ O-NET นักเรียน ม.3 และ ม.6 -วิเคราะห์ผลการสอบ O-NET -รายงานผลการทดสอบรายบุคคลและแจ้งผลต่อกลุ่มสาระ
  ชั้นสรุป -ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมทุกกิจกรรม -จัดทำรายงานผลการดำเนินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวปานรวี ภูศรี

   รวม 4 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 103,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 103,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
-งานวิชาการ ฝ่ายบริหารงานวิชาการ -งานธุรการ ฝ่ายบริหารงานงบประมาณ -งานการเงิน ฝ่ายบริหารงานงบประมาณ -งานอาคารสถานที่ ฝ่ายบริหารงานบริหารทั่วไป -กลุ่มสาระการเรียนรู้ท้ัง 8 กลุ่มสาระ
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
7.1 ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาเป็นไปตามค่าเป้าหมาย

 

 

รหัสโครงการ 1-03-6
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานวัดผลและประเมินผลการเรียน
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพงานวัดและประเมินผลการศึกษา
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูปานรวี ภูศรี

1. หลักการและเหตุผล

          งานวัดและประเมินผล ฝ่ายบริหารงานวิชาการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ได้วางแผนในการดำเนินโครงการพัฒนา คุณภาพงานวัดและประเมินผลการศึกษามาอย่างต่อเนื่อง โดยในปีงบประมาณ 2562 งานวัดและประเมินผลได้ดำเนินงาน ตามแผนการดำเนินโครงการตามหลัก P D C A มีผลการดำเนินงาน ดังนี้ (1) การจัดทำป้ายนิเทศถาวรหน้าห้องทะเบียน ดำเนินการเสร็จสิ้น (2) การจัดซื้อแฟ้มการพัฒนาเครื่องมือวัดผลและวิเคราะห์ข้อสอบสำหรับครู ดำเนินการเสร็จสิ้น (3) การจัดการทดสอบด้วยข้อสอบมาตรฐานกลางระดับ ม.1 และ ม.2 ดำเนินการเสร็จสิ้น (4) การจัดการทดสอบระดับชาติโอเน็ต ม.3 และ ม.6 ดำเนินการเสร็จสิ้น (5) กิจกรรมพัฒนาครูด้านการวัดและประเมินผล ยังไม่ได้ดำเนินการ และในปีงบประมาณ 2563 งานวัดและประเมินผลจึงได้วางแผนที่จะดำเนินกิจกรรมในโครงการพัฒนาคุณภาพงาน วัดและประเมินผลการศึกษาอย่างต่อเนื่อง และดำเนินกิจกรรมที่ยังไม่ได้ดำเนินการในปีงบประมาณ 2562 อีกทั้งกิจกรรม ที่เป็นภารกิจจากต้นสังกัด ประกอบด้วย 3 กิจกรรม คือ (1) กิจกรรมการพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผล (การอบรม ครูเรื่องการสร้างข้อสอบคุณภาพ การวิเคราะห์ข้อสอบและการตรวจข้อสอบด้วย Zipgrade) (2) กิจกรรมการพัฒนาระบบ การวัดและประเมินผล (3) กิจกรรมการพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผล (การจัดทำข้อสอบมาตรฐานกลางและข้อสอบ Pre O-NET) โดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมาเป็น แนวทางในการดำเนินงาน

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

2.1 เพื่อส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาครูให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 2.2 เพื่อให้มีการจัดการคุณภาพของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 2.3 เพื่อให้มีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    3.1.1 มีการจัดอบรมครูด้านการวัดและประเมินผล จำนวน 1 ครั้ง (การพัฒนาครู) 3.1.2 ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อระบบการวัดและประเมินผลในระดับมาก อย่างน้อยร้อยละ 80
  เชิงคุณภาพ
    3.2.1 สถานศึกษามีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาในระดับดีเลิศ ร้อยละ 78 (ระบบการวัดและประเมินผล) 3.2.2 สถานศึกษามีการส่งเสริมสนับสนุน พัฒนาครู บุคลากร ให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพในระดับดีเลิศ ร้อยละ 87 3.2.3 สถานศึกษามีการจัดระบบการจัดหา การพัฒนาและการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ในระดับดีเลิศ ร้อยละ 85 (เครื่องมือการวัดและ ประเมินผล) 3.2.4 สถานศึกษามีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียนอย่างเป็นระบบอยู่ในระดับดี ร้อยละ 70

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมการพัฒนาครูด้านการวัดและประเมินผล
  ขั้นเตรียมการ - จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ - ขออนุมัติโครงการ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ - ประชุมหารือชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
  ขั้นดำเนินการ -บันทึกขอดำเนินกิจกรรม -จัดจ้างวิทยากร -จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง -จัดทำเอกสารประกอบการอบรม -จัดกิจกรรมการอบรมครู
  ชั้นสรุป -ประเมินผลการดำเนินโครงการ -จัดทำรายงานผลการดำเนินโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 10000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 31/3/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวปานรวี ภูศรี
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมการพัฒนาระบบการวัดและประเมินผล
  ขั้นเตรียมการ - จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ - ขออนุมัติโครงการ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ - ประชุมหารือชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
  ขั้นดำเนินการ บันทึกขอดำเนินกิจกรรม -จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ -จัดระบบการติดต่องานวัดผลสำหรับนักเรียน (เอกสาร) -จัดระบบการติดต่องานวัดผลสำหรับครู (เอกสาร) -จัดระบบการประชาสัมพันธ์งานวัดผล (บอร์ด) -จัดระบบการวัดผลการเรียน(ตรวจและวิเคราะห์ข้อสอบ) -จัดระบบการประเมินผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน -จัดระบบงานวัดผลบนเว็บไซต์ของโรงเรียน -เตรียมความพร้อมสนามสอบโอเน็ต
  ชั้นสรุป -ประเมินผลการดำเนินกิจกรรม -จัดทำรายงานผลการดำเนินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 10000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวยุวดี พุทสอน
    กิจกรรมที่ 3    กิจกรรมการพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผล
  ขั้นเตรียมการ - จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ - ขออนุมัติโครงการ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ - ประชุมหารือชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
  ขั้นดำเนินการ -วางแผนและศึกษาการจัดทำเครื่องมือวัดผลต่างๆ -จัดทำ/พัฒนาเครื่องมือวัดผลต่างๆ -ทดสอบและประเมินการใช้เครื่องมือวัดผล -ประชุมชี้แจงและทำความเข้าใจการใช้เครื่องมือแก่ครู -ครูใช้เครื่องมือต่างๆในการวัดผล -ประเมินผลการใช้เครื่องมือ -รวบรวมสารสนเทศของเครื่องมือวัดผลต่างๆ -การจัดทำข้อสอบมาตรฐานกลางเพื่อประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชั้น ม.1และ ม.2
  ชั้นสรุป -ประเมินผลการดำเนินกิจกรรม -จัดทำรายงานผลการดำเนินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 5000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางฐาณิชนันท์ ใจจริง

   รวม 3 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 25,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 25,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
-งานอาคารสถานที่ ฝ่ายบริหารงานทั่วไป -งานวิชาการ ฝ่ายบริหารงานวิชาการ -งานธุรการ ฝ่ายบริหารงานงบประมาณ -งานการเงิน ฝ่ายบริหารงานงบประมาณ
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
ครูมีความสามารถในการสร้างข้อสอบคุณภาพ การวิเคราะห์ข้อสอบและการตรวจข้อสอบด้วย Zipgrade

 

 

รหัสโครงการ 1-15-5
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชื่อโครงการ พัฒนาผู้เรียนให้มีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 2. การเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ทั่วถึงครอบคลุมผู้เรียนให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพและมีคุณภาพ
ประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อที่ 4. ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 1.1. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
นโยบายโรงเรียน
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูวิพาดา อินทวิชัย

1. หลักการและเหตุผล

          กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ได้วางแผนในการจัดโครงการพัฒนาผู้เรียนให้มีความใฝ่รู้ และ เรียน รู้อย่างต่อ เนื่อง อีกทั้งยังเป็นการเตรียมความพร้อมให้กับนักเรียนเพื่อแข่งขันในการแข่งขันรายการต่างๆทั้งภายในและ ภายนอก โรงเรียนที่เกี่ยวข้อง กับทางกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ซึ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และพัฒนาทักษะ ความ สามารถพิเศษ ทางคณิตศาสตร์ โดยใช้สื่อ ต่างๆ เช่น การอบรมโปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP) และฝึกฝนเกมกีฬาทาง คณิตศาสตร์ (A-math ,Sudoku, GSP,โครง งานคณิตศาสตร์,คิดเลขเร็ว,อัฉริยภาพคณิตศาสตร์) เป็นต้น
ซึ่งในการจัดโครงการพัฒนาผู้เรียนให้มีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ในปีการศึกษาที่ผ่านมา นักเรียนมีความพึง พอใจกับการ จัดโครงการในระดับเหมาะสมมากที่สุด ในปีการศึกษานี้ทางกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์จึงได้วางแผน เพื่อโครงการ พัฒนาผู้ เรียนให้มีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ขึ้นซึ่งประกอบด้วยกิจกรรม 2 กิจกรรม คือ การฝึกฝนทักษะทาง คณิตศาสตร์ และเกม กีฬาทางคณิตศาสตร์ (A-math ,Sudoku, GSP,โครงงานคณิตศาสตร์,คิดเลขเร็ว) และส่งนักเรียนแข่งขันกับหน่วย งาน ภายนอก และกิจกรรมวันคณิตศาสตร์สนุกคิด โดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพล อดุลยเดชมาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อฝึกฝนทักษะทางคณิตศาสตร์และเกมกีฬาทางคณิตศาสตร์ (A-math ,Sudoku, GSP,โครงงานคณิตศาสตร์,คิดเลขเร็ว,อัฉริยภาพคณิตศาสตร์) และ ส่งนักเรียนแข่งขันกับหน่วยงานภายนอก
2. เพื่อพัฒนาให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดคำนวณ

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. นำนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันทักษะทางคณิตศาสตร์และเกมกีฬาทางคณิตศาสตร์ กับหน่วยงานภายนอก จำนวนอย่างน้อย 5 รายการ
2. นักเรียนร้อยละ 65 มีความสามารถในการคิดคำนวณ
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนมีความสามารถในการคิดคำนวณอยู่ในระดับดีเลิศ
2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 อยู่ในระดับดีเยี่ยม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 10/9/2562          ถึงวันที่ : 9/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การฝึกฝนทักษะทางคณิตศาสตร์และเกมกีฬาทางคณิตศาสตร์ และส่งนักเรียนแข่งขันหน่วยงานภายนอก
  ขั้นเตรียมการ - จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
- ขออนุมัติโครงการ
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
- ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่
  ขั้นดำเนินการ - ฝึกฝนนักเรียน
- พานักเรียนเข้าแข่งขันกับหน่วยงานภายนอก
  ชั้นสรุป ประเมินผลและรายงานผลโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 12000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 10/9/2562     ถึงวันที่ 10/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นางวิพาดา อินทวิชัย

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 12,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 12,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนมีทักษะ ความสามารถพิเศษทางคณิตศาสตร์เพิ่มมากขึ้น
2. นักเรียนได้รับรางวัลจากการแข่งขันทักษะทางคณิตศาสตร์

 

 

รหัสโครงการ 1-27-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน โครงการห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมศักยภาพทางการเรียนคณิตศาสตร์นักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ระดับชั้น ม.1 และ ม. 4
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูประณต ฉัฐมะ

1. หลักการและเหตุผล

           โครงการส่งเสริมศักยภาพทางการเรียนคณิตศาสตร์นักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ระดับ ชั้น ม.1 และ ม. 4 โดยกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จัดทำขึ้นเพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ เรียนในกลุ่มห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์ เน้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และพัฒนาทักษะ ความสามารถพิเศษทางคณิตศาสตร์ โดยมุ่ง เน้นทักษะการใช้ โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP) เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จึงจัดทำโครงการส่งเสริมศักยภาพทางการเรียน คณิตศาสตร์นักเรียนห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ระดับชั้น ม.1 และ ม. 4 โดยมีกิจกรรมใน โครงการจำนวน 1 กิจกรรม คือ กิจกรรม การอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการใช้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP) เพื่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยน้อมนำหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน

กรณีต้องการย่อหน้าที่ 2

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ
2. เพื่อให้ผู้เรียนเรียนสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา
3. เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
4. เพื่อส่งเสริมศักยภาพ และพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์นักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1.จำนวนผู้เรียนร้อยละ 50-54 ที่มีความสามารถในการอ่านและเขียนได้เหมาะสมตามระดับชั้นเป็นไปตามเกณฑ์ของสถานศึกษากำหนด
2. จำนวนผู้เรียนร้อยละ 50-54 ในด้านการสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษเหมาะสม
3. จำนวนผู้เรียนร้อยละ 50-54 ที่มีความสามารถในด้านการคิดคำนวณเหมาะสมตามระดับชั้นเป็นไปตามเกณฑ์ของสถานศึกษากำหนด
4. จำนวนผู้เรียนร้อยละ 85 ขึ้นไปที่มีความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นแก้ปัญหาและนำไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่างๆ อย่างเหมาะสมเป็นไปตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด
5. จำนวนผู้เรียนร้อยละ 65 ขึ้นไปที่มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ได้อย่างเหมาะสมปลอดภัย มีประสิทธิภาพ
6. จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมศักยภาพ และพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ จำนวน 1 ครั้ง
7. รายงานผลการประเมินการจัดกิจกรรม จำนวน 2 เล่ม
  เชิงคุณภาพ
    1.ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณในระดับดีเลิศ
2.ผู้เรียนมีความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหาในระดับยอดเยี่ยม
3.ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในระดับยอดเยี่ยม
4.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 อยู่ในระดับดีเยี่ยม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมการอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการใช้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP) เพื่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์
  ขั้นเตรียมการ ขั้นเตรียม (P) - จัดทำบันทึกข้อความขอดำเนินโครงการ - ออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ - ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
  ขั้นดำเนินการ - จัดเตรียมอุปกรณ์ เอกสารประกอบการอบรม - จัดซื้ออาหาร อาหารว่าง น้ำดื่มสำหรับนักเรียน วิทยากร คณะกรรมการดำเนินงาน - จัดกิจกรรมการอบรมโปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP) - ทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ - ประเมินผลกิจกรรม
  ชั้นสรุป ขั้นนิเทศติดตามผล - ตรวจสอบรายงานการจัดกิจกรรมของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ขั้นประเมินผล ประเมินผลและรายงานผลโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 51800 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ศูนย์ปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม , แหล่งเรียนรู้ จังหวัดกรุงเทพมหานคร
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายประณต ฉัฐมะ

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 51,800.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 51,800.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์) , งานอาคารสถานที่, งานการเงิน , งานพัสดุ , งานประชาสัมพันธ์
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนมีทักษะการใช้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP) เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มมากขึ้น

 

 

รหัสโครงการ 1-30-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ชื่อโครงการ พัฒนาผู้เรียนคิดเป็นทำเป็น
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 1. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อที่ 1. พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 1.1. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
นโยบายโรงเรียน
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูทิพย์มาศ สำแดง

1. หลักการและเหตุผล

          

การดำเนินชีวิตของมนุษย์ ตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลงตลอด เวลา มนุษย์ต้อง รู้จักเอาตัวรอด อาศัยการคิด การค้นพบ การประดิษฐ์สิ่งแปลกใหม่ด้วยความรู้ในศาสตร์ต่างๆเพื่ออำนวยความสะดวกและ ดำรงชีวิตอยู่ใน สังคมได้อย่างมีความสุข วิชาคณิตศาสตร์เป็นพื้นฐานสำคัญของศาสตร์ต่างๆ แต่ปัจจุบันคนส่วนใหญ่มักจะมองไม่เห็นถึง ความสำคัญของ วิชานี้เพราะเป็นวิชา ที่เป็นนามธรรม เข้าใจได้ยากจนทำให้มีเจตคติที่ไม่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์และทำให้ขาดทักษะทาง คณิตศาสตร์ที่ จำเป็นในการพัฒนาศาสตร์ต่างๆไปด้วย

อีกทั้งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติปี 2542 ยังมุ่งหวังให้ผู้เรียนมีความคิดสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ และเรียนรู้ด้วยตนเอง จึง ได้จัดกิจกรรม ค่ายคณิตศาสตร์ขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ให้นักเรียนได้นำความรู้ในวิชาคณิตศาสตร์ ที่ได้รับในห้องเรียนมา ประยุกต์ใช้ในการทำ กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ เสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และสร้างเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์

ซึ่งในการจัดค่ายคณิตศาสตร์ในปีการศึกษา ที่ผ่านมา นักเรียนมีความพึงพอใจกับการจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ในระดับ เหมาะสมมากที่ สุด ในปีการศึกษานี้ทางกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์จึงได้วางแผนในจัดกิจกรรม ค่ายคณิตศาสตร์ขึ้นเพื่อพัฒนา ศักยภาพของผู้เรียน โดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ พลอดุลยเดชมาเป็นแนวทางในการ ดำเนินงาน

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาคณิตศาสตร์ พัฒนาให้นักเีรียนคิดเป็นทำเป็น โดยยึดนักเรียนเป็นสำคัญ
2. เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนมีทักษะกระบวนการทางด้านคณิตศาสตร์เพิ่มเติมจากในบทเรียน
3. เพื่อให้นักเรียนสามารถนำความรู้ในวิชาคณิตศาสตร์ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
4. เพื่อสร้างเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนร้อยละ 50 มีทักษะการคิดคำนวณ
4. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ จำนวน 350 คน
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนมีทักษะการคิดคำนวณอยู่ในระดับดีเลิศ
2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 อยู่ในระดับดีเยี่ยม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 10/9/2562          ถึงวันที่ : 9/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    ค่ายคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
  ขั้นเตรียมการ 1. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
2. ขออนุมัติโครงการ
3. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
4. ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
  ขั้นดำเนินการ 1. เสนอโครงการขออนุมัติต่อทางโรงเรียนและออกคำสั่งแต่งตั้ง 2. ประชุมครูในกลุ่มสาระฯ เพื่อวางแผนงาน 3. ติดต่อสำรวจสถานที่ตามความเหมาะสม
4. ประชาสัมพันธ์นักเรียนที่สนใจ
5. ประสานงานวิทยากรภายนอก
6. จัดเตรียมเอกสาร วัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์
7. ดำเนินการจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์
  ชั้นสรุป 1. ตรวจสอบรายงานกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์
2. ประเมินผลและรายงานผลโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 24000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่าะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 10/9/2562     ถึงวันที่ 10/10/2563
  ผู้รับผิดชอบ ว่าที่ร้อยตรีหญิงทิพย์มาศ สำแดง

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 24,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 24,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนมีทักษะ ความสามารถพิเศษทางคณิตศาสตร์เพิ่มมากขึ้น
2. นักเรียนมีเจตคติที่ดีในวิชาคณิตศาสตร์

 

 

รหัสโครงการ 1-27-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน โครงการห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี
ชื่อโครงการ พัฒนาทักษะกระบวนการคิดและตัดสินใจ
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 1. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อที่ 1. พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 3. กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
นโยบายโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ รักประชาธิปไตย ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม ศึกษาต่อ มีงานทำ มีความภูมิใจในสถาบันดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูก่อกิจ ธีราโมกข์

1. หลักการและเหตุผล

           ในปัจจุบันเทคโนโลยีทางด้านหุ่นยนต์กําลังได้รับความสนใจจากสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ในทุกระดับ เนื่องจากเป็นเทคโนโลยีที่สามารถ พัฒนาทักษะกระบวนการคิด การคํานวณ การออกแบบเทคโนโลยี พัฒนาการคิดอย่างสร้างสรรค์และสามารถบูรณาการทักษะหลาย ๆ ด้านด้วยกัน นอกจากนี้สามารถนําเข้ามา บูรณาการเป็นสื่อและเครื่องมือในการเรียนการสอนได้หลากหลาย ด้วยเหตุนี้เพื่อส่งเสริมความ เป็นอัจฉริยะ และศักยภาพของนักเรียนด้านเทคโนโลยีหุ่นยนต์ให้ก้าวสู่สากล เป็นการพัฒนาศักยภาพให้แก่ผู้เรียน กระตุ้น และส่งเสริมให้ นักเรียนสร้างสรรค์ผลงาน เกิดแรงบันดาลใจที่จะประดิษฐ์คิดค้น

การสร้างหุ่นยนต์ขึ้นมาหนึ่งตัวจะต้องใช้ความรู้ทางด้านกลไกหรือโครงร่างหุ่นยนต์ (Mechanical Assembly) สําหรับสร้างตัวหุ่นยนต์ขึ้นมา ใช้ความรู้ด้านการประกอบวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ (Electrical & Electronics Wiring) มาสร้างวงจรควบคุมต่าง ๆ และใช้ความรู้ด้านการเขียนควบคุมการทํางานของหุ่นยนต์ (Software Programming) การสร้างหุ่นยนต์โดยไม่มีความรู้ความรู้ที่ได้กล่าวมาเลยมากนั้นก็สร้างได้เช่นกัน เช่น ประกอบหุ่นยนต์ตามชุดประกอบที่ มีให้แล้วกดปุ่ม หุ่นยนต์ก็ทํางานได้ตามต้องการ แต่การสร้างลักษณะ นี้อาจใช้งานหุ่นยนต์ได้ไม่มีประสิทธิภาพมากนัก หากต้องการ ออกแบบหุ่นยนต์ขึ้นมาใหม่ตามลักษณะงานที่ ต้องการผู้สร้างควรมีความรู้พื้นฐานในด้านที่กล่าวมาด้วย ดังนั้นจึงจัดให้มีโครงการจัดค่ายหุ่น ยนต์ขึ้น ซึ่งถือว่ากิจกรรมนี้ เป็นกิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีอีกกิจกรรมหนึ่ง

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. นักเรียนสามารถเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ตามโจทย์ที่กำหนดได้
2. นักเรียนสามารถคิดวิเคราะห์ปัญหา สังเคราะห์ รวบรวมข้อมูล และคิดสร้างสรรค์เพื่อเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์เพื่อแก้ปัญหาได้

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการคิดแก้ปัญหา การวางแผน รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ โดยอบรมนักเรียนจำนวน 70 คน แบ่งเป็นชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 35 คน และชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 35 คน และอบรมให้ความรู้ครูคอมพิวเตอร์ จำนวน 5 คน
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับกระบวนการคิดแก้ปัญหา การวางแผน รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์
2. นักเรียนมีความรู้ความสามารถในการเข้าร่วมแข่งขันหุ่นยนต์ในรายการต่างๆ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 11/9/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    ค่ายหุ่นยนต์ ม.ต้น
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุม เตรียมความพร้อม จัดทำเอกสารจัดการอบรม
2. จัดหา ติดต่อวิทยากรเพื่อให้การอบรม
3. รับสมัครนักเรียนที่สนใจเข้าร่วมอบรมหุ่นยนต์
4. จัดหาหุ่นยนต์สำหรับอบรม
  ขั้นดำเนินการ 1. ดำเนินการอบรมหุ่นยนต์
2. แข่งขันการเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์
  ชั้นสรุป สรุปผลการดำเนินการ และรายงานผลต่อหัวหน้างานห้องเรียนพิเศษ และฝ่ายบริหาร
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 11/9/2562     ถึงวันที่ 30/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นายก่อกิจ ธีราโมกข์
    กิจกรรมที่ 2    ค่ายหุ่นยนต์ ม.ปลาย
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุม เตรียมความพร้อม จัดทำเอกสารจัดการอบรม
2. จัดหา ติดต่อวิทยากรเพื่อให้การอบรม
3. รับสมัครนักเรียนที่สนใจเข้าร่วมอบรมหุ่นยนต์
4. จัดหาหุ่นยนต์สำหรับอบรม
  ขั้นดำเนินการ 1. ดำเนินการอบรมหุ่นยนต์
2. แข่งขันการเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์
  ชั้นสรุป สรุปผลการดำเนินการ และรายงานผลต่อหัวหน้างานห้องเรียนพิเศษ และฝ่ายบริหาร
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 11/9/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายก่อกิจ ธีราโมกข์

   รวม 2 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ครูและนักเรียนห้องเรียนพิเศษ
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียนสามารถเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ตามโจทย์ที่กำหนดได้
2.นักเรียนสามารถคิดวิเคราะห์ปัญหา สังเคราะห์ รวบรวมข้อมูล และคิดสร้างสรรค์เพื่อเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์เพื่อแก้ปัญหาได้
3.นักเรียนสามารถเข้าร่วมแข่งขันทักษะทางวิชาการในการแข่งขันหุ่นยนต์รายการต่างๆ ได้

 

 

รหัสโครงการ 1-27-4
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน โครงการห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี
ชื่อโครงการ โครงการอบรมคอมพิวเตอร์เพื่อการควบคุมโดรนพื้นฐาน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูธนวุฒิ จันทีเทศ

1. หลักการและเหตุผล

           โครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม เป็นโครงการที่จัด ขึ้น เพื่อพัฒนาผู้เรียนสู่ความ เป็นเลิศ ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างเต็มตามศักยภาพมีคุณสมบัติเป็นนักวิจัยที่ดี และ มีส่วนร่วมในการ พัฒนาประเทศสู่ ความเป็นสากล การจัดการเรียนรู้เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการดังกล่าวผู้เรียนจะต้องมีความ พร้อม และเข้าใจเป้าหมายการ เรียนรู้ ดังนั้นการให้ข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อทำความเข้าใจเป้าหมายของการเรียนรู้ กระตุ้นให้ผู้เรียน เกิดความรัก และเห็นคุณค่าในการ ทำการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพื่อเป็นแนวทางในการเลือกประกอบอาชีพ ในอนาคต รวมทั้งเปิดโลกทัศน์ในการนำความรู้ มาพัฒนาบ้านเมืองจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง โครงการห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์ เป็นโครงการ ในความร่วมมือระหว่าง สำนักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) สำนักงานคณะ กรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) สำนักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่ง ชาติ (สวทช.) และสถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) เพื่อเป็นการ ขยายฐานการพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความ สามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของประเทศ โดยใช้หลักสูตรการเรียนการ สอนพิเศษนักเรียนได้รับการพัฒนาและส่งเสริม กิจกรรมทาง วิชาการเพิ่มพิเศษ การได้รับการฝึกงานกับนักวิจัยในมหาวิทยาลัยหรือใน หน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชน ได้รับการส่ง เสริมการทำโครงการวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ละเทคโนโลยี พร้อมทั้งได้รับการส่ง เสริม สนับสุนนให้ไปนำเสนอผลงานทาง วิชาการใน ระดับจังหวัด ระดับภาคและระดับประเทศ อีกทั้งยังเป็นการเร่งรัดพัฒนาครูให้มี ทักษะและวิธีการสอนที่ทันสมัยโดย ใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ สามารถสอนให้นักเรียนเกิดการวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ รู้จักการบริหารจัดการ ที่เหมาะสม รู้จักใช้วิธีการบู รณาการ ลดการท่องจำที่สำคัญ คือการให้นักเรียนตระหนัก รู้สึกรัก เห็นคุณค่า และความสำคัญของการ เรียนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีเกิดความมุ่งหวังที่ จะเป็นนักวิทยาศาสตร์เป็นอาจารย์หรือนักวิจัยเพื่อเป็นกำลังสำคัญ ของชาติ ต่อไป

กรณีต้องการย่อหน้าที่ 2

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

เพื่อพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมความสามารถของนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย ให้มีทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรม คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ (STEM) นำมาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา สร้างจินตนาการ และศึกษาค้นคว้าความรู้ใหม่ๆ ผ่านกิจกรรมการควบคุมโดรนอย่างง่าย

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ร้อยละ 95 ของผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีด้านการบังคับโดรนพื้นฐาน
  เชิงคุณภาพ
    1. ผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีด้านการบังคับโดรนพื้นฐาน
2. ผู้เรียนร่วมกลุ่มกัน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ในการใช้เทคโนโลยีบังคับโดรนพื้นฐาน

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมโครงการอบรมคอมพิวเตอร์เพื่อการควบคุมโดรนพื้นฐาน
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ 2. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
  ขั้นดำเนินการ 1.ขออนุญาตดำเนินโครงการ 2. ติดต่อประสานงานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง / ติดต่อวิทยากร
  ชั้นสรุป 1.ทดสอบการใช้เทคโนโลยีด้านการบังคับโดรนพื้นฐาน 2.สังเกตการณ์ปฏิบัติงาน แบบสอบถาม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 39300 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายธนวุฒิ จันทีเทศ

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 39,300.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 39,300.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1. หน่วยงานภายนอก 2. ผู้บริหาร คณะครู บุคลากร และนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม 3. คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้แทนชุมชน และผู้ปกครอง
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรม คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ ( STEM) นำมาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา สร้างจินตนาการ และศึกษาค้นคว้าความรู้ใหม่ๆ ผ่านกิจกรรมการใช้เทคโนโลยีเพื่อควบคุมโดรนอย่างง่าย

 

 

รหัสโครงการ 1-14-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชื่อโครงการ จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูเกรียงไกร จันหอม

1. หลักการและเหตุผล

          

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 มาตรฐาน 24 ข้อ 2 “ฝึก ทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการ ประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อ ป้องกันและแก้ไขปัญหา ข้อ 3 จัดกิจกรรมให้ ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติ ให้ทำได้ คิดเป็น ทำเป็น รักการอ่าน และเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง” นอกจากนี้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ให้ความสำคัญกับความสามารถด้านการ คิดวิเคราะห์โดยกำหนดไว้ในโครงสร้าง หลักสูตรแต่ละรายวิชา การ จัดการเรียนการสอนในปัจจุบันมุ่งเน้นพื้นฐานการคิด เนื่องจากเป็น พื้นฐานที่มีความสำคัญที่เสริมสร้างความเป็น มนุษย์และ สร้างศักยภาพในการคิดและการทำงานอย่างสร้างสรรค์โดยน้อมนำหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรมาเป็นแนวทางในการ ดำเนินงาน

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
2. เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบคิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล
3. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะพื้นฐานที่จำเป็นตามหลักสูตร
4. เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต
5. ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1.ผู้เรียนร้อยละ 80นำเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหาด้วยภาษาหรือวิธีการของตนเอง
2.ผู้เรียนร้อยละ 80กำหนดเป้าหมายคาดการณ์ ตัดสินใจแก้ปัญหาโดยมีเหตุผลประกอบ
3.ผู้เรียนร้อยละ 80มีความคิดริเริ่ม และสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิ
4.ผู้เรียนร้อยละ 70 มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยแต่ละกลุ่มสาระเป็นไปตามเกณฑ์
5.ผู้เรียนร้อยละ 85มีผลการประเมินสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตรเป็นไปตามเกณฑ์
6.ผู้เรียนร้อยละ 80มีผลการคิดวิเคราะห์ และเขียนเป็นไปตามเกณฑ์
7.ผู้เรียนร้อยละ 50 มีผลการทดสอบระดับชาติเป็นไปตามเกณฑ์
8.ผู้เรียนร้อยละ 85 สามารถวางแผนการทำงานและดำเนินการจนสำเร็จ
9. ผู้เรียนร้อยละ 90มีการทำงานอย่างมีความสุข มุ่งมั่นพัฒนางาน และภูมิใจในผลงานของตนเอง
10.ผู้เรียนร้อยละ90ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
11.ผู้เรียนร้อยละ 80มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริตและหาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองสนใจ
  เชิงคุณภาพ
    1.ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องในระดับดีมาก
2.ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบคิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล ในระดับ ดีเลิศ
3. ผู้เรียนมีความรู้และทักษะพื้นฐานที่จำเป็นตามหลักสูตรในระดับดีมาก
4. ผู้เรียนมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริตในระดับดีเลิศ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ และสารเคมี
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2. สำรวจตรวจสอบวัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี ทุกห้องปฏิบัติการ
  ขั้นดำเนินการ 1. หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายนิเทศติดตามการจัดการเรียนการสอนของครู การใช้สื่อวัสดุ อุปกรณ์ สารเคมี ในการจัดการเรียนการสอน ตรวจแผนการจัดการเรียนรู้
2. ตรวจสอบทะเบียนการใช้สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ สารเคมี
3. หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ตรวจสอบ รายงานการจัดการเรียนการสอน รายงานการใช้สื่อ แผนการจัดการเรียนรู้ ของครูกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
  ชั้นสรุป 1. ครูบันทึกพฤติกรรมการเรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะ สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์หลังแผนการจัดการเรียนรู้. ครูบันทึกพฤติกรรมการเรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะ สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์หลังแผนการจัดการเรียนรู้. ครูบันทึกพฤติกรรมการเรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะ สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์หลังแผนการจัดการเรียนรู้. ครูบันทึกพฤติกรรมการเรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะ สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์หลังแผนการจัดการเรียนรู้ 2. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายงานผลการจัดการเรียนการสอน ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ผลการพัฒนา. ครูบันทึกพฤติกรรมการเรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะ สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์หลังแผนการจัดการเรียนรู้ 2. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายงานผลการจัดการเรียนการสอน ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ผลการพัฒนา 3. ผลคะแนนทดสอบระดับชาติ ( O-NET ) 3. ผลคะแนนทดสอบระดับชาติ ( O-NET ) 2. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายงานผลการจัดการเรียนการสอน ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ผลการพัฒนา 3. ผลคะbr>แนนทดสอบระดับชาติ ( O-NET ) 2. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายงานผลการจัดการเรียนการสอน ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ผลการพัฒนา 3. ผลคะแนนทดสอบระดับชาติ ( O-NET ) 2. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายงานผลการจัดการเรียนการสอน ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ผลการพัฒนา 3. ผลคะbr>แนนทดสอบระดับชาติ ( O-NET )
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 100000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ ครูเกรียงไกร จันหอม

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 100,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 100,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
ะโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ : 1.ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
2.ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบคิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล
3. ผู้เรียนมีความรู้และทักษะพื้นฐานที่จำเป็นตามหลักสูตร
4. ผู้เรียนมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต
5. ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล

 

 

รหัสโครงการ 1-14-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาผู้เรียนคิดเป็นทำเป็น
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 1. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข้อที่ 2. การเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ทั่วถึงครอบคลุมผู้เรียนให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพและมีคุณภาพ
ประเด็นยุทธศาสตร์
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 1.1. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
ข้อที่ 1.2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
นโยบายโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ รักประชาธิปไตย ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม ศึกษาต่อ มีงานทำ มีความภูมิใจในสถาบันดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ข้อที่ 2. ส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการและการเรียนรู้ภาษาที่สอง โดยเน้นการจัดการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
ข้อที่ 5. ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรโรงเรียน โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูเกรียงไกร จันหอม

1. หลักการและเหตุผล

          

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็นหลักสูตรการศึกษาของประเทศ มีจุด ประสงค์ที่จะพัฒนาคุณภาพของผู้ เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสามารถในการแข่งขันโดยใช้ทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สามารถนำ ความรู้ที่ได้มาพัฒนาตนเองให้คิดเป็นทำเป็น และดำรงชีวิตอยู่กับผู้อื่นอย่างมีความสุข บน พื้นฐานของความเป็นไทยและความเป็น สากล รวมทั้งมีความสามารถในการประกอบอาชีพ หรือศึกษาต่อตามความถนัด ความสนใจ และความสามารถของแต่ละบุคคล ตลอดจนการวัดผลและประเมินผลการเรียนตาม หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เน้นวิธีการวัดผลจากสภาพจริง โดยเน้นการแสดงออกของผู้เรียน ให้สอดคล้องกับคุณลักษณะ ความสามารถที่พึงประสงค์ ด้วยวิธีการ ที่หลากหลาย

จากการดำเนินโครงการพัฒนาผู้เรียนคิดเป็นทำเป็นที่ผ่านมาพบว่าในการจัดกิจกรรมนิทรรศการสัปดาห์วิชาการ และสัปดาห์ วิทยาศาสตร์แห่งชาติยังต้องมีวัสดุอุปกรณ์จำเป็นในการดำเนินงานประจำและยังต้องมีส่วนที่พัฒนาขึ้นอีก เพื่อให้การจัด กิจกรรม นิทรรศการสัปดาห์วิชาการและสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติเป็นไปอย่างมีประสิทธิผลและสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่ม สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ จึงเสนอโครงการนี้ขึ้นมา

เนื่องจากวันที่ 18 สิงหาคมของทุกปีเป็น “วันวิทยาศาสตร์แห่ง ชาติ”เพื่อน้อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณและเทิดพระเกียรติ ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งทรงคำนวณการเกิด สุริยุปราคาที่ตำบลหว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2411 โดยไม่คลาดเคลื่อนแม้แต่วินาทีเดียว ซึ่งเป็นการพิสูจน์ ผลการศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์ที่น่าภาคภูมิใจยิ่งของ ประเทศชาติไทย ทางสถาบันศึกษาจะมีการจัดกิจกรรมต่างๆเพื่อรำลึกถึงพระ มหากรุณาธิคุณ ตลอดจนกิจกรรมเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ นำเสนอความรู้และนันทนาการต่างๆและจากการจัดกิจกรรมที่ผ่านมาพบ ว่า นักเรียนให้ความสนใจและอยากให้มีกิจกรรมดังกล่าวมีการจัดขึ้นอีกกลุ่มสาระ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมจึงจัด โครงการ วันวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์และวิชาต่างๆ พร้อมทั้งส่งเสริมให้นักเรียนมีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ ทำให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ มีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลและนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้จริง

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อจัดนิทรรศการแสดงความรู้และผลงาน ความสามารถของนักเรียน ด้านวิทยาศาสตร์
2. เพื่อแข่งขันทักษะทางวิชาการด้านวิทยาศาสตร์
3. เพื่อให้นักเรียนเกิดความสนุกสนานควบคู่กับการได้รับความรู้ในสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
4. เพื่อฝึกให้นักเรียนได้ร่วมกันคิดอย่างมีระบบ คิดอย่างมีเหตุผลตามหลักการวิทยาศาสตร์

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ร้อยละ 90 ของครู นักเรียนเข้าร่วมชมนิทรรศการ ผลงานและความสามารถของนักเรียน
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนเกิดความสนุกสนานควบคู่กับการได้รับความรู้ในสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2. นักเรียนได้ร่วมกันคิดอย่างมีระบบ คิดอย่างมีเหตุผลตามหลักการวิทยาศาสตร์

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมนิทรรศการวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินงานจัดกิจกรรม วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ ประจำปีการศึกษา 2563
  ชั้นสรุป ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถามและสรุปการจัดกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 20000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 31/8/2563
  ผู้รับผิดชอบ ครูเกรียงไกร จันหอม

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 20,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 20,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนมีเวทีแสดงความรู้ ผลงานและความสามารถด้านวิทยาศาสตร์
2. นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิทยาศาตร์
3. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทางวิทยาศาสตร์สูงขึ้น

 

 

รหัสโครงการ 1-27-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน โครงการห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี
ชื่อโครงการ โครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 2. การเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ทั่วถึงครอบคลุมผู้เรียนให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพและมีคุณภาพ
ประเด็นยุทธศาสตร์
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 1.1. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
ข้อที่ 1.2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
นโยบายโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ รักประชาธิปไตย ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม ศึกษาต่อ มีงานทำ มีความภูมิใจในสถาบันดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูเกรียงไกร จันหอม

1. หลักการและเหตุผล

          

โครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม เป็นโครงการ ที่จัด ขึ้นเพื่อพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศ ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างเต็มตาม ศักยภาพมีคุณสมบัติเป็นนักวิจัย ที่ดี และมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศสู่ความเป็นสากล การจัดการเรียนรู้เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ ของโครงการดังกล่าวผู้เรียนจะ ต้องมี ความพร้อม และเข้าใจเป้าหมายการ เรียนรู้ ดังนั้นการให้ข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อทำความ เข้าใจเป้าหมายของการเรียนรู้ กระตุ้น ให้ผู้ เรียนเกิดความรัก และเห็นคุณค่าในการทำงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพื่อ เป็นแนวทางในการเลือกประกอบอาชีพ ใน อนาคต รวมทั้งเปิดโลกทัศน์ในการนำความรู้มาพัฒนาบ้านเมืองจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง โครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ เป็น โครงการในความร่วมมือระหว่าง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) สำนักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา(สกอ.) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และสถาบันส่งเสริม การสอนวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี(สสวท.) เพื่อเป็นการขยายฐานการพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของประเทศ โดยใช้หลักสูตรการ เรียนการสอนพิเศษ นักเรียนได้รับการพัฒนาและส่งเสริมกิจกรรมทางวิชาการเพิ่ม พิเศษ เช่น การเข้าค่าย วิทยาศาสตร์ ศึกษาดูงาน / ทัศนศึกษา การได้รับการฝึกงานกับนักวิจัยในมหาวิทยาลัยหรือในหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ได้รับการส่งเสริมการทำโครง งานวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี พร้อมทั้งได้รับการส่งเสริม สนับสนุนให้ไปนำเสนอผลงาน ทางวิชาการในระดับจังหวัด ระดับภาคและระดับประเทศ อีกทั้งยังเป็นการเร่งรัดพัฒนาครูให้มีทักษะ และวิธีการสอนทีทันสมัยโดยใช้ เทคโนโลยีใหม่ ๆ สามารถ สอนให้นักเรียนเกิดการคิดวิเคราะห์อย่าเป็นระบบ รู้จักการบริหารจัดการที่ เหมาะสม รู้จักใช้วิธีการบูรณาการ ลดการท่องจำที่สำคัญคือ การให้นักเรียนตระหนัก รู้สึกรัก เห็นคุณค่า และความสำคัญของการเรียน วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ เทคโนโลยีเกิดความมุ่งหวัง ที่จะเป็นนักวิทยาศาสตร์เป็นอาจารย์หรือนักวิจัยเพื่อเป็นกำลังสำคัญของ ชาติต่อไป

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมความสามารถของนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ทั้งระดับมัธยมต้น มัธยมปลาย ให้มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น
2. เพื่อพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมความสามารถของนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ทั้งระดับมัธยมต้น มัธยมปลาย มีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบคิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล
3. เพื่อพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมความสามารถของนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ทั้งระดับมัธยมต้น มัธยมปลาย ให้มีความรู้และทักษะพื้นฐานที่จำเป็นตามหลักสูตร
4. เพื่อพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมความสามารถของนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ทั้งระดับมัธยมต้น มัธยมปลาย ให้มีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต
5. เพื่อให้ผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างโรงเรียนในกลุ่มภาคกลางตอนล่าง เข้าร่วมกิจกรรมปฐมนิเทศระหว่างโรงเรียนในกลุ่มภาคกลางตอนล่าง เข้าร่วมกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ในประเทศหรือต่างประเทศ
6. ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ร้อยละ 90 ของผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีพื้นฐานความรู้เพิ่มมากขึ้นและมีความพร้อมในการเข้าเรียนห้องเรียนพิเศษ
2. ร้อยละ 90 ของผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ทุกรายวิชาในระดับดีขึ้นไปตามจุดเน้นของสถานศึกษา
3. ร้อยละ 90 ของผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจในกิจกรรมพิเศษของนักเรียนห้องเรียนพิเศษและทักษะทางวิทยาศาสตร์
4. ร้อยละ 90 ของผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมเผยแพร่นำเสนอผลงานโครงงานแข่งขันกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ทั้งในโรงเรียนและมหาวิทยาลัย
5. ร้อยละ 90 ของผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจและทักษะปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์จนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ทุกรายวิชาในระดับดีสูงขึ้น
6. ร้อยละ90 ของผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่เข้าค่ายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำวิจัยทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์จนสามารถทำวิจัยได้
  เชิงคุณภาพ
    1. ผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีพื้นฐานความรู้เพิ่มมากขึ้นและมีความพร้อมในการเข้าเรียนห้องเรียนพิเศษ
2. ผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ทุกรายวิชาในระดับดีขึ้นไปตามจุดเน้นของสถานศึกษา
3. ผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจในกิจกรรมพิเศษของนักเรียนห้องเรียนพิเศษและทักษะทางวิทยาศาสตร์
4. ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมเผยแพร่นำเสนอผลงานโครงงานแข่งขันกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ทั้งในโรงเรียนและมหาวิทยาลัย
5. ผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจและทักษะปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์จนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ทุกรายวิชาในระดับดีสูงขึ้น

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมแข่งขันฟิสิกส์สัปประยุทธ์
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดกิจกรรมสานสัมพันธ์พี่รักน้องนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
  ชั้นสรุป 1. ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถาม
2. รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 30000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ -โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ ครูเกรียงไกร จันหอม
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมสานสัมพันธ์พี่รักน้องนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดกิจกรรมสานสัมพันธ์พี่รักน้องนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
  ชั้นสรุป 1. ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถาม
2. รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 25000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะการวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ ครูเกรียงไกร จันหอม
    กิจกรรมที่ 3    กิจกรรมจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์และสารเคมีห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ปรึกษาการจัดกิจกรรม
2. สำรวจตรวจสอบวัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี ที่ต้องใช้ในแต่ละกิจกรรม
3. จัดงบประมาณในการดำเนินงานของแต่ละกิจกรรม
4. กำหนดผู้รับผิดชอบกิจกรรม
  ขั้นดำเนินการ 1. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ สารเคมี
2. ตรวจรับ
3. ครูนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนทุกรายวิชาทุกชั้นปี ทั้งภาคเรียนที่ 1 และ 2
4. นักเรียนนำไปใช้ในการทำวิจัย
  ชั้นสรุป 1. ครูบันทึกพฤติกรรมการเรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะ สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์หลังแผนการจัดการเรียนรู้
2. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายงานผลการจัดการเรียนการสอน ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ผลการพัฒนา
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 60000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ ครูเกรียงไกร จันหอม
    กิจกรรมที่ 4    กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์เชิงปฏิบัติการแบบบูรณาการของนักเรียนห้องเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง / ติดต่อวิทยากร
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดค่ายวิทยาศาสตร์เชิงปฏิบัติการแบบบูรณาการของนักเรียนห้องเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
  ชั้นสรุป 1. ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถาม
2. รายงานผลการดำเนินการจัดค่าย
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 260000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ จันทบุรี
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ ครูเกรียงไกร จันหอม
    กิจกรรมที่ 5    กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์เชิงปฏิบัติการแบบบูรณาการของนักเรียนห้องเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง / ติดต่อวิทยากร
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดค่ายวิทยาศาสตร์เชิงปฏิบัติการแบบบูรณาการของนักเรียนห้องเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
  ชั้นสรุป 1. ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถาม
2. รายงานผลการดำเนินการจัดค่าย
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 290000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ ครูเกรียงไกร จันหอม
    กิจกรรมที่ 6    กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา และดาราศาสตร์นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดกิจกรรมกิจกรรมปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา และดาราศาสตร์นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
  ชั้นสรุป 1. ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถาม
2. ประเมินผลสัมฤทธิ์ จากการสังเกตการปฏิบัติงาน คะแนนจากแบบฝึกและใบงาน
3. รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 80000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ ครูเกรียงไกร จันหอม
    กิจกรรมที่ 7    กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ด้วยภาษาอังกฤษเสริมนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง / ติดต่อวิทยากร
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดค่ายวิทยาศาสตร์ด้วยภาษาอังกฤษเสริมนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
  ชั้นสรุป 1. ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถาม
2. ประเมินผลสัมฤทธิ์ จากการสังเกตการปฏิบัติงาน คะแนนจากแบบฝึกและใบงาน
3. รายงานผลการดำเนินการจัดค่าย
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 20000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ ครูเกรียงไกร จันหอม
    กิจกรรมที่ 8    กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ด้วยภาษาอังกฤษเสริมนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง / ติดต่อวิทยากร
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดค่ายวิทยาศาสตร์ด้วยภาษาอังกฤษเสริมนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
  ชั้นสรุป 1. ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถาม
2. ประเมินผลสัมฤทธิ์ จากการสังเกตการปฏิบัติงาน คะแนนจากแบบฝึกและใบงาน
3. รายงานผลการดำเนินการจัดค่าย
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 20000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ ครูเกรียงไกร จันหอม
    กิจกรรมที่ 9    กิจกรรมปฐมนิเทศนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดกิจกรรมปฐมนิเทศนักเรียนชั้นมัธยมศึกาาปีที่ 4 ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
  ชั้นสรุป 1. ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถาม
2. รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 10000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ ครูเกรียงไกร จันหอม
    กิจกรรมที่ 10    กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์กลุ่มภาคกลางตอนล่าง
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์กลุ่มภาคกลางตอนล่าง
  ชั้นสรุป 1. ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถาม
2. รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 20000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ -
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ ครูเกรียงไกร จันหอม
    กิจกรรมที่ 11    นำเสนอโครงงานเชิงวิจัยนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯ
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดกิจกรรมนำเสนอโครงงานเชิงวิจัยนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯ
  ชั้นสรุป 1. ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถาม
2. รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 211840 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ ครูเกรียงไกร จันหอม

   รวม 11 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 1,026,840.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 1,026,840.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
-
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯมีความรู้ความเข้าใจ และ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

 

 

รหัสโครงการ 1-01-13
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานจัดการเรียนการสอน
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 3. การพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อที่ 1. พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
มาตรฐานการศึกษา
นโยบายโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ รักประชาธิปไตย ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม ศึกษาต่อ มีงานทำ มีความภูมิใจในสถาบันดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ข้อที่ 2. ส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการและการเรียนรู้ภาษาที่สอง โดยเน้นการจัดการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูจิรนันท์ ฮวยแหยม

1. หลักการและเหตุผล

          

กรณีต้องการย่อหน้าที่ 2

หลักสูตรสถานศึกษาเป็นแบบแผน แนวทางหรือข้อกำหนดของการจัดการศึกษา ที่จะพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ มีความสามารถ โดยส่งเสริมให้แต่ละบุคคลพัฒนาไปสู่ศักยภาพสูงสุดของตนรวมถึงระดับขั้นของมวลประสบการณ์ที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้สะสม ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนนำความรู้ไปสู่การปฏิบัติได้ประสบการณ์สำเร็จในการเรียนรู้ด้วยตนเอง รู้จักตนเอง มีชีวิตอยู่ในโรงเรียน ชุมชน สังคม และโลกอย่างมีความสุข ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งเป็นหลักสูตรแกนกลางให้สถานศึกษานำไปจัดทำสาระ ให้สอดคล้องกับสภาพความต้องการของท้องถิ่นและของผู้เรียน หลังจากที่ได้มีการนำหลักสูตรไปใช้ระยะหนึ่งแล้ว จำเป็นต้องมีการปรับปรุงพัฒนาให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยีสารสนเทศ และ ทักษะการเรียนรู้ที่จำเป็นของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 เพื่อให้ผู้เรียนรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงและเข้าถึงความรู้เทคโนโลยีที่ทันสมัยและเหมาะสม การพัฒนาหลักสูตร เป็นกระบวนการที่ต้องอาศัยการทำงานอย่างต่อเนื่องและต้องคำนึงถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตามกาลเวลา จะกระทำทุกครั้งเมื่อสังคมมีสิ่งหนึ่งสิ่งใดเปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะสิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปนั้นจะทำให้ผู้เรียนได้เพิ่มพูนประสบการณ์ขึ้นมาใหม่ และพร้อมที่จะนำประสบการณ์และความรู้ที่เกิดขึ้นมานั้น ไปพัฒนาตนและสังคมให้เจริญงอกงามยิ่งขึ้น โรงเรียนตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงจัดทำโครงการ ปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร เพื่อดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ในการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงหลักสูตรที่ใช้อยู่เดิมให้มีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาวะการเปลี่ยนแปลงทางสภาพสังคมวัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมืองและการปกครองภายในท้องถิ่นและภายในประเทศ โดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. ให้ครูผู้สอนมีความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถในการพัฒนาหลักสูตรและสามารถนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษาที่เหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่นและเทียบเคียงกับมาตรฐานสากล

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ครูร้อยละ 100 มีความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถในการพัฒนาหลักสูตรและสามารถ จัดทำหลักสูตรของกลุ่มสาระการเรียนรู้ครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่นและเทียบเคียงกับมาตรฐานสากล
  เชิงคุณภาพ
    1. ครูผู้สอนมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรและสามารถนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพระดับดีเลิศ
2. สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษาให้เหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่นและเทียบเคียงกับมาตรฐานสากล ในระดับดีเลิศ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
  ขั้นเตรียมการ 1. ศึกษานโยบายของโรงเรียน เขตพื้นที่การศึกษาและสพฐ.ในส่วนที่เกี่ยวข้อง กับโครงการฯ
2. ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา
3. ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการฯ
4. จัดทำโครงการฯ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร
  ขั้นดำเนินการ 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการฯ และมอบหมายภาระงาน
2. จัดประชุมปฏิบัติการทบทวน ปรับปรุง พัฒนาหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนรู้ 3. ดำเนินงานตามโครงการฯ
  ชั้นสรุป 1. สรุปประเมินโครงการฯ
2. จัดทำรายงานโครงการฯ นำเสนอฝ่ายบริหาร
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 15000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ หัวหน้างานพัฒนาหลักสูตร และ คณะ

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 15,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 15,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
วิชาการ/งานพัฒนาหลักสูตร
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ครูมี ความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถในการพัฒนาหลักสูตรและสามารถนำความรู้ไปใช้ในจัดการเรียนการสอนด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายตอบสนองความต้องการของผู้เรียนและชุมชนได้อย่างมีคุณภาพ
2. โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม มีหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน ตลอดจนความต้องการของท้องถิ่น

 

 

รหัสโครงการ 1-05-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานการจัดระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ชื่อโครงการ งานส่งเสริมและพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 4. การพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
ประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 1.1. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
ข้อที่ 1.2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
ข้อที่ 3. กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
นโยบายโรงเรียน ข้อที่ 5. ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรโรงเรียน โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ข้อที่ 6. มุ่งเน้นการร่วมคิดร่วมทำ ร่วมรับผิดชอบ ระหว่างบุคลากรของโรงเรียน ชุมชนและผู้เกี่ยวข้องในการใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างคุ้มค่าเพื่อพัฒนาโรงเรียน สร้างศรัทธาต่อชุมชน ร่วมมือจัดกิจกรรมของชุมชนที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและร่วมอนุรักษ์ฯ
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูธวัชชัย วิเศษสิงห์

1. หลักการและเหตุผล

           การพัฒนาคุณภาพการศึกษานับเป็นหัวใจของการบริหารและการจัดการศึกษาในสถานศึกษาที่มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มี ศักยภาพในการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเป็นคนเก่ง เป็นคนดี มีความสุขสามารถดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง มีความสุขตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ดังนั้นสถานศึกษาจึงให้ความสำคัญกับการพัฒนาศักยภาพทางการศึกษาของผู้ เรียน ผู้เรียนต้องได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพตามที่พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 และที่แก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่3) พ.ศ. 2553 ได้เน้นเรื่องการประกันคุณภาพทางการศึกษา ด้วยเหตุผลนี้การยกระดับมาตรฐานการ ศึกษาภายในสถานศึกษา สถานศึกษาจึงจัดให้มีระบบประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งประกอบด้วยการควบคุมคุณภาพการ ศึกษา การตรวจสอบ/ทบทวนและปรับปรุงคุณภาพ นอกจากนี้ให้มีการประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษา และมี การรับรองคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และสอดคล้องกับมาตรฐาน การศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานพ.ศ. 2544 โดยคำนึงถึงกลไกและสภาพแวดล้อมของสถาน ศึกษาที่จะช่วยส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการพัฒนาอย่างเต็มที่ ทั้งนี้ให้ถือว่าการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถาน ศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารและการจัดการศึกษาที่ต้องดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ครูและบุคลากรทาง ศึกษามีการบริหารและการจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ และประสบความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาของชาติ

จากผลการประเมินคุณภาพการศึกษาจากสำนักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาที่ผ่านมาทั้งสามครั้ง จึงจำเป็นที่สถานศึกษาจะต้องพัฒนาโครงการประกัน คุณภาพภายในโรงเรียนขึ้น เพื่อดำเนินการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการศึกษาและเตรียมความพร้อมในการรองรับการ ประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สี่และเพื่อให้เห็นผลการดำเนินการที่ชัดเจน และนำมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาให้ได้มาตรฐานตามที่กำหนด และเพื่อผลักดัน ให้สถานศึกษาแสดงความรับผิดชอบในการจัดการจัดการศึกษา เกิดการร่วมคิดร่วมทำระหว่างสำนักงานเขตพื้นที่การ ศึกษา สถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ตลอดจนผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อให้สถานศึกษามีคุณภาพตาม มาตรการศึกษาดังกล่าว และมีระบบการประกันคุณภาพภายในที่เข็มแข็งพร้อมรับการประเมินภายนอกรอบที่สี่ ด้วยความ จำเป็นดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

กรณีต้องการย่อหน้าที่ 2

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อให้สถานศึกษาจัดวางระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนอย่างเป็นรูปธรรม มีขั้นตอนอย่างชัดเจน และมีความเป็นไปได้ในการปฏิบัติ
2. เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายให้ความร่วมมือในการวางระบบและดำเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาเป็นอย่างดี
3.เพื่อให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน/ท้องถิ่น และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความมั่นใจต่อระบบการบริหารและการจัดการของสถานศึกษาในระดับสูง

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. คณะครูและบุคลากรร้อยละ 95 มีส่วนร่วมในการประชุมเชิงปฏิบัติการการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2562 1 ครั้ง
2. คณะครูและบุคลากรร้อยละ 95 มีส่วนร่วมในการติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาจากหน่วยงานต้นสังกัดประจำปีการศึกษา 2562 1 ครั้ง
3.โรงเรียนมีรายงานการประเมินตนเองปีการศึกษา 2562 จำนวน 180 เล่ม
  เชิงคุณภาพ
    1. โรงเรียนมีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาอยู่ในระดับดีเยี่ยม
2. โรงเรียนมีการติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาอยู่ในระดับดีเยี่ยม
3.โรงเรียนนำผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใช้วางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่องอยู่ในระดับดีเยี่ยม
4.โรงเรียนจัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายในอยู่ในระดับดีเยี่ยม
5.ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่าย มีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 อยู่ในระดับดีเยี่ยม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/3/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    ประชุมปฏิบัติการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
  ขั้นเตรียมการ ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน
  ขั้นดำเนินการ ประชุมปฏิบัติการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
  ชั้นสรุป สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 1000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 11/9/2562     ถึงวันที่ 11/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ ครูสรินยาและคณะ
    กิจกรรมที่ 2    จัดทำรายงานการประเมินตนเอง ประจำปีการศึกษา 2562
  ขั้นเตรียมการ ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน
  ขั้นดำเนินการ จัดทำรายงานการประเมินตนเอง ประจำปีการศึกษา 2562
  ชั้นสรุป สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 1500 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/3/2563
  ผู้รับผิดชอบ ครูสรินยาและคณะ
    กิจกรรมที่ 3    วางแผนการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน
  ขั้นเตรียมการ ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินการวางแผนการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน
  ชั้นสรุป สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 500 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/3/2563
  ผู้รับผิดชอบ ครูสรินยาและคณะ
    กิจกรรมที่ 4    เตรียมรับการประเมินจากต้นสังกัด
  ขั้นเตรียมการ ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน
  ขั้นดำเนินการ เตรียมรับการประเมินจากต้นสังกัดและบุคคลภายนอก
  ชั้นสรุป สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 20000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ ครูสรินยาและคณะ

   รวม 4 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 23,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 23,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
โรงเรียนมีการบริหารงานอย่างเป็นระบบครบวงจร มีการพัฒนาบุคลากรครู ผู้เรียน การจัดการเรียนรู้ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อคุณภาพผู้เรียนเป็นสำคัญ

 

 

รหัสโครงการ 1-10-6
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน โครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล
ชื่อโครงการ พัฒนาคุณภาพโรงเรียนมาตรฐานสากล
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 1. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข้อที่ 3. การพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ข้อที่ 4. การพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
ประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อที่ 1. พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
ข้อที่ 2. ผลิต พัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 3. กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ข้อที่ 2. กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา
นโยบายโรงเรียน ข้อที่ 2. ส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการและการเรียนรู้ภาษาที่สอง โดยเน้นการจัดการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
ข้อที่ 4. เชิดชูความดีของนักเรียน ครู ชุมชนที่ดีต่อโรงเรียน พัฒนาบุคลากรให้มีประสิทธิผลและบังเกิดประสิทธิภาพ
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูธวัชชัย วิเศษสิงห์

1. หลักการและเหตุผล

          

กรณีต้องการย่อหน้าที่ 2

กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ได้ดำเนินงาน โครงการโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล เพื่อยกระดับคุณภาพโรงเรียนให้มีการจัดการเรียนการสอนและการ บริหารระบบคุณภาพ (Quality System Management) มุ่งให้ ผู้เรียนมี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เทียบเคียงมาตรฐานสากล (World Class Standard) มีศักยภาพเป็นพลโลก (World Citizen) โรงเรียน ท่ามะกาวิทยาคม เห็นความสำคัญและมีความตระหนัก ที่จะ พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ ที่เอื้ออำนวย ให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ ด้วยตัวเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต มีนิสัยใฝ่ เรียนรู้ มีความสามารถคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา คิดริเริ่ม สร้างสรรค์ มีคุณธรรมจริยธรรม รัก ความเป็นไทย และมีความสามารถ ก้าว ไกลในระดับสากล สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลที่ ประกาศให้ประเทศไทยพร้อมเปิดประตูสู่ ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ในปี 2558 จึงพัฒนาการจัดการเรียนการสอน สาระการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study) IS1- IS3 จากการประเมินผลกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนสาระการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study) IS1- IS3 ในปี การศึกษาที่ผ่านมาพบว่านักเรียนมีทักษะในการสื่อสารและนำเสนอในระดับต้อง ปรับปรุง งานโรงเรียนมาตรฐาน สากลจึงจัดทำ โครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล นี้ขึ้น โดยได้น้อมนำหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพล อดุลยเดช มาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อพัฒนาโรงเรียนมาตรฐานสากล
2. เพื่อส่งเสริมทักษะในการสื่อสารและนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าของนักเรียน
3. โรงเรียนมีการบริหารจัดการระบบคุณภาพ มีหลักสูตรและจัดการเรียนรู้เทียบเคียงมาตรฐานสากล

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนที่เรียนวิชา IS ทุกคนได้การส่งเสริมทักษะในการสื่อสารและนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
2. นักเรียนร้อยละ 85 มีทักษะในการสื่อสารและนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าได้ดีขึ้น
3. ครูโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมหน่วยงานย่อยทุกหน่วยงาน
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนที่เรียนวิชา IS ทุกคนได้การส่งเสริมให้มีทักษะในการสื่อสารและนำเสนอผลการศึกษา ค้นคว้าและสามารถนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าได้ดีขึ้น
2.ครูทุกคนมีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพทุกหน่วยงานในโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมการบริหารจัดการเชิงระบบ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมการจัดเวทีนำเสนอ
  ขั้นเตรียมการ - ประชุมคณะทำงาน - จัดทำแผนปฏิบัติงาน
  ขั้นดำเนินการ -จัดกิจกรรมตามแผนปฏิบัติงานที่กำหนด -นิเทศติดตามการปฏิบัติงานในทุกกิจกรรมตามแผนปฏิบัติงานที่กำหนด
  ชั้นสรุป ประเมินผลการปฏิบัติงานโดยใช้แบบสอบถามและแบบประเมิน - รายงานผลการปฏิบัติงานและนำข้อมูลมาปรับปรุงพัฒนางานต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ ครูธวัชชัย วิเศษสิงห์
    กิจกรรมที่ 2    การอบรมความรู้งานโรงเรียนมาตรฐานสากล
  ขั้นเตรียมการ -ประชุมครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผน ดำเนินงาน -เขียนโครงการและเสนอขออนุมัติกิจกรรม
  ขั้นดำเนินการ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานรับผิดชอบ - อบรมงานโรงเรียนมาตรฐานสากลเพื่อรองรับการประเมิน OBECQA
  ชั้นสรุป 1. ประเมินผลการดำเนินงานของโรงเรียนบุคลากรที่เข้ารับการอบรม 2. ประเมินความพึงพอใจของครูที่เข้ารับการอบรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/11/2562     ถึงวันที่ 16/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ ครูธวัชชัย วิเศษสิงห์

   รวม 2 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม 2 ผู้บริหาร คณะครู บุคลากร และนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม 3 คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้แทนชุมชนและผู้ปกครอง
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
โรงเรียนมีการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนมาตรฐานสากล และมีการกำกับ ติดตามอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง

 

 

รหัสโครงการ 1-04-4
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานทะเบียนนักเรียน
ชื่อโครงการ พัฒนางานทะเบียนวัดผล
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูเชลงศักดิ์ ศักดิ์สิทธิวงศ์

1. หลักการและเหตุผล

           จากแผนกลยุทธ์ ประจำปีงบประมาณ 2560 ของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ได้กำหนดเป้าประสงค์ไว้ 6 ข้อ และกลยุทธ์ 5 ข้อ เพื่อ สนับสนุน เป้าประสงค์และกลยุทธ์ของโรงเรียน งานทะเบียน-วัดผล ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบด้านการวัดผลและประเมิน ผล จึงได้ดำเนินตาม นโยบายของโรงเรียนเพื่อ ให้บรรลุเป้าประสงค์ โดยงานที่ต้องเร่งพัฒนาและทำได้แก่การเก็บรวบรวม ข้อมูล การวิเคราะห์ และนำเสนอ ข้อมูลสารสนเทศในสื่อเทคโนโลยีและสื่อ ต่างๆ ให้นักเรียน–ครู–ผู้ปกครอง ทราบถึง สารสนเทศ,ข้อมูลและแนวทางการพัฒนาการเรียน ของนักเรียน ร่วมกันกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนการ จัดทำเครื่องมือ ที่บ่งชี้ผลการเรียนของนักเรียน อย่างเป็นระบบ ถูกต้อง ตรวจสอบ ได้ และเผยแพร่ต่อไปสู่ชุมชน โดยอาศัยเทคโนโลยี สารสนเทศเป็น เครื่องมือในการทำงาน

กรณีต้องการย่อหน้าที่ 2

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อให้มีการจัดระบบการบันทึก การรายงานผล และการส่งต่อข้อมูลของผู้เรียน
2. เพื่อให้ผู้เรียนมีเอกสารสำคัญแสดงวุฒิการศึกษา เพื่อการศึกษาต่อหรือทำงาน

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนทุกคนมีเอกสารที่ใช้ในการศึกษาต่อ หรือสมัครงาน
2. นักเรียนทุกคนมีเอกสารสำคัญที่แสดงความรู้/วุฒิการศึกษา
  เชิงคุณภาพ
    1. มีข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาที่สมบูรณ์แบบ
2. มีการจัดกระทำข้อมูลสารสนเทศที่รวดเร็วและถูกต้อง

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 11/9/2562          ถึงวันที่ : 10/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    โครงการพัฒนางานทะเบียนวัดผล
  ขั้นเตรียมการ สำรวจวัสดุที่ต้องการใช้
  ขั้นดำเนินการ จัดซ์้อวัสดุและอุปกรณ์
  ชั้นสรุป ประเมินการใช้งาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 44800 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ห้องทะเบียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 11/9/2562     ถึงวันที่ 11/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นายเชลงศักดิ์ ศักดิ์สิทธิวงศ์

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 44,800.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 44,800.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ฝ่ายวิชาการ
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนทุกคนมีเอกสารแสดงวุฒิการศึกษาครบถ้วนถูกต้อง

 

 

รหัสโครงการ 1-01-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานจัดการเรียนการสอน
ชื่อโครงการ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 1. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 1.1. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
นโยบายโรงเรียน
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูนิติยา จันทะสี

1. หลักการและเหตุผล

           ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่3 (2553)หมวด 4แนว การจัดการศึกษา มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียน มีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพในช่วงทศวรรษที่ ผ่านมากระ แส ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในสังคมโลก ส่งผลให้ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มี เทคโนโลยี ใหม่ๆเกิดขึ้นมากมาย เครื่องมือเครื่องใช้ทันสมัย การเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสารไร้พรมแดน นวัตกรรมเทคโนโลยี ส่ง ผลต่อ ความจำเป็น ในการเปลี่ยนแปลงและปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาของชาติมาโดยตลอด และการจัดการศึกษาในปัจจุบัน มุ่งจัดการเรียน การสอน และกิจกรรมที่ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเรียนรู้ของสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ซึ่ง เป็นหัวใจสำคัญใน การพัฒนา ประเทศ และถือเป็นหน้าที่ที่จะต้องจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนทุกคนสามารถ พัฒนาตนเองได้เต็มตาม ศักยภาพ ฝึก ให้นักเรียนได้ใช้ทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คาดการณ์ กำหนดเป้าหมาย มี วิจารณญาณในการตัดสินใจ และ การแก้ปัญหา มีทักษะการสื่อสาร ตลอดจนทักษะทางสังคม และเพื่อให้สอดคล้องกับ มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานข้อที่ 5 ที่เน้นผู้ เรียนให้มีความ รู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร เน้นให้ผู้เรียนมีผลการทดสอบ รวบยอดระดับชาติเฉลี่ยเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด กลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ตระหนักถึง ความสำคัญและเล็งเห็นถึงประโยชน์อันจะ เกิดต่อผู้เรียนและ สถานศึกษา จึงจัดทำโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ขึ้นมา เพื่อ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชา วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1-6 และผลการทดสอบระดับชาติของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้น มัธยมศึกษา ปีที่ 6 ให้สูงขึ้นเพื่อตอบสนองต่อกลยุทธ์ หลักของโรงเรียนและมาตรฐานการศึกษาขั้น พื้นฐานโดยน้อมนำหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจ พอเพียงของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมาเป็นแนวทางในการ ดำเนินงาน 2

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อพัฒนาและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ให้สูงขึ้น
2. เพื่อให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ มัธยมศึกษาปีที่ 6 มีผลการทดสอบระดับชาติ (O-net) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานระดับชาติ

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ร้อยละ 65 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ผ่านเกณฑ์ในระดับดี
2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ร้อยละ 50 มีผลการทดสอบระดับชาติ (O-net) เป็นไปตามเกณฑ์
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา วิทยาศาสตร์สูงขึ้น
2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีผลการทดสอบระดับชาติ (O-net) วิชาวิทยาศาสตร์ผ่านเกณฑ์ระดับประเทศ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมติวเพิ่มศักยภาพนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
  ขั้นเตรียมการ 1.ประชุมกลุ่มสาระฯ แจ้งนโยบาย ร่วมกันแลกเปลี่ยน เรียนรู้ เสนอแนะ วิธีการติว และวิธีการสร้างสื่อ นวัตกรรม หลักเกณฑ์การฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์
2.ครูในกลุ่มสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร์วางแผนและจัดทำเอกสารประกอบการติวผลิตสื่อ
  ขั้นดำเนินการ 1.เปิดโครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ศักยภาพครูผู้รับผิดชอบดำเนินการพัฒนาตามแผน
2.ดำเนินการติวพัฒนาศักยภาพนักเรียน
  ชั้นสรุป นำผลการประเมิน การติวเพิ่มศักยภาพด้วยแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนักเรียนชั้มมัธยมศึกษาปีที่ 3 และมัธยมศึกษาปีที่ 6 และผลการทดสอบระดับชาติ (O-net) นักเรียนชั้มมัธยมศึกษาปีที่ 3 และมัธยมศึกษาปีที่ 6 มาปรับปรุงกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ ครูเกรียงไกร จันหอม
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมประเมินแบบเพิ่มค่า
  ขั้นเตรียมการ 1.ประชุมกลุ่มสาระฯ แจ้งนโยบาย ร่วมกันแลกเปลี่ยน เรียนรู้ เสนอแนะ วิธีการติว และวิธีการสร้างสื่อ นวัตกรรม หลักเกณฑ์การฝึกทักษะทาง วิทยาศาสตร์ 2.ครูในกลุ่มสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร์วางแผนและจัดทำเอกสารประกอบการประเมิน 3.หัวหน้ากลุ่มสาระฯ เสนอโครงการ
  ขั้นดำเนินการ ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ดำเนินการประเมินแบบเพิ่มค่า
  ชั้นสรุป นำกิจกรรมที่ปรับปรุงแล้วใช้เป็นต้นแบบของโครงการต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ ครูเกรียงไกร จันหอม

   รวม 2 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ร้อยละ 65 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์สูงขึ้น
2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ร้อยละ 50 มีผลการทดสอบระดับชาติ (O-net) เป็นไปตามเกณฑ์

 

 

รหัสโครงการ 1-06-4
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานนิเทศการศึกษา
ชื่อโครงการ งานนิเทศการศึกษา
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูนิชนันท์ จันหอม

1. หลักการและเหตุผล

          

กรณีต้องการย่อหน้าที่ 2

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 (แก้ไขเพิ่มเติม 2545) มาตรา 30 ให้สถานศึกษา พัฒนากระบวนการ เรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการส่งเสริมให้ผู้สอนพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละระดับการ ศึกษา ประกอบกับการปฏิรูปการศึกษา รอบสองมีองค์ประกอบหลักของการปฏิรูปการศึกษา คือ การปฏิรูปหลักสูตร การปฏิรูป กระบวนการเรียนการสอน การปฏิรูปครูและบุคลากรทางการศึกษา และการปฏิรูปการบริหารและการจัดการศึกษา งานการ นิเทศการ ศึกษามีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงในการนิเทศครูเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ จากการประเมินผลกิจกรรมการนิเทศแบบกัลยาณมิตรพบว่าครูมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมในภาพรวมในระดับดีและได้ เสนอแนะว่าควรมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครูเป็นประจำเพื่อทำให้เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างครูและเกิดการเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพขึ้น งานการนิเทศการศึกษาจึงจัดทำโครงการนิเทศภายในสถานศึกษานี้ขึ้น โดยได้น้อมนำหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อพัฒนาโรงเรียนให้มีการนิเทศ ติดตาม โดยใช้วิธีการที่หลากหลาย มีแผนการนิเทศ ติดตามกำกับอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง
2. เพื่อนำผลการนิเทศมาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ครูทุกคนได้รับการนิเทศร้อยละ 100
2. ครูร้อยละ 85 พัฒนาการสอนได้ดีขึ้น
  เชิงคุณภาพ
    1. ครูทุกคนได้รับการนิเทศ
2. ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรและสอดคล้องกับแผนการ จัดการเรียนการสอนอีกทั้งนักเรียนยังมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเป้าหมายที่โรงเรียนกำหนด

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    นิเทศแบบกัลยาณมิตร
  ขั้นเตรียมการ - ประชุมคณะทำงาน - จัดทำแผนปฏิบัติงาน
  ขั้นดำเนินการ - นิเทศติดตามการปฏิบัติงานในทุกกิจกรรมตามแผนปฏิบัติงานที่กำหนด
  ชั้นสรุป - ประเมินผลการปฏิบัติงานโดยใช้แบบสอบถามและแบบประเมิน
- รายงานผลการปฏิบัติงานและนำข้อมูลมาปรับปรุงพัฒนางานต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 4000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 10/9/2562     ถึงวันที่ 10/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นางนิชนันท์ จันหอม

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 4,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 4,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
งานนิเทศ ฝ่ายวิชาการ ครู และบุคลากร โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
โรงเรียนมีการนิเทศ ติดตาม โดยใช้วิธีการที่หลากหลาย มีแผนการนิเทศ ติดตามกำกับอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง นำผลการนิเทศมาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน

 

 

รหัสโครงการ 1-01-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานจัดการเรียนการสอน
ชื่อโครงการ โครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูการะเกษ อ่อนแก้ว

1. หลักการและเหตุผล

           ตามที่รัฐบาลได้ประกาศให้การแก้ไขปัญหายาเสพติด เป็นวาระ แห่งชาติ ภายใต้แผนยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๕๕ กำหนดกลยุทธ์ที่สำคัญในการดำเนินงาน ๗ แผน ๔ ปรับ ๓ หลัก ๖ เร่ง โดยมอบหมายให้แต่ละหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับผิด ชอบดำเนินการตามแผนงานตามยุทธศาสตร์ ที่กำหนด ซึ่ง กระทรวง ศึกษาธิการเป็นหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบงานในแผนงานที่ ๓ การ สร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติด (Potential Demand) สถาน ศึกษาในระดับมัธยมศึกษา ได้ถูกกำหนดให้เป็นเป้าหมายในการดำเนิน งานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เนื่องจากมีนักเรียนที่เป็นวัย เสี่ยง เพื่อเป็นการสนับสนุนการดำเนินงานดังกล่าว และขับเคลื่อนการ ดำเนินงานตามนโยบายของกระทรวง ศึกษาธิการ ตามโครงการ สถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข และโครงการห้องเรียนสี ขาว ให้มีความชัดเจน เกิดความเข้ม แข็ง และมีการดำเนินงาน อย่างต่อเนื่องเป็นรูปธรรม โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จึงได้จัดทำโครงการ สถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติด และอบายมุขขึ้น

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อสร้างเครือข่ายนักเรียนแกนนำห้องเรียนสีขาวในการต่อต้านยาเสพติด 2.เตรียมการเพื่อรับการประเมินโรงเรียนสีขาวปี2563

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    3.1.1สร้างนักเรียนแกนนำห้องเรียนสีขาวในการต่อต้านยาเสพติด 3.1.1 ผู้เรียนกลุ่มเสี่ยงทุกคนได้รับการอบรมให้ความรู้และเสริมสร้างทักษะชีวิต 3.1.2 รายงานผลการดำเนินงาน โรงเรียนสีขาว
  เชิงคุณภาพ
    3.1ผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 อยู่ในระดับดี 3.2 สามารถผ่านการประเมินโรงเรียนสีขาว

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    โครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข
  ขั้นเตรียมการ 1.1 ประชุมปรึกษาหารือผู้เกี่ยวข้อง 1.2 จัดทำโครงการเสนอผู้อำนวยการเพื่อขออนุมัติ
  ขั้นดำเนินการ 2.1 ประสานวิทยากร / หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2.2ดำเนินการคัดเลือกนักเรียนแกนนำ 2.3 จัดกิจกรรมตามโครงการที่กำหนด
  ชั้นสรุป สรุปและรายงานผลการดำเนินงานต่อสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๘
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 6800 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางการะเกษ อ่อนแก้ว
    กิจกรรมที่ 2    ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดตามแนวทางโรงเรียนสีขาว
  ขั้นเตรียมการ 1.1 ประชุมปรึกษาหารือผู้เกี่ยวข้อง 1.2 จัดทำโครงการเสนอผู้อำนวยการเพื่อขออนุมัติ
  ขั้นดำเนินการ 2.1 ประสานวิทยากร / หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2.2ดำเนินการคัดเลือกนักเรียนแกนนำ 2.3 จัดกิจกรรมตามโครงการที่กำหนด
  ชั้นสรุป สรุปและรายงานผลการดำเนินงานต่อสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๘
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 14600 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางการะเกษ อ่อนแก้ว

   รวม 2 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 21,400.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 21,400.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
6.1 สำนักงานสาธารณสุขอำเภอท่ามะกา 6.2 ที่ว่าการอำเภอท่ามะกา ุ6.3 โรงพยาบาลมะการักษ์ 6.4 สถานีตำรวจภูธรท่ามะกา 6.5 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 6.6 เทศบาลตำบลท่ามะกา
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
7.1 มีข้อมูลผู้เรียนที่มีความเสี่ยงต่อสารเสพติด และสามารถดำเนินการกำกับติดตาม ดูแลช่วยเหลือส่งต่อนักเรียนที่มีปัญหา เข้ารับการบำบัด 7.2 ผู้เรียนกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการอบรมและมีทักษะชีวิตที่ดีขึ้นและปลอดภัยจากสิ่งเสพติด

 

 

รหัสโครงการ 1-01-4
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานจัดการเรียนการสอน
ชื่อโครงการ รับสมัครนักเรียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูยุวดี พุทสอน

1. หลักการและเหตุผล

           ตามประกาศของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง นโยบายแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการรับนักเรียนสังกัดคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และแนวปฏิบัติการรับนักเรียนของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8 และโดยความเห็นชอบ ของ คณะกรรมการรับนักเรียนของโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และคณะกรรมการรับนักเรียนเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 8 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมตระหนักถึงความสำคัญของการศึกษา จึงได้กำหนดให้มีโครงการรับสมัครนักเรียนเพื่อเข้า ศึกษาต่อใน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 ทั้งห้องเรียนพิเศษและห้องเรียนทั่วไป ในปีการศึกษา 2562 เพื่อให้เป็นไปตามประกาศ นโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการรับนักเรียนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

.1 เพื่อรับนักเรียนเข้าเรียนต่อห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 2.2 เพื่อรับนักเรียนเข้าเรียนต่อห้องเรียนพิเศษ Mini English Program ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2.3 เพื่อรับนักเรียนเข้าเรียนต่อห้องเรียนปกติในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    3.1.1 รับนักเรียนเข้าเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 72 คน และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 30 คน 3.1.2 รับนักเรียนเข้าเรียนต่อห้องเรียนพิเศษ Mini English Program ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 30 คน 3.1.3 รับนักเรียนเข้าเรียนต่อห้องเรียนปกติในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 จำนวน ระดับละ 10 ห้องเรียน
  เชิงคุณภาพ
    โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมได้รับนักเรียนเข้าเรียนต่อตามแผนการเรียนโดยผ่านกระบวนการสอบคัดเลือกและคะแนนจากผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET)

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/1/2563          ถึงวันที่ : 30/4/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    รับสมัครนักเรียน
  ขั้นเตรียมการ 1.ประชุมชี้แจงคณะทำงาน เพื่อเตรียมการดำเนินงาน 2.ประชาสัมพันธ์การรับนักเรียนในระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 ปีการศึกษา 2562 ผ่านทางเวปไซด์โรงเรียนและจัดทำป้ายไวนีล 3. จัดเตรียมเอกสาร วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการรับสมัครนักเรียน
  ขั้นดำเนินการ 1.รับสมัครนักเรียนห้องเรียนพิเศษ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ4 จัดสอบ ประกาศผลสอบและมอบตัว 2.รับสมัครนักเรียนห้องปกติชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ4 จัดสอบ ประกาศผลสอบและมอบตัว
  ชั้นสรุป 1. นิเทศติดตามการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการกำหนด 2.สรุปผลประเมินโครงการ 3.จัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 20000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/1/2563     ถึงวันที่ 30/4/2563
  ผู้รับผิดชอบ ครูยุวดี พุทสอน

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 20,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 20,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม 2 ผู้บริหาร คณะครู โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมได้รับนักเรียนเข้าเรียนต่อตามแผนการเรียนโดยผ่านกระบวนการสอบคัดเลือก และคะแนนจากผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

 

รหัสโครงการ 1-12-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน โครงการสวนพฤกศาสตร์โรงเรียนและสิ่งแวดล้อม
ชื่อโครงการ สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 1. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข้อที่ 3. การพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อที่ 1. พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 3. กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
นโยบายโรงเรียน ข้อที่ 5. ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรโรงเรียน โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ข้อที่ 6. มุ่งเน้นการร่วมคิดร่วมทำ ร่วมรับผิดชอบ ระหว่างบุคลากรของโรงเรียน ชุมชนและผู้เกี่ยวข้องในการใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างคุ้มค่าเพื่อพัฒนาโรงเรียน สร้างศรัทธาต่อชุมชน ร่วมมือจัดกิจกรรมของชุมชนที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและร่วมอนุรักษ์ฯ
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูศรัณย์ภรณ์ เสนาวงศ์

1. หลักการและเหตุผล

           <>กรณีต้องการย่อหน้าที่ 2

ตามที่สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงมีพระ ราชดำริบางประการเกี่ยวกับการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช "การสอนและอบรมให้เด็กมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์พืชพรรณนั้นควรใช้วิธีการปลูกฝัง ให้เด็กเห็นความงดงาม ความน่าสนใจ และเกิด ความปิติที่จะทำการศึกษาและอนุรักษ์พืชพรรณต่อไป การใช้วิธีการสอนการอบรมที่ให้ เกิดความรู้สึกกลัวว่า หากไม่อนุรักษ์แล้วจะเกิด ผลเสีย เกิดอันตรายแก่ตนเอง จะทำให้เด็กเกิดความเครียดซึ่งจะเป็นผลเสียแก่ประเทศ ในระยะยาว " สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน จึงเป็นการดำเนินงานที่อิงรูปแบบของ “สวนพฤกษศาสตร์” โดยมีการรวบรวมพันธุ์ไม้ที่มีชีวิต มีแหล่ง ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับพันธุ์ไม้ มีการศึกษาต่อเนื่อง มีการเก็บตัวอย่างพันธุ์ไม้แห้งพันธุ์ไม้ดอง มีการรวบรวมพันธุ์ไม้ท้องถิ่นเข้ามา ปลูก รวบรวมไว้ในโรงเรียน และภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการบันทึกรายงานและข้อมูล รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับพันธุ์ไม้ มีมุมสำหรับ ศึกษาค้นคว้า และมีการนำไปใช้ประโยชน์เป็นสื่อการเรียนการสอนในวิชาต่างๆ เป็นการดำเนินงานให้สอดคล้องกับสภาพท้องถิ่น ไม่ ฝืน ธรรมชาติ และเป็นไปตามความสนใจและความพร้อมของโรงเรียน ดำเนินการโดยความสมัครใจ ไม่ให้เกิดความเครียด จากพระราชดำริ และพระราโชวาทของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในเรื่องของสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียน ซึ่งมี ความสอดคล้องกับงานปกติในเรื่องของการเรียนการสอน และในเรื่องของการปฏิรูปการศึกษา ซึ่งเน้นให้ผู้เรียนเป็น ศูนย์กลาง ดังนั้น ทางโรงเรียนจึงได้มีการประชุมหารือและเห็นพ้องต้องกันที่จะร่วมสนองพระราชดำริ ดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียน และได้ สมัครเป็นสมาชิกสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ของโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ โดยการ จัดทำโครงการ สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ในปีการศึกษา 2562 เป็นต้นมา

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1.เพื่อสนองพระราชดำริโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ.)
2.เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ผู้เรียนมีความรัก และเห็นคุณค่าของพืชพรรณและทรัพยากร
3.เพื่อให้โรงเรียนเป็นแหล่งรวบรวมตัวอย่างพรรณไม้ ข้อมูลพรรณไม้ และการเก็บรักษา เพื่อประโยชน์ทางการศึกษา และเผยแพร่สู่ภายนอก
4.เพื่อให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชในโรงเรียน
5.เพื่อให้เกิดการเรียนรู้การทำงานร่วมกันและการจัดการอย่างมีระบบ

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1.นักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 และบุคลากรทั้งหมดในโรงเรียนมีส่วนร่วมในการศึกษาพรรณไม้ในบริเวณพื้นที่ศึกษาตลอดจนพืชศึกษา
2.นักเรียนและบุคลากรทุกคนในโรงเรียนสนองพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ.) “งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน”
  เชิงคุณภาพ
    1.นักเรียนและบุคลากรทุกคนมีความรู้ความเข้าใจมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชสนองพระราชดำริ “งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน”
2.ครูออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนในระดับดี

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การอบรมความรู้สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
  ขั้นเตรียมการ - ประชุมครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผน ดำเนินงาน - เขียนโครงการและเสนอขออนุมัติกิจกรรม
  ขั้นดำเนินการ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานรับผิดชอบ - อบรมสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเพื่อรองรับการประเมิน ป้ายพระราชทาน - อบรมและให้ความรู้เกี่ยวกับงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแก่นักเรียน ทุกระดับชั้น - ผู้เรียนศึกษาพรรณไม้จากทะเบียนพรรณไม้
  ชั้นสรุป 1. ประเมินผลการดำเนินงาน - สภาพแวดล้อม - บรรยากาศของงานสวนพฤกษศาสตร์ - บุคลากรและผู้เรียนมีคุณธรรม - ผลการดำเนินงานของโรงเรียนบุคลากรและผู้เรียน 2. ประเมินความคิดเห็นของครูและผู้เรียน ต่อการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 45000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวศรัณย์ภรณ์ เสนาวงศ์
    กิจกรรมที่ 2    การดำเนินงาน 5 องค์ประกอบของงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
  ขั้นเตรียมการ - ประชุมครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผน ออกแบบ และดำเนินงาน 5 องค์ประกอบ
  ขั้นดำเนินการ - กำหนดพื้นที่ศึกษา - เรียนรู้พื้นที่ทั้งหมดของโรงเรียนตามกรรมสิทธิ์ และบริเวณรอบๆ โรงเรียน - กำหนดและแบ่งขอบเขตพื้นที่ภายในโรงเรียนเป็นพื้นที่ย่อยๆ - ทำป้ายแผนผังพรรณไม้และแสดงตำแหน่งพรรณไม้ - ออกแบบป้ายพรรณไม้ และติดป้ายรหัสประจำต้น
  ชั้นสรุป 1. ประเมินผลการดำเนินงาน - สภาพแวดล้อม - บรรยากาศของงานสวนพฤกษศาสตร์ - บุคลากรและผู้เรียนมีคุณธรรม - ผลการดำเนินงานของโรงเรียนบุคลากรและผู้เรียน 2. ประเมินความคิดเห็นของครูและผู้เรียน ต่อการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 20000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวศรัณย์ภรณ์ เสนาวงศ์
    กิจกรรมที่ 3    การสำรวจพรรณไม้ในบริเวณโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ขั้นเตรียมการ - ประชุมครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผน ดำเนินการ - เลือกพื้นที่ศึกษาในการสำรวจพรรณไม้
  ขั้นดำเนินการ - สำรวจพรรณไม้ในพื้นที่ศึกษา - จำแนกชนิดและจำนวนต้นที่พบ บันทึกข้อมูล - จำแนกลักษณะวิสัยพืชที่สำรวจ
  ชั้นสรุป - สรุปจำนวนชนิดและจำนวนต้นไม้ที่พบ - สรุปจำนวนลักษณะวิสัยที่พบ - สรุปรายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 3000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวศรัณย์ภรณ์ เสนาวงศ์
    กิจกรรมที่ 4    รายงานผลการดำเนินงาน
  ขั้นเตรียมการ - รวบรวมข้อมูลจากการศึกษาในแต่ละกิจกรรม
  ขั้นดำเนินการ - บันทึกข้อมูลลงในคอมพิวเตอร์ - จัดทำเล่มและเข้าเล่มรายงาน
  ชั้นสรุป - ประเมินผลการดำเนินงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 5000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวศรัณย์ภรณ์ เสนาวงศ์

   รวม 4 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 73,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 73,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
นักเรียนและบุคลากรทั้งหมดในโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียนและครูมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช 2.นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงจากงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน 3.นักเรียนและบุคลากรทุกคนในโรงเรียนสนองพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ.) “งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน”

 

 

รหัสโครงการ 1-01-6
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานจัดการเรียนการสอน
ชื่อโครงการ งานประเมินผลการปฏิบัติงานด้านบริหารงานบุคคล
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูธนพร เลิศโพธาวัฒนา

1. หลักการและเหตุผล

           1. หลักการและเหตุผล ปัจจัยในการทำให้องค์กรหรือหน่วยงานประสบผลสำเร็จประกอบด้วย 4 ประการ คือ คน เงิน การบริหารจัดการและวัสดุ อุปกรณ์ โรงเรียนถือเป็นหน่วยงานหนึ่งที่ต้องใช้ส่วนประกอบทั้ง 4 ในการที่จะทำให้โรงเรียนประสบผลสำเร็จเป็นที่ยอมรับของผู้ประ ครอง นักเรียน ชุมชน และสังคม จากปัจจัยทั้ง 4 ประการ คนนับว่าเป็นส่วนสำคัญที่สุด เพราะว่า คนจะเป็นผู้ใช้หรือกำกับทุกปัจจัย ดังนั้นหากคนในโรงเรียนมีคุณภาพ ก็ย่อมทำให้โรงเรียนสามารถสามารถที่จะพัฒนาไปตามเป้าหมายที่กำหนดได้อย่างดี การประเมิน คุณภาพการปฏิบัติงานประจำปีของบุคลากร ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งในการที่จะทำให้โรงเรียนทราบถึงการปฏิบัติงานของครูแต่ละคน และเป็น สิ่งที่ส่งเสริมให้บุคลากรมีความมุ่งมั่น ทุ่มเท เสียสละ และรักให้กับโรงเรียน ซึ่งจะส่งผลทำให้โรงเรียนสามารถพัฒนาคุณภาพการเรียน การสอนได้อย่างแท้จริง
ในการดำเนินโครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ จำเป็นต้องมีการประเมินเพื่อให้ทราบผลการดำเนินการว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตัั้งไว้หรือไม่ มีความคุ้มค่าต่อการตัดสินใจในการดำเนินการมากน้อยเพียงใด รวมถึงการศึกษาว่าในการดำเนินการมีปัญหาที่ต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลง หรือแก้ไขในเรื่องใดบ้าง จึงต้องมีการดำเนินการประเมินโครงการ/กิจกรรม ในการดำเนินโครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ การทำงานในงาน ด้านบริหารงานบุคคล ในทุก ๆ ฝ่ายต้องมีการประเมินงานในแต่ละด้าน โดยคณะผู้บริหาร คณะครู นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษา อื่น ๆ เพื่อเป็นการนำข้อบกพร่องในการทำงานของแต่ละฝ่ายมาปรับปรุงแก้ไขต่อไป

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. . เพื่อเป็นแนวทางพัฒนาบุคลากรในโรงเรียนและนำผลการประเมินโครงการหรือกิจกรรมไปใช้ในการตัดสินใจปรับปรุงพัฒนาในอนาคต จะทำให้ปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ผู้บริหาร คณะครู นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษาอื่น จำนวน 2,000 คน ทำแบบประเมินกิจกรรม วิธีการประเมิน
  เชิงคุณภาพ
    1. การทำงานมีประสิทธิภาพดีเยี่ยม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 20/9/2564          ถึงวันที่ : 20/9/2565

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    งานประเมินผลการปฏิบัติงานด้านบริหารงานบุคคล
  ขั้นเตรียมการ 1. ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1) 1.1 ประชุม/จัดทำแบบประเมินให้กับคณะผู้บริหาร คณะครู และนักเรียน 2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2) 2.1 จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
  ขั้นดำเนินการ 3.ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1) 3.1 บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม 3.2 แจกแบบประเมินกิจกรรมต่างๆ ในฝ่ายงานบุคคล 4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2) 4.1 ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม
  ชั้นสรุป 5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1) 5.1 ทำแบบประเมินความพึงพอใจ 5.2 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ 6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2) 6.1 บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินโครงการ 6.2 สรุปรูปเล่มรายงานโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 20/9/2564     ถึงวันที่ 20/10/2564
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวธนพร เลิศโพธาวัฒนา

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ผู้บริหาร คณะครู นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษาอื่น
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.ช่วยให้ได้ข้อมูลที่บ่งบอกถึงการทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น

 

 

รหัสโครงการ 1-02-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
ชื่องาน อาเซียนศึกษา
ลักษณะโครงการ โครงการใหม่
กลยุทธ์
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูขวัญจิตร ยิ่งยวด

1. หลักการและเหตุผล

           <เนิ่องจากในปี พ.ศ.2558 ได้มีการรวมกลุ่มกันจัดตั้งประชาคมอาเซียนขึ้น ซึ่งเป็นกลุ่มความร่วมมือในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ และประเทศไทยเป็นสมาชิกอาเซียน จึงมีการสร้างความตระหนักให้กับประชาชนในประเทศเพื่อพร้อมรับและปรับตัวให้เกิดประโยชน์จาก การรวมกลุ่ม กระทรวงศึกษาธิการจึงมีหน้าที่ในการสร้างความตระหนัก พัฒนาความรู้ ของเยาวชน เพื่อรับการเปลี่ยนแปลงอย่างมี คุณภาพ ดังนั้นจึงเป็นหน้าที่ของกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ ในการประสานงานการจัดทำหลักสูตรบูรณาการอาเซียนขึ้นในสถาน ศึกษา และจัดกิจกรรมต่างๆเพื่อสงเสริมการเรียนรู้ เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนให้เกิดกับบุคลากรในสถานศึกษา> <รวมทั้งพัฒนา หลักสูตรอาเซียนในสถานศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อให้ผู้เรียนมีคถณลักษณะตามค่าเป้าหมายที่กำหนด>

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อพัฒนาหลักสูตรอาเซียน
2. เพื่อร่วมนำเสนอผลงานนักเรียนจากการจัดการเรียนการสอนอาเซียน

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1นักเรียนได้รับการศึกษาอาเซียนศึกษาจากการบูรณาการและการเรียนการสนอโดยตรง.
2.นักเรียนร้อยละ 70 เข้าร่วมชมนิทรรศการอาเซียนในงานสัปดาห์วิชาการ
  เชิงคุณภาพ
    1.นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของการรวมกลุ่มประชาคมอาเซียน
2. มีหลักสูตรบูรณาการอาเซียนที่ใช้จัดการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 11/9/2562          ถึงวันที่ : 10/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    นิทรรศการอาเซียน
  ขั้นเตรียมการ ประชุมวางแผนการจัดงาน มอบหมายงานให้ฝ่ายต่างๆ
  ขั้นดำเนินการ ร่วมจัดนิทรรศการอาเซียนในงานสัปดาห์วิชาการ
  ชั้นสรุป รายงานผลการดำเนินงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 5000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 11/9/2562     ถึงวันที่ 11/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวขวัญจิตร ยิ่งยวด และคณะ
    กิจกรรมที่ 2    พัฒนาหลักสูตรอาเซียน
  ขั้นเตรียมการ ประชุมเพื่อหาแนวทางการพัฒนาหลักสูตรอาเซียน กับงานหลักสูตรสถานศึกษา และหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
  ขั้นดำเนินการ จัดประชุมปฏิบัติการเพื่อร่วมกันพัฒนาหลักสูตรอาเซียน
  ชั้นสรุป รวบรวมหลักสูตรและรายงานผลการจัดการอบรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 5000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 11/9/2562     ถึงวันที่ 11/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวขวัญจิตร ยิ่งยวด และคณะ

   รวม 2 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 10,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 10,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. มีหลักสูตรอาเซียนที่ใช้จัดการเรียนการสอน ทำให้นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการรวมกลุ่มเป็นประชาคมอาเซียน 2. นักเรียนมีความพึงพอใจในนิทรรศการอาเซียนในระดับมาก

 

 

รหัสโครงการ 1-18-4
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาและวัฒนธรรม
ชื่อโครงการ การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูจันทนา ศรีบูจันดี

1. หลักการและเหตุผล

           นโยบายการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2552 ได้ดำเนินนโยบายด้านคุณภาพการศึกษา ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ครูสามารถจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรได้อย่างมี ประสิทธิภาพและให้ความสำคัญกับพื้นฐานและศักยภาพของผู้ เรียน จากผลการประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ. รอบสอง โรงเรียน ท่ามะกาวิทยาคม ได้รับผล การประเมินด้านผู้เรียนมาตรฐานที่ 5 ผู้เรียนมี ความรู้ และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร อยู่ในระดับ พอใช้ เพื่อ ให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของผู้เรียนสูงขึ้น กลุ่มสาระการ เรียนรู้สังคมศึกษาฯ จึง ส่งเสริมให้ครูได้มีความพร้อมในการจัดกิจกรรมเพื่อ พัฒนาผู้เรียนอย่างหลากหลาย เต็มศักยภาพ รู้จักนำ คุณธรรม จริยธรรม และหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้และแสวงหา ความรู้ด้วยตนเอง ซึ่งสอดคล้อง กับวิสัยทัศน์ เป้า หมาย พันธกิจของโรงเรียนและตามเกณฑ์มาตรฐาน ของหลักสูตรขั้นพื้นฐานและ นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินในระดับ พอใช้ (คะแนนเฉลี่ยระดับ 3-4 ของนักเรียนในรายวิชาสังคมฯ 70% ขึ้นไป) โดยยึดหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงกรณีต้องการย่อหน้าที่ 2

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1.เพื่อส่งเสริมให้ครูมีวัสดุอุปกรณ์ เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการจัดการเรียนการสอน ข้อความ.... 2.เพื่อให้กลุ่มสาระสังคมศึกษาฯ มีตารางเรียนที่เหมาะสมกับจำนวนและความสามารถของบุคลากร

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1.ครูร้อยละ 95 สามารถปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล 2.นักเรียนร้อยละ 70 ได้ระดับผลการเรียน 3-4ข้อความ.......
  เชิงคุณภาพ
    1.ครูมีวัสดุอุปกรณ์ สื่อเทคโนโลยีที่เพียงพอและพร้อมใช้งาน

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 10/9/2562          ถึงวันที่ : 9/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
  ขั้นเตรียมการ สำรวจความต้องการ
  ขั้นดำเนินการ จัดหาสื่อ วัสดุอุปกรณ์
  ชั้นสรุป ติดตามและประเมินผล
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 15000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ศูนย์สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 10/9/2562     ถึงวันที่ 10/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นางจันทนา ศรีบูจันดี

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 15,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 15,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ

 

 

รหัสโครงการ 1-01-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานจัดการเรียนการสอน
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒธะรม
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 1. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 1.1. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
ข้อที่ 3. กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
นโยบายโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ รักประชาธิปไตย ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม ศึกษาต่อ มีงานทำ มีความภูมิใจในสถาบันดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูจันทนา ศรีบูจันดี

1. หลักการและเหตุผล

           ด้วยหลักสูตรในยุคปัจจุบันมุ่งเน้นให้ครูผู้สอนจันกิจกรรมการเรียนการสอนที่ทันสมัย ด้วยการใช้สื่อ ICT เพื่อในนักเรียนได้เกิดกระบวนการ เรียนรู้ด้วยตนด้วยเอง จาก ภาพ วิดืโอ และเหตุการณ์ในยุคปัจจุบัน อย่างรวดเร็ว ฉะนั้นสื่อ อุปกรณ์ที่ จำเป็นอย่างยิ่งในการจักกิจกรรมการเรียนรู้ อาทิเช่น เครื่องฉายโปเจ็กเตอร์ คอมพิวเตอร์ เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีี

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1.เพื่อจัดหาสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 2.เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนให้ดียิ่งขึ้น

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อ วัสดุอุปกรณ์ เทคโนโลยีให้ดียิ่งขึ้น 2. เพื่อให้นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาสาระมากยิ่งขึ้น
  เชิงคุณภาพ
    1. กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมมีสื่อ วัสดุอุปกรณ์ที่ ครบและทันสมัย 2.

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 10/9/2562          ถึงวันที่ : 9/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    จัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยสื่อเทคโนโลยี
  ขั้นเตรียมการ สำรวจความต้องการสื่อ วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
  ขั้นดำเนินการ จัดซื้อ จัดหา ผลิต สื่อวัสดุอุปกรณ์ที่นำมาจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยี
  ชั้นสรุป ประเมินผลการเรียนการสอนด้วยสื่อ วัสดุอุปกรณ์เทคโนโลยี
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 15000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ห้องสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 10/9/2562     ถึงวันที่ 10/10/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางจันทนา ศรีบูจันดี
    กิจกรรมที่ 2    การจัดตารางเรียน
  ขั้นเตรียมการ ประชุมเพือมอบหมายหน้าที่การสอน
  ขั้นดำเนินการ จัดโหลดตารางเรียนและแก้ไขให้เหมาะสมกับบุคลากรในกลุ่มสาระสังคมศึกษาฯส่งฝ่ายวิชาการ
  ชั้นสรุป จัดโหลดตารางเรียนและแก้ไขให้เหมาะสมกับบุคลากรในกลุ่มสาระสังคมศึกษาฯส่งฝ่ายวิชาการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ห้องศุนย์สังคมศึกษา ศาสนาแลัวัฒ
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 10/9/2562     ถึงวันที่ 10/10/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางจันทนา ศรีบุจันดี
    กิจกรรมที่ 3    นิเทศการสอน
  ขั้นเตรียมการ ระชุมชี้แจงรูปแบบการนิเทศ กำหนดเวลาการนิเทศ
  ขั้นดำเนินการ นิเทศการสอนตามรูปแบบและวันที่วิชาการกำหนด ภาคเรียนละ 2 ครั้ง
  ชั้นสรุป ประเมินสรุปการนิเทศ ส่งแบบการนิเทศฝ่ายวิชาการ ภาคเรียนละ 1 ครั้ง
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 10/9/2562     ถึงวันที่ 10/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นางจันทนา ศรีบูจันดี
    กิจกรรมที่ 4    พัฒนาห้องสาระหน้าที่พลเมือง
  ขั้นเตรียมการ ประชุมปรึกษาหารือครูผู้สอนสาระหน้าที่พลเมือง
  ขั้นดำเนินการ จัดห้องสาระหน้าที่พลเมืองให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของนักเรียน
  ชั้นสรุป ประเมินการใช้แหล่งการเรียนรู้
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 12000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ห้องสาระหน้าที่พลเมือง
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 11/9/2562     ถึงวันที่ 11/10/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางจันทนา ศรีบุจันดี

   รวม 4 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 27,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 27,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สาระเทคโนโลยี
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนมีความสนใจในการเรียนมากขึ้น นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น

 

 

รหัสโครงการ 1-18-6
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาและวัฒนธรรม
ชื่อโครงการ วิถีธรรมวิถีไทย
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 1. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 1.2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
นโยบายโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ รักประชาธิปไตย ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม ศึกษาต่อ มีงานทำ มีความภูมิใจในสถาบันดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูจันทนา ศรีบูจันดี

1. หลักการและเหตุผล

           นโยบาย การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ปีพ.ศ. 2552 ได้ดำเนินนโยบายด้านคุณภาพการศึกษา ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับการ ศึกษาที่มี คุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ครูสามารถจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรได้อย่างมี ประสิทธิภาพและให้ความ สำคัญกับพื้น ฐานและศักยภาพ ของผู้เรียน และจากการที่โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเป็นโรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ ทางกลุ่มสาระ สังคมศึกษาตระหนัก ถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้มี การจัดกิจกรรมต่างๆ ที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมี ค่านิยมที่ดี งาม โดยการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการกับหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ให้นักเรียนได้รับความรู้จากแหล่งเรียนรู้ทั้งใน และนอก สถานที่ ตลอดจนมีจิตสาธารณะต่อชุมชนและสังคม พัฒนาเป็นคนดี คน เก่ง มีความสุขอย่างแท้จริงกรณีต้องการย่อหน้าที่ 2

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1.เพื่อให้ผู้เรียนมีจิตสำนึกรักษ์ความเป็นไทยเห็นความสำคัญของสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ 2.เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีนิสัยประหยัดอดออม 3.เพื่อส่งเสริมให้ครู ผู้เรียนและบุคลากร งดเว้นการประพฤติมิชอบ 4.เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักวางแผนการทำงาน ทำงานเป็นทีม มีทักษะชีวิตโดยเน้นหลักของเศรษฐกิจพอเพียง 5. เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ใฝ่รู้ใฝ่เรียน 6.เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร 7.เพื่อให้ผู้เรียนเอื้ออาทรผู้อื่นและกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ 2. ข้อความ....

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ผู้เรียนร้อยละ 85 มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร 2. ข้อความ.......
  เชิงคุณภาพ
    ผู้เรียน มีประพฤติตนเป็นคนดีตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับดีเยี่ยม 2. 2. ข้อความ.......

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 10/9/2562          ถึงวันที่ : 9/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การจัดการเรียนการสอนธรรมศึกษาในโรงเรียน
  ขั้นเตรียมการ ประสานงานกับ ธสร. -ประกาศรับสมัคร นร.เข้าสอบธรรมศึกษา -จัดทำบัญชีรายชื่อ
  ขั้นดำเนินการ ออกคำสั่งคณะกรรมการดำเนินงาน -จัดสอนธรรมศึกษา -จัดสอบธรรมศึกษา
  ชั้นสรุป ประเมินผลการจัดกิจกรรม รายงานผลการดำเนินงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 10000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 10/9/2562     ถึงวันที่ 10/10/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวอลิสา ป่วนเดช
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมวันสำคัญของชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์
  ขั้นเตรียมการ ประสานงานกับครูกลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม 2. ประชุมกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
  ขั้นดำเนินการ จัด ป้ายนิเทศ นิทรรศการวันสำคัญต่างๆ ตามลำดับ
  ชั้นสรุป ติดตามและประเมินผล
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 3000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ อาคาร 3
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 10/9/2562     ถึงวันที่ 10/10/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางจันทนา ศรีบูจันดี
    กิจกรรมที่ 3    กิจกรรมส่งเสริมการออม
  ขั้นเตรียมการ ประชุมครูกลุ่มสาระฯ มอบหมายงาน
  ขั้นดำเนินการ ครูกลุ่มสาระฯ ส่งเสริมให้นักเรียนฝากเงินกับธนาคารโรงเรียนอย่างสม่ำเสมอ
  ชั้นสรุป รายงานผลการดำเนินงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ธนาคารโรงเรียน
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 10/9/2562     ถึงวันที่ 10/10/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวขวัญจิตร ยิ่งยวด

   รวม 3 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 13,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 13,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
วัดพระแท่นดงรัง วัดดงสัก
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา และสามารนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง

 

 

รหัสโครงการ 1-18-5
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาและวัฒนธรรม
ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 1. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 1.2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
ข้อที่ 3. กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
นโยบายโรงเรียน ข้อที่ 5. ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรโรงเรียน โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูกันหา อินจีน

1. หลักการและเหตุผล

           การจัดการเรียนการสอน เป็นหัวใจของการขับเคลื่อนที่จะนำไปสู่การปฏิรูปการศึกษา ครูต้องมีความรู้ความเข้าใจและต้อง ปรับเปลี่ยน วิธีสอน เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรม และทักษะที่จำเป็นในการดำรงชีวิต การประเมิน ผลความ สามารถที่แท้จริงและคุณลักษณะที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนในด้านคุณธรรม จริยธรรม โดยประเมินจากการปฏิบัติงาน กิจกรรม ซึ่ง เป็นงานหรือสถานการณ์ที่เป็นจริง ทั้งที่เกิดขึ้นในห้องเรียน และนอกห้องเรียนอย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบและมีขั้นตอน หลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 มีพระราชดำรัสชี้แนะแนวทางการดำเนินชีวิต แก่พสกนิกรไทย ถึงแนวทางการดำรงอยู่ และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ชุมชน หน่วยงานจนถึงระดับ รัฐ ให้ดำเนินไปในทางสายกลางก้าวทันต่อยุคโลกาภิวัฒน์ ความพอเพียงหมายถึงความพอประมาณ มีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะ ต้อง มีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลง ทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ต้องอาศัยความรอบรู้ รอบคอบ และระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนำวิชาการ และเทคโนโลยีต่างๆ มาใช้ในการวางแผน และดำเนินงานทุกขั้นตอนขณะเดียวกัน ก็ต้องเสริมสร้างพื้นฐานด้านจิตใจให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตชีวิตด้วยความอดทน และความเพียร จากเหตุผลดังกล่าวโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จึงได้จัดทำโครงการ โรงเรียนเศรษฐกิจพอเพียงขึ้นเพื่อปลูกฝังให้คณะ ครู ผู้เรียน และบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียน น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เป็นหลักในการคิด หลักการ ทำงาน และหลัก ปฏิบัติในชีวิตประจำวัน จนเกิดเป็นคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง เพื่อให้สามารถรักษาสมดุลในการดำเนินชีวิต และ พร้อมรับการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากกระแสโลกาภิวัฒน์ได้อย่างมีสติ ตลอดจนใช้ปัญญาความรู้ในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ ตนเอง และส่วนรวม ทั้งในปัจจุบัน และในอนาคต

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. ผู้เรียน มีความสามารถในการแสวงหาความรู้ ใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ในการหาคำตอบและสร้างองค์ความรู้ใหม่ สามารถเชื่อมโยง สู่การดำรงชีวิตได้อย่างพอเพียงและยั่งยืน 2. ผู้เรียนรู้จักวิธีการทำงานและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 3. ครูโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม มีแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ไม่น้อยกว่าร้อยละ95 4. โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติจริงและเป็นแหล่งเรียนรู้ให้ชุมชน

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1 ผู้เรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ร้อยละ 80 มีความสามารถในการแสวงหาความรู้ ใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ในการหาคำตอบและสร้างองค์ความรู้ใหม่ สามารถเชื่อมโยงสู่การดำรงชีวิตได้อย่างพอเพียง และยั่งยืน 2 ผู้เรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ร้อยละ 80 รู้จักวิธีการทำงานและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น เข้าร่วมกิจกรรมทุกกิจกรรมอย่างมีความสุข 3 ครูเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ร้อยละ 80 มีแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ 4 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ร้อยละ 80มีแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติจริงและเป็นแหล่งเรียนรู้ให้ชุมชน
  เชิงคุณภาพ
    1 ผู้เรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม มีความสามารถในการแสวงหาความรู้ ใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ในการหาคำตอบและสร้างองค์ความรู้ใหม่ สามารถเชื่อมโยงสู่การดำรงชีวิตได้อย่างพอเพียง และยั่งยืน ได้ดียิ่งขึ้น 2 ผู้เรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม รู้จักวิธีการทำงานและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น เข้าร่วมกิจกรรม ทุกกิจกรรมอย่างมีความสุข 3 ครูเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม มีแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ 4 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม มีแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติจริงและเป็นแหล่งเรียนรู้ให้ชุมชน

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 11/9/2562          ถึงวันที่ : 10/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    อบรมศาสตร์พระราชา
  ขั้นเตรียมการ - เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ - แต่งตั้งคณะกรรมการ - ประสานงานหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง
  ขั้นดำเนินการ -จัดกิจกรรมอบรมเสริมสร้างความรู้สู่ห้องเรียน เรื่อง ศาสตร์พระราชา เพื่อพัฒนาที่ยั่งยืนของสถานศึกษา โดยครู ที่ปรึกษา และนักเรียนตัวแทนห้องละ 2 คน ตั้งแต่ระดับชั้น ม.1 - ม.6 -งบประมาณ 3,000 บาท -เชิญวิทยากรท้องถิ่นที่ประสบความสำเร็จในการดำรงตนตามศาสตร์พระราชามาให้ความรู้และแนวการปฏิบัติตาม กลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใช้เวลา 1 วัน -มอบเกียรติบัตร
  ชั้นสรุป -ประเมินผล -สรุปผลการดำเนินงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 3000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคา อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 11/9/2562     ถึงวันที่ 11/10/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางกันหา อินจีน

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 3,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 3,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคา อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี และวิทยากรท้องถิ่นรับเชิญ
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผู้เรียน มีความสามารถในการแสวงหาความรู้ ใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ในการหาคำตอบและสร้างองค์ความรู้ใหม่ สามารถเชื่อมโยง สู่การดำรงชีวิตได้อย่างพอเพียงและยั่งยืน 2. ผู้เรียนรู้จักวิธีการทำงานและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 3. ครูโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม มีแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ 4. โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติจริงและเป็นแหล่งเรียนรู้ให้ชุมชน

 

 

รหัสโครงการ 1-30-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ชื่อโครงการ พัฒนาคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 1. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อที่ 1. พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 1.2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
นโยบายโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ รักประชาธิปไตย ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม ศึกษาต่อ มีงานทำ มีความภูมิใจในสถาบันดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูกมลชนก หาดรื่น

1. หลักการและเหตุผล

          

หลักสูตรขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเป็นคนดี มีปัญญาและมี ความ สุข มีศักยภาพ ในการศึกษาต่อและ ประกอบ อาชีพ จึงกำหนดจุดหมายซึ่งเป็นมาตรฐานการเรียนรู้ให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เห็น คุณค่าในตนเอง มี วินัยใน ตนเอง ปฏิบัติตาม หลักธรรม ของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ มีคุณธรรมจริยธรรมและ ค่านิยมที่พึง ประสงค์ ยึดหลัก เศรษฐกิจพอเพียง จาก ข่าวสารที่มีการนำเสนอผ่านสื่อต่าง ๆ พบว่าปัจจุบันวัยรุ่นมีพฤติกรรมที่ไม่พึง ประสงค์หลายด้าน ทั้ง การหนี เรียน การทะเลาะวิวาท การ เสพสิ่งเสพติดของมึนเมา การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ก่อให้เกิด ปัญหาสังคมมากมาย จำเป็น ต้องได้ รับการส่ง เสริมพัฒนาพฤติกรรม ที่พึงประสงค์ การพัฒนาพฤติกรรมของวัยรุ่นต้องมีการจัด กิจกรรมที่หลากหลายและทำอย่าง ต่อเนื่องทั้งในและ นอกห้องเรียน เพื่อให้ผู้ เรียนมีคุณลักษณะตรงตามจุดหมายของหลักสูตร คือ เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึง ประสงค์ โรงเรียนท่ามะกา วิทยาคมโดยงานส่งเสริมพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม และวินัยนักเรียน ร่วมกับหัวหน้าระดับชั้น ม.1 ม.4 และ ครูประจำ ชั้นระดับ ม.1 จึงจัดทำ โครงการอบรมคุณธรรม “ ค่ายพุทธ บุตร” ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยว กับคุณธรรม จริยธรรม และนำ ความรู้ที่ได้รับ ไปพัฒนาตนเอง โดยน้อมนำ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมา เป็น แนวทางใน การดำเนินงาน

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1.เพื่อปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในการเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2.เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร
3. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีความเอื้ออาทรผู้อื่นและกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ
4. เพื่อให้นักเรียนยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่าง
5. เพื่อให้นักเรียนตระหนัก รู้คุณค่า ร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1.นักเรียนระดับชั้น ม.1 และม.4 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 นำความรู้จากการอบรมคุณธรรม "ค่ายพุทธบุตร" ไปใช้ในการพัฒนาตนเองได้
2.นักเรียนระดับชั้น ม.1 และม.4 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 มีความพึงพอใจในการเข้าอบรมคุณธรรม “ค่ายพุทธบุตร” อยู่ในระดับดี
  เชิงคุณภาพ
    1.นักเรียนระดับชั้น ม.1 และม.4 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม นำความรู้ที่ได้จากการอบรมไปใช้ในชีวิตประจำวัน

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    พัฒนาคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
  ขั้นเตรียมการ - ประชุมปรึกษาหารือ
- สำรวจสถานที่
  ขั้นดำเนินการ - ติดต่อสถานที่ พระวิทยากร
- ขออนุญาตดำเนินการตามโครงการ
- แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ
- จัดทำหนังสือขออนุญาตผู้ปกครองนักเรียน
- เตรียมเอกสารอุปกรณ์
- จัดกิจกรรมเข้าค่าย
  ชั้นสรุป - รายงานผลการเข้าค่ายพุทธบุตร
- รายงานสรุปการประเมินการจัดกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 54000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ วัดที่เกี่ยวข้อง
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวบุษยมาศ อินทร์พรหม
    กิจกรรมที่ 2    พัฒนาคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
  ขั้นเตรียมการ - ประชุมปรึกษาหารือ
- สำรวจสถานที่
  ขั้นดำเนินการ - ติดต่อสถานที่ พระวิทยากร
- ขออนุญาตดำเนินการตามโครงการ
- แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ
- จัดทำหนังสือขออนุญาตผู้ปกครองนักเรียน
- เตรียมเอกสารอุปกรณ์
- จัดกิจกรรมเข้าค่าย
  ชั้นสรุป - รายงานผลการเข้าค่ายพุทธบุตร
- รายงานสรุปการประเมินการจัดกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 48000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ วัดที่เกี่ยวข้อง
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวกมลชนก หาดรื่น

   รวม 2 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 102,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 102,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนระดับชั้น ม.1 และม.4 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมได้รับการอบรมคุณธรรม “ ค่ายพุทธบุตร” เห็นคุณค่าในตนเอง มีวินัย ปฏิบัติตามหลักธรรมพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ มีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง

 

 

รหัสโครงการ 1-18-4
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาและวัฒนธรรม
ชื่อโครงการ โรงเรียนคุณธรรม”บ้านคนดี” ตามแนววิถีพุทธและค่านิยม12ประการของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูนิจพิชา ตันสุวรรณ

1. หลักการและเหตุผล

          

การปลูกฝังจิตใจให้บุคคลมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมเป็นการสร้างคุณธรรม จริยธรรมซึ่งเป็นเรื่องที่เกิดจากภายใน “จิตสาธารณะ” เป็นสิ่งหนึ่งที่มีความสำคัญในการปลูกจิตสำนึกให้คนรู้จักเสียสละ ร่วม แรง ร่วมใจ มีความร่วมมือในการทำประโยชน์เพื่อส่วนรวม ช่วยลดปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคม ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต เพื่อเป็น หลักใน การดำเนินชีวิตช่วยแก้ปัญหาและสร้างสรรค์ให้เกิดประโยชน์สุขแก่สังคม จึงเป็นสิ่งสำคัญอย่างเร่งด่วนที่จะต้องสร้างจิต สาธารณะให้ เกิดแก่คนในชาติ เพื่อปลุกจิตวิญญาณ ที่มีความรัก ความห่วงใย ความเอื้ออาทรต่อคนอื่นและสังคมโดยรวม การสร้างกระบวนการ พัฒนาคุณธรรมจริยธรรมภายในโรงเรียนดำเนินการด้วยโครงงานคุณธรรมที่มีกิจกรรมบ้านคนดีเป็นเครื่อง มือในการพัฒนาตนเองใน ลักษณะอาสาสมัครเพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสังคมและมีจิต สาธารณะ มีลักษณะเป็นกิจกรรมที่ ผู้ ปฏิบัติ ปฏิบัติด้วยความสมัครใจ เป็นกิจกรรมที่ทำเพื่อผู้อื่น เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนคิด เอง ออกแบบเอง โดยมีแนวทางการจัด กิจกรรมตามกระบวนการ ๕ ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ ๑ การสำรวจเพื่อศึกษาสภาพ ปัจจุบันปัญหาต่างๆทั้งภายในโรงเรียนและ ชุมชน ขั้นตอนที่ ๒ การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาและจัดลำดับปัญหาตามความ สำคัญ จำเป็นและเร่งด่วนจากมากไปหาน้อย ขั้นตอนที่ ๓ วางแผนออกแบบกิจกรรมและจัดทำปฏิทินการปฏิบัติกิจกรรม ขั้น ตอนที่ ๔ ปฏิบัติกิจกรรมตามแผนที่วางไว้ ขั้นตอน ที่ ๕ แลกเปลี่ยนเรียนรู้หลังจากการปฏิบัติกิจกรรมเพื่อถอดบทเรียน และ สะท้อนในประเด็นผลที่เกิดกับผู้ปฏิบัติกิจกรรมและผลที่ เกิดแก่สังคม ภายหลังการปฏิบัติกิจกรรม จากนั้นนำไปสรุปรายงานและ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์การปฏิบัติกิจกรรม(สำนักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๓ : ๑๔๖-๑๔๗) ซึ่งหลักการและ แนวปฏิบัติที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ดังกล่าว สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียน รู้แบบโครงงาน และยังสอดคล้องกับกิจกรรมของโครงการ ส่งเสริมคุณธรรมในสถานศึกษา ที่มีกิจกรรมในนักเรียนปฏิบัติ กิจกรรมโครงงานคุณธรรมโดยเน้นที่เรื่องของการมีจิตอาสา สาเหตุที่ ต้องปฏิบัติกิจกรรมด้วยวิธีการโครงงานนั้นเพราะ กิจกรรม โครงงานเป็นการจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ใน เรื่องที่นักเรียนสนใจ โดยมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า และ ค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย สรุป นำเสนอผลงานและนำผลที่ได้ ไปใช้ในชีวิตประจำวัน โดยกิจกรรมการเรียนคำนึงถึง ความแตกต่างระหว่างบุคคล ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้สัมผัสและสัมพันธ์กับสิ่ง แวดล้อม ได้ค้นคว้า ทดลอง ปฏิบัติ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ จนค้นพบสาระสำคัญของบทเรียน ได้ฝึกวิธีคิด วิเคราะห์สังเคราะห์ จินตนาการสามารถแสดงออกได้ชัดเจนมีเหตุผล ซึ่ง สามารถทำให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะบรรลุตามเจตนารมณ์ของนโยบายการปฏิรูป การเรียนรู้ (ปุณณวัฒน์ เพ็ชรจิตร์ : ๑๑๘-๑๑๙ ) นอกจากนี้การเรียนรู้ด้วยกิจกรรมโครงงานยังมุ่งพัฒนาทักษะการค้นคว้า สารสนเทศ จากแหล่งทรัพยากรต่างๆ ส่งเสริมให้มี การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลสารสนเทศระหว่างผู้ที่ทำงานร่วมกัน พัฒนาการคิด ระดับสูง เช่น การคิดวิจารณญาณ การคิดแก้ ปัญหา การคิดตัดสินใจ การคิดสร้างสรรค์ พัฒนาทักษะในการจัดการ เช่นเรื่องการ บริหารเวลา การใช้แหล่งทรัพยากรให้คุ้มค่า การใช้งบประมาณ ทำให้เกิดทักษะทางสังคม เช่น มีความเป็นผู้นำ รู้จักการเจรจาต่อ รอง รู้จักการตัดสินใจ รู้จักสร้างความไว้ วางใจและรู้จักการแก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งในการทำงานร่วมกัน มีการช่วยเหลือพึ่งพากัน รู้จักสร้างความไว้วางใจ และรู้จักการ แก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งในการทำงานร่วมกัน รู้จักติดต่อสื่อสาร และสามารถนำไปใช้ในชีวิต จริง(สำนักงานคณะกรรมการการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๔๗ :๒๓) ซึ่งโครงงานคุณธรรมเป็นกิจกรรมที่มีความสอดคล้องกับหลักการ ทฤษฎีที่กล่าวมาทั้งหมด โรงเรียนที่สามารถจัดกิจกรรมได้ประสบผลสำเร็จได้ดำเนินงานตามขั้นตอนของการจัดกิจกรรมการประกวด โครงงานคุณธรรม เยาวชนไทยทำดีถวายในหลวง และสิ่งที่ทำให้ประสบผลสำเร็จนั้น ครูที่ปรึกษาเป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุด ซึ่ง คุณสมบัติของครู ประการแรกจะต้องมีทัศนคติ ที่ดีต่อการจัดการเรียนการสอน มีความมุ่งมั่นในการทำงาน และต้องมีความรู้ ความ เข้าใจเกี่ยวกับ กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยโครงงาน อย่างชัดเจน ประการที่สอง การมีเทคนิควิธีการสอนอย่างหลากหลายของครู เช่น มีทักษะใน การตั้งคำถามที่ดีมีประสิทธิภาพ เพราะคำถามจะเป็นสิ่งที่ทำให้นักเรียนเกิดแรงจูงใจและกำหนดเป้าหมายของตนได้ด้วย การ ถูกถาม ครูจะต้องเป็นผู้ใจเย็น อดทนต่อการรอคอยคำตอบจากนักเรียน ไม่ด่วนสรุปโดยที่นักเรียนยังไม่ได้คิด นอกจากนี้ครูจะ ต้องเป็นกำลังใจ ให้นักเรียนด้วยการอยู่ใกล้ชิด การใช้คำพูดที่เป็นแรงเสริมทางบวกงสอดคล้องกับทฤษฎีการเรียนรู้การวาง เงื่อนไข แบบการกระทำของสกินเนอร์ ที่กล่าวว่า การกระทำใดๆถ้าได้รับการเสริมแรงจะมีแนวโน้มเกิดขึ้นอีก การให้แรงเสริม หรือให้รางวัล เมื่อมีการแสดงพฤติกรรมที่ต้องการ สามารถช่วยปรับหรือปลูกฝังนิสัยที่ต้องการได้ (ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ ๒๕๕๒ : ๓๗) การสาธิต การให้นักเรียนไปดูสถานที่จริง ทำให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน ซึ่งสอดคล้องกับ กระบวนการ พัฒนาจิตนิสัย ของบลูม(Bloom) ในขั้นที่ ๑ ขั้นการเรียนรู้ โดยการศึกษาจากตัวแบบการจัดกิจกรรมบริการสังคมที่ ดีๆ (ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ ๒๕๕๒ : ๔๑) การให้นักเรียนวิเคราะห์สภาพปัญหา จากเหตุการณ์ ต่างๆ สอดคล้องกับแนวคิดวิธีการ สอนแบบอริยสัจสี่ ซึ่งมี ขั้นตอน คือ ขั้นกำหนดปัญหาหรือขั้นทุกข์ เป็นการศึกษาพิจารณาปัญหาที่เกิดขึ้นด้วยตนเอง ด้วยความ รอบคอบ ขั้นตั้งสมมติฐาน หรือขั้นสมุทัย เป็นการพิจารณาสาเหตุของปัญหาและคิดหาแนวทางแก้ไขปัญหา ขั้นการทดลอง หรือขั้นนิโรธ เป็นการเก็บข้อมูล และทดลองแก้ไขปัญหาตามแนวทางที่กำหนดไว้ ขั้นวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผลหรือขั้นมรรค เป็นการสรุปวิธีการแก้ไขปัญหาที่ได้ ทดลองอย่างหลากหลายวิธีและเสนอแนะวิธีที่แก้ปัญหาได้ดีที่สุด (อภิษฐา สวนเข้ม ๒๕๕๒ :๒๒) ประการที่สาม ครูสามารถจัด กิจกรรมได้ดีถ้ามีการนำเนื้อหาของการจัดทำโครงงานคุณธรรมให้เป็นหน่วยการ เรียนรู้ในวิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมหรือ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ เพื่อที่นักเรียนจะได้เรียนรู้ด้วย การปฏิบัติจริงอย่างครบกระบวนการ คือความรู้ ทักษะ และเจตคติ สำหรับบทบาทของผู้บริหารนั้นเป็นผู้ส่งเสริมและสนับสนุน ในด้านการใช้วัสดุอุปกรณ์ งบประมาณ สถานที่ต่างๆ เป็น กำลังใจให้ครูและนักเรียน และเป็นแบบอย่างที่ดีของการการปฏิบัติตน ด้านคุณธรรม จริยธรรม ส่วนประโยชน์ที่นักเรียนได้รับจาก การเรียนรู้ด้วยกิจกรรมโครงงานนั้นจะเป็นการฝึกคุณธรรมด้านต่างๆ เช่น ความมีวินัย ความอดทน ความเพียร ฝึกการเป็นผู้ให้ เช่น การให้อภัย รู้จักแบ่งปันความรู้ ความดี บริจาคเพื่อ สาธารณประโยชน์ อุทิศแรงกาย แรงใจ ช่วยงานสาธารณะประโยชน์โดยไม่ หวังผลตอบแทนใดๆ ถึงแม้ว่าเวลาของการปฏิบัติ กิจกรรมจะเป็นเพียงระยะสั้น ก็จะเป็นการปลูกฝังเบื้องต้นในจิตใจของนักเรียนต่อ ไป และถ้านักเรียนได้ปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง สิ่ง ที่คิดทำดี คุณธรรมทั้งหลายก็จะยั่งยืนอยู่ในจิตใจของนักเรียนตลอดไป ซึ่ง สอดคล้องกับ จิตเกษม คุรวรรณ( exteen blog ๒๕๕๓) การทำให้ผู้เรียนมีจิตสาธารณะคงไม่สามารถทำได้ใน ๑ ภาคเรียน หรือปีการศึกษา ฉะนั้นต้องทำอย่างค่อยเป็นค่อยไป และทำอย่างต่อเนื่อง โครงงานคุณธรรมหรือโครงงานความดี เป็นนวัตกรรมการ เรียนรู้ที่ส่งเสริมการทำความดีมีคุณธรรมแบบเชิงรุก โดยให้ผู้เรียนที่ เป็นเด็กและเยาวชนเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของกิจกรรมการเรียนรู้ ผ่านเทคนิควิธีการเรียนรู้แบบโครงงาน (Project Appr๐ach) โดยประเด็นที่เลือกทำโครงงานนั้นเกิดขึ้นมาจากความสนใจและ ความคิดริเริ่มของผู้เรียนเอง เน้นการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติงาน จริงด้วยความพากเพียรพยายามอย่างจดจ่อต่อเนื่องในช่วงระยะเวลาที่ ยาวนานพอสมควร ในลักษณะวิจัยปฏิบัติการ (action research) นำไปสู่การแก้ไขปัญหาด้านความเสื่อมทรามทางศีลธรรมและ ส่งเสริมการบ่มเพาะความดีมีคุณธรรมอย่างเป็นรูป ธรรมและเป็นระบบ รวมทั้งการขยายความมีส่วนร่วมไปสู่บุคคลต่างๆ ในสถาน ศึกษาและชุมชนของตนเองหรือชุมชนอื่นๆที่ เกี่ยวข้อง และจากการที่โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมเป็นโรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ ทาง กลุ่มสาระสังคมศึกษาตระหนักถึงความ สำคัญดังกล่าว จึงได้มีการจัดกิจกรรมต่างๆ ที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมี ค่านิยมที่ดีงาม โดยการจัด กิจกรรมแบบบูรณาการ ให้นักเรียนได้รับความรู้จากแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกสถานที่ ดำเนินชีวิตตาม หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ยึดมั่นในหลักคุณธรรมพื้นฐาน ๘ ประการ ตลอดจนมีจิตสาธารณะต่อชุมชนและสังคม พัฒนา เป็นคนดี คนเก่ง มีความสุขอย่างแท้จริง โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมได้มีการจัดกิจกรรมต่างๆเพื่อปลูกฝังการมีจิตสาธารณะของนัก เรียนน กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณะประโยชน์ ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของหลักสูตรสถานศึกษา โครงการเสริมสร้างคุณธรรม ในสถานศึกษา ซึ่งมีกิจกรรม การปลูกฝังคุณธรรมด้านจิตสาธารณะด้วยวิธีการจัดกิจกรรมโครงงาน และกิจกรรมการจัดทำโครงงาน ในการประกวดโครงงาน คุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ “เยาวชนไทยวายในหลวง” การดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมคุณธรรม ในสถานศึกษาและ กิจกรรมการประกวดโครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ “เยาวชนไทย ทำดี ถวายในหลวง”ได้การดำเนินงาน และพบว่า ครูนักเรียนส่วนใหญ่มีความเข้าใจเรื่องจิตสาธารณะ และการจัดกิจกรรมการปลูกฝังจิตสาธารณะด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ โครง งาน และนักเรียนได้ศึกษาข้อมูลวิธีการที่สามารถจัดทำโครงงานแล้วประสบผลสำเร็จเป็นที่ประจักษ์

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อมีกระบวนการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม๑๒ประการ
2. ใช้โครงงานคุณธรรม/กิจกรรม/บ้านคนดีเป็นเครื่องมือในการพัฒนา
3. เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์
4. เพื่อให้ เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณธรรมทุกภาคส่วน
5. เพื่อให้เกิดกระบวรการ/นวัตกรรมการสร้างคุณธรรมและบูรณาการคุณธรรมเข้ากับการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
6. สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการพัฒนาคุณธรรม

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    นักเรียน ของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ร้อยละ ๘๐ เข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียนคุณธรรม”บ้านคนดี” ตามแนววิถีพุทธและค่านิยม12ประการของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมโครงการคุณธรรม”บ้านคนดี” ตามแนววิถีพุทธและค่านิยม12ประการ
  เชิงคุณภาพ
    นักเรียนโรงเรียนคุณธรรม”บ้านคนดี” ตามแนววิถีพุทธและค่านิยม12ประการของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมคุณธรรม”บ้านคนดี” ตามแนววิถีพุทธและค่านิยม12ประการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมมีคุณธรรมตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    อบรมเยาวชนและครูแกนนำ
  ขั้นเตรียมการ ประชุม/วางแผน
  ขั้นดำเนินการ อบรมเยาวชนและครูแกนนำ
  ชั้นสรุป ประเมินผล/รายงานผล
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 40000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวนิจพิชา ตันสุวรรณ
    กิจกรรมที่ 2    ดำเนินการรวบรวมโครงงานนำเสนอ
  ขั้นเตรียมการ ประชุม/วางแผน
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินการรวบรวมโครงงานนำเสนอ
  ชั้นสรุป ประเมินผล/รายงานผล
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 1000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวนิจพิชา ตันสุวรรณ

   รวม 2 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 41,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 41,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนสามารถจัดทำโครงงานคุณธรรม ค่ายคนดี กิจกรรมจิตอาสาได้

 

 

รหัสโครงการ 1-20-4
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา
ชื่อโครงการ ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนและพัฒนาศักยภาพนักกีฬา
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูปวีณา ปูชะพันธ์

1. หลักการและเหตุผล

           ตามแนวนโยบายของสถานศึกษาและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียน ให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข ตลอดจนมุ่งให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ การพัฒนา คุณภาพ เด็กไทยยุคใหม่ ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอน การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา การใช้สื่อ อุปกรณ์ในการจัดการเรียนรู้ ให้พียงพอต่อนักเรียนในการเรียนรู้ ส่งเสริมพัฒนานักเรียนที่มีความเป็นเลิศทั้งทางด้านวิชาการ และการกีฬา ให้ได้มีโอกาสเข้าร่วมการแข่งขันในระดับต่าง ๆ เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความสามารถ และสร้างชื่อเสียงให้ ตนเองและ โรงเรียน ในปีที่ผ่านมาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีลดลงบ้างในบางรายวิชา ต้องมีการพัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ให้ดีขึ้น ด้านศักยภาพนักกีฬา มีลดลงบ้างในบางชนิดกีฬาต้องทำการเพิ่มศักยภาพนักกีฬาให้มีผลการแข่งขันที่ดีขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา

กรณีต้องการย่อหน้าที่ 2

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ในกลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษาเฉลี่ยตามเกณฑ์ 2. เพื่อให้มีวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการจัดการเรียนการสอนเพียงพอต่อการจัดการเรียนรู้ 3. เพื่อสร้างเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีให้กับนักเรียน 4. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมตามความถนัดและความสนใจตามจุดประสงค์ด้านวิชาการ ตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน 5. เพื่อสร้างนักเรียนเป็นตัวแทนของโรงเรียนเข้าร่วมการแข่งขันในระดับต่าง ๆ ทั้งด้านวิชาการและด้านการกีฬา

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมทุกคนที่เรียนวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา 2. นักเรียนทุกคนที่เป็นตัวแทนไปเข้าร่วมการแข่งขันต่าง ๆทั้งด้านวิชาการและกีฬา
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนร้อยละ 65 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ในกลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษาเฉลี่ยตามเกณฑ์ 2. นักเรียนทุกคนที่เป็นตัวแทนไปเข้าร่วมการแข่งขันต่าง ๆ สามารถพัฒนาทักษะได้สูงขึ้นและสร้างผลงาน ได้เป็นที่น่าพอใจ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 10/9/2562          ถึงวันที่ : 9/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    จัดซื้ออุปกรณ์การเรียนการสอนสุขศึกษาและพลศึกษา และวัสดุสำนักงาน
  ขั้นเตรียมการ สำรวจข้อมูลวัสดุ อุปกรณ์ที่จำเป็นต้องซื้อ 2.เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
  ขั้นดำเนินการ 1.เสนอขออนุมัติจัดซื้อ 2.จัดซื้อวัสดุสำนักงานที่จำเป็นต้องใช้ 3.จัดซื้ออุปกรณ์กีฬาที่จำเป็นต้องใช้และยังไม่เพียงพอ 4.จัดซื้อสื่อการเรียนการสอน/วัสดุในการจัดทำสื่อการเรียนการสอนสุขศึกษาและพลศึกษ
  ชั้นสรุป รายงานการดำเนินการตามโครงการให้ฝ่ายบริหารทราบ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 30000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 10/9/2562     ถึงวันที่ 10/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นายเอนก สุทธิสินทอง
    กิจกรรมที่ 2    ส่งนักเรียนแข่งขันภายนอกทั้งด้านวิชาการและการแข่งขันกีฬา
  ขั้นเตรียมการ เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
  ขั้นดำเนินการ 1. เตรียมนักเรียนตัวแทนที่มีความสามารถทั้งด้านวิชาการและด้านกีฬา 2. จัดซื้อชุดสำหรับการแข่งขันกีฬา และวัสดุ อุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้ในการแข่งขันกีฬา 3. ส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันในรายการต่าง ๆ ที่ได้รับการอนุญาตให้ส่งแข่งขัน 4. ดำเนินการเบิกค่าใช้จ่าย เช่น เบี้ยเลี้ยงนักกีฬา ค่าจ้างเหมารถรับ - ส่ง ฯลฯ
  ชั้นสรุป สรุป รายงานผลการดำเนินการให้ฝ่ายบริหารทราบ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 72000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 10/9/2562     ถึงวันที่ 10/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นายจีระศักดิ์ กลมวง
    กิจกรรมที่ 3    ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพนักกีฬาบริดจ์
  ขั้นเตรียมการ เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
  ขั้นดำเนินการ 1. กำหนดวันจัดการอบรมพัฒนาทักษะการเล่นกีฬาบริดจ์ 2. ส่งหนังสือขอสนับสนุนวิทยากรจากสมาคมกีฬาบริดจ์แห่งประเทศไทย 3. ดำเนินการจัดการอบรม ระยะเวลา 4 วัน 4. จัดซื้อโต๊ะเพิ่มเติมสำหรับการฝึกซ้อมและเล่นบริดจ์ จำนวน 4 ตัว 5. ส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาบริดจ์ชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย 6. ดำเนินการเบิกค่าใช้จ่าย เช่น เบี้ยเลี้ยงนักกีฬา ค่าจ้างเหมารถรับ - ส่ง
  ชั้นสรุป สรุป รายงานผลการดำเนินงานให้ฝ่ายบริหารทราบ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 11000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 10/9/2562     ถึงวันที่ 10/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวปวีณา ปูชะพันธ์
    กิจกรรมที่ 4    การแข่งขันกีฬาภายใน ประจำปีการศึกษา 2563
  ขั้นเตรียมการ 1.เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 2.จัดทำคำสั่ง และประชุมคณะทำงาน 3.สำรวจวัสดุ อุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้และทำเรื่องขอจัดซื้อ
  ขั้นดำเนินการ 1.จัดแบ่งนักเรียนออกเป็น 4 สี 2.ประชุมเพื่อเลือกประธาน คณะกรรมการของสี จับฉลากเลือกลำดับขบวนพาเหรด 3.ฝึกซ้อมกีฬา การเชียร์ การแปรอักษร 4.ดำเนินการจัดการแข่งขันกีฬา การประกวดประเภทต่าง ๆ
  ชั้นสรุป สรุปผลการดำเนินงานให้ฝ่ายบริหารทราบ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 71000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 10/9/2562     ถึงวันที่ 10/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวปวีณา ปูชะพันธ์

   รวม 4 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 184,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 184,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
งานการเงินและพัสดุโรงเรียน
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. มีวัสดุอุปกรณ์สำนักงานที่จำเป็นเพียงพอต่อความต้องการ 2. มีอุปกรณ์กีฬาเพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน 3. มีสื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัยเพียงพอต่อการใช้งาน

 

 

รหัสโครงการ 1-01-6
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานจัดการเรียนการสอน
ชื่อโครงการ การจัดกระบวนการเรียนรู้วิชาศิลปะ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมุ่งสู่ศตวรรษที่ 21
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 1. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อที่ 1. พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 3. กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
นโยบายโรงเรียน
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูพีรพงศ์ ปลาสกุล

1. หลักการและเหตุผล

           หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนที่สมบูรณ์ มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ และ สังคม สามารถ พัฒนาตนเองและร่วมมือกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นการส่ง เสริม ให้ผู้ เรียนมีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ มีจินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม สุนทรียภาพความมีคุณค่า ซึ่งมีผลต่อคุณภาพ ชีวิต มนุษย์ ดังนั้น กิจกรรมศิลปะสามารถนำไปใช้ ในการพัฒนาผู้เรียนโดยตรงทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์และสังคม ตลอดจน นำไปสู่การ พัฒนาสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเชื่อ มั่น ในตนเองและแสดงออกในเชิงสร้างสรรค์ การจัดการจัดการเรียนรู้กลุ่ม สาระศิลปะ ต้องการการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ผู้เรียน ต้องเรียนรู้ ให้ครบถ้วนด้วยสมอง กาย ใจ ได้มีส่วนร่วมด้วยการลงมือ ปฏิบัติจริงทาง โรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นโดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช มา เป็นแนวทางในการดำเนินงาน

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อส่งเสริมให้ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอน การผลิตจัดหาจัดทำสื่อเทคโนโลยี โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 2. ข้อความ....2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเจตคติที่ดีที่เอื้อต่อการเรียนรู้และอาชีพ

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    เชิงปริมาณ 1. ข้อความ.......ร้อยละ 85 ของครูจัดกระบวนการเรียนการสอน มีการใช้และผลิตสื่อเทคโนโลยี การวิจิยอย่างเต็มความรู้ความสามารถ 2. ข้อความ.......ร้อยละ 90ของผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเจตคติที่ดีที่เอื้อต่อการเรียนรู้และอาชีพ
  เชิงคุณภาพ
    เชิงคุณภาพ 1. ข้อความ.......ครูจัดกระบวนการเรียนการสอน ใช้สื่อเทคโนโลยี การวิจิยอย่างเต็มความรู้ความสามารถอยู่ในระดับดีเลิศ 2. ข้อความ.......ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเจตคติที่ดีที่เอื้อต่อการเรียนรู้และอาชีพในระดับยอดเยี่ยม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/11/2562          ถึงวันที่ : 20/2/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    จัดทำจัดหาสื่อเทคโนโลยี การเรียนการสอนด้านทัศนศิลป์
  ขั้นเตรียมการ - จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ - ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
  ขั้นดำเนินการ -ดำเนินการฝึกทักษะด้านต่างๆ -เข้าร่วมแข่งขัน -ประเมินผลการแข่งขัน
  ชั้นสรุป สรุปและรายงานผลของกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 20000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/11/2562     ถึงวันที่ 20/2/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายพีรพงศ์ ปลาสกุล
    กิจกรรมที่ 2    ส่งเสริมการเข้าร่วมแข่งขันด้านศิลปะ
  ขั้นเตรียมการ - จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ - ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
  ขั้นดำเนินการ -ดำเนินการฝึกทักษะด้านต่างๆ -เข้าร่วมแข่งขัน -ประเมินผลการแข่งขัน
  ชั้นสรุป สรุปและรายงานผลของกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มสาระศิลปะ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/6/2563     ถึงวันที่ 30/6/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายพีรพงศ์ ปลาสกุล
    กิจกรรมที่ 3    จัดทำป้ายนิเทศเพื่อแสดงผลงานด้านทัศนศิลป์
  ขั้นเตรียมการ - จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ - ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินการขอจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบ
  ชั้นสรุป สรุปและรายงานผลของกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มสาระศิลปะ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/6/2563     ถึงวันที่ 30/6/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายพีรพงศ์ ปลาสกุล
    กิจกรรมที่ 4    การซ่อมบำรุงดูแลรักษาเครื่องปรับอากาศ
  ขั้นเตรียมการ จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ - ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินการขอจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบ
  ชั้นสรุป สรุปและรายงานผลของกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มสาระศิลปะ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/11/2562     ถึงวันที่ 30/11/2562
  ผู้รับผิดชอบ นายพีรพงศ์ ปลาสกุล

   รวม 4 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 20,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 20,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม/ ผู้บริหาร คณะครู บุคลากร และนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้แทนชุมชน และผู้ปกครอง
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพสนองจุดมุ่งหมายของหลักสูตร นักเรียนมีความชื่นชมและมีสุนทรียภาพด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ และสามารถนำไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่าย มีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา มีส่วนร่วมในการวางแผนด้านนโยบาย แผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการของโรงเรียน

 

 

รหัสโครงการ 1-01-6
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานจัดการเรียนการสอน
ชื่อโครงการ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ( ดนตรีไทย )
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูณัฐกาญจน์ จานแก้ว

1. หลักการและเหตุผล

          หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนที่สมบูรณ์ มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ และ สังคม สามารถ พัฒนาตนเองและร่วมมือกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นการ ส่ง เสริม ให้ผู้ เรียนมีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ มีจินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม สุนทรียภาพความมีคุณค่า ซึ่งมีผลต่อ คุณภาพ ชีวิต มนุษย์ ดังนั้น กิจกรรมศิลปะสามารถนำไปใช้ ในการพัฒนาผู้เรียนโดยตรงทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ และสังคม ตลอดจน นำไปสู่การ พัฒนาสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเชื่อ มั่น ในตนเองและแสดงออกในเชิงสร้างสรรค์ การ จัดการจัดการเรียนรู้กลุ่ม สาระศิลปะ ต้องการการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ผู้เรียน ต้องเรียนรู้ ให้ครบถ้วนด้วยสมอง กาย ใจ ได้มีส่วนร่วมด้วยการลงมือ ปฏิบัติจริงทาง โรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นโดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพียงของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช มา เป็นแนวทางในการดำเนินงาน

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อส่งเสริมให้ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง ผู้เรียนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2. เพื่อให้มีสื่อวัสดุ อุปกรณ์ที่เพียงพอต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเจตคติที่ดีที่เอื้อต่อการเรียนรู้และอาชีพ

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1.ร้อยละ 85 ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง ผู้เรียนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2.ร้อยละ 85 ครูและผู้เรียนมีสื่อวัสดุ อุปกรณ์เพียงพอต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3.ร้อยละ 90 ของผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเจตคติที่ดีที่เอื้อต่อการเรียนรู้และอาชีพ
  เชิงคุณภาพ
    1.ครูมีการจัดการเรียนการสอนผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง ผู้เรียนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2.ครูและผู้เรียนมีการใช้และผลิตสื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ในกิจกรรมการเรียนการสอน 3.ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเจตคติที่ดีที่เอื้อต่อการเรียนรู้และอาชีพ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 11/9/2562          ถึงวันที่ : 10/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ และ ซ่อมบำรุงสื่อการเรียนการสอนดนตรีไทย
  ขั้นเตรียมการ 1.ศึกษานโยบายของโรงเรียนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับโครงการฯ 2.ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯในปีที่ผ่านมา 3.ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงและมอบหมายภาระงาน 4.เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
  ขั้นดำเนินการ 1.สำรวจข้อมูลวัสดุอุปกรณ์ สื่อ เทคโนโลยีประกอบการเรียนการสอน ที่ต้องจัดซื้อ หรือ ซ่อมบำรุงรักษา 2.จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ และสื่อ เทคโนโลยีประกอบการเรียนการสอน 3. ดำเนินการซื้ออุปกรณ์ และซ่อมบำรุงเครื่องดนตรีไทย - ตรวจรับ - นำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน
  ชั้นสรุป 1.สรุปประเมินโครงการฯ 2.จัดทำรายงานโครงการฯนำเสนอฝ่ายบริหาร
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 50000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 11/9/2562     ถึงวันที่ 11/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวณัฐกาญจน์ จานแก้ว
    กิจกรรมที่ 2    ส่งเสริมนักเรียนทางการเรียนดนตรีไทย
  ขั้นเตรียมการ ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดกิจกรรมพัฒนา ส่งเสริมนักเรียนทางการเรียนดนตรีไทย
  ชั้นสรุป สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 11/9/2562     ถึงวันที่ 11/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวณัฐกาญจน์ จานแก้ว
    กิจกรรมที่ 3    ส่งเสริมนักเรียนทางการเรียนดนตรีไทย
  ขั้นเตรียมการ ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดกิจกรรมพัฒนา ส่งเสริมนักเรียนทางการเรียนดนตรีไทย
  ชั้นสรุป สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 11/9/2562     ถึงวันที่ 11/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวณัฐกาญจน์ จานแก้ว

   รวม 3 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 50,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 50,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ผู้บริหาร คณะครู บุคลากร และนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้แทนชุมชน และผู้ปกครอง
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพสนองจุดมุ่งหมายของหลักสูตร นักเรียนมีความชื่นชมและมีสุนทรียภาพด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ และสามารถนำไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่าย มีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา มีส่วนร่วมในการวางแผนด้านนโยบาย แผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการของโรงเรียน

 

 

รหัสโครงการ 1-19-5
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ชื่อโครงการ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (ดนตรีสากล)
ลักษณะโครงการ โครงการใหม่
กลยุทธ์
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูสุรเดช ทองอ่อน

1. หลักการและเหตุผล

           หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนที่สมบูรณ์ มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ และ สังคม สามารถ พัฒนาตนเองและร่วมมือกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นการส่ง เสริม ให้ผู้ เรียนมีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ มีจินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม สุนทรียภาพความมีคุณค่า ซึ่งมีผลต่อคุณภาพ ชีวิต มนุษย์ ดังนั้น กิจกรรมศิลปะสามารถนำไปใช้ ในการพัฒนาผู้เรียนโดยตรงทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์และสังคม ตลอดจน นำไปสู่การ พัฒนาสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเชื่อ มั่น ในตนเองและแสดงออกในเชิงสร้างสรรค์ การจัดการจัดการเรียนรู้กลุ่ม สาระศิลปะ ต้องการการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ผู้เรียน ต้องเรียนรู้ ให้ครบถ้วนด้วยสมอง กาย ใจ ได้มีส่วนร่วมด้วยการลงมือ ปฏิบัติจริงทาง โรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นโดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช มา เป็นแนวทางในการดำเนินงาน

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1.เพื่อส่งเสริมให้ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง ผู้เรียนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
2.เพื่อส่งเสริมให้ครูมีการใช้และผลิตสื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ การวิจิยอย่างเต็มความรู้ความสามารถ
3.เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเจตคติที่ดีที่เอื้อต่อการเรียนรู้และอาชีพ

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1.ร้อยละ 85 ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง ผู้เรียนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
2.ร้อยละ 85 ครูมีการใช้และผลิตสื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ การวิจิยอย่างเต็มความรู้ความสามารถ
3.ร้อยละ 90 ของผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเจตคติที่ดีที่เอื้อต่อการเรียนรู้และอาชีพ
  เชิงคุณภาพ
    1.ครูมีการจัดการเรียนการสอนผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง ผู้เรียนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
2.ครูมีการใช้และผลิตสื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ การวิจิยอย่างเต็มความรู้ความสามารถ
3.ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเจตคติที่ดีที่เอื้อต่อการเรียนรู้และอาชีพ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    จัดหาสื่อการเรียนการสอนดนตรีสากลและซ่อมบำรุง
  ขั้นเตรียมการ ประชุมชี้แจงในกลุ่มสาระการเรียนรู้
  ขั้นดำเนินการ 1.สอบราคา 2.ดำเนินการจัดซื้อจัดซ่อมตามระเบียบพัสดุ
  ชั้นสรุป ตรวจรับพัสดุ และรายงานผลการดำเนินงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 46900 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มสาระศิลปะ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายสุรเดช ทองอ่อน

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 46,900.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 46,900.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ผู้บริหาร คณะครู บุคลากร และนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้แทนชุมชน และผู้ปกครอง
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพสนองจุดมุ่งหมายของหลักสูตร นักเรียนมีความชื่นชมและมีสุนทรียภาพด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ และสามารถนำไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่าย มีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา มีส่วนร่วมในการวางแผนด้านนโยบาย แผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการของโรงเรียน

 

 

รหัสโครงการ 1-23-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ (คหกรรม)
ชื่อโครงการ พัฒนาโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูไพเราะ กาฬภักดี

1. หลักการและเหตุผล

           เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จด้านผู้เรียนในการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากลคือ การเป็น เลิศทางวิชาการ ล้ำหน้าทางความคิด ผลิตผลงานอย่างสร้างสรรค์ ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก นำหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงมาจัดการศึกษา กลุ่มสาระการงานอาชีพฯ คหกรรม ได้จัดทำกิจกรรมความเป็นเลิศทางวิชาชีพ เพื่อส่งเสริมผู้เรียนให้มีความเป็น เลิศทางวิชาชีพ ผลิตผลงานที่ดี นำความรู้ความ สามารถที่ได้เรียนรู้มาประยุกต์ใช้ มีทักษะกระบวนการการจัดการ รู้จักทำงานเป็นกลุ่ม การแสวงหาความรู้ สามารถแก้ปัญหา

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถในการเรียนรู้ และทำงานร่วมกัน 2. เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน 3. เพื่อพัฒนาให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถในทางวิชาชีพ

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    ร้อยละ 95 ของนักเรียนที่มีความรู้ความสามารถเรียนทางวิชาชีพ สามารถเรียนรู้ร่วมกัน และใช้เทคโนโลยีนำเสนองานที่เหมาะสม
  เชิงคุณภาพ
    นักเรียนมีความรู้ความสามารถในทางวิชาชีพ มีความสามารถในการเรียนรู้ และทำงานร่วมกันใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    พัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศทางการงานอาชีพ
  ขั้นเตรียมการ ประชุมวางแผนชี้แจง
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินการพัฒนาผู้เรียนทางวิชาชีพ
  ชั้นสรุป ประเมินและรายงานผล
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 30000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มสาระการงานอาชีพ (คหกรรม)
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 10/9/2562     ถึงวันที่ 10/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวไพเราะ กาฬภักดี

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 30,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 30,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการงานอาชีพ (คหกรรม) กลุ่มฝ่ายบริหารงานวิชาการ
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนมีความรู้ความสามารถในทางวิชาชีพ มีความสามารถในการเรียนรู้ และทำงานร่วมกันใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน

 

 

รหัสโครงการ 1-23-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ (คหกรรม)
ชื่อโครงการ พัฒนาผูเรียนให้มีความใฝ่เรียนรู้
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูไพเราะ กาฬภักดี

1. หลักการและเหตุผล

           สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดกลยุทธ์และมาตรฐานส่งเสริม การจัดการเรียนรู้การพัฒนาสื่อและกิจกรรมพัฒนา ผู้ เรียนที่หลากหลายให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถ มีทักษะอย่างเด่น ชัด เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ กระบวนการเรียนรู้โดยเน้นการปฏิบัติ จริง สอดคล้องกับความสามารถความถนัด มีทักษะ กระบวนการทำงานเป็นกลุ่มมีเจตคติที่ดีต่องาน แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่ หลาก หลาย นำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอ เพียงมาจัดการศึกษา ดังนั้น กลุ่มสาระการงานอาชีพฯ คหกรรม จึงจัดกิจกรรมเรียนรู้จากแหล่ง เรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เหมาะสม

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

นักเรียนสามารถเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เหมาะสม

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    ร้อยละ 95 ของนักเรียนที่สามารถเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เหมาะสม
  เชิงคุณภาพ
    นักเรียนมีความรู้ความสามารถเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เหมาะสม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 30/9/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    ศึกษาแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น
  ขั้นเตรียมการ ประชุมชี้แจงวางแผน
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินการศึกษาแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น
  ชั้นสรุป ประเมินผลและรายงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 7000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ฝ่ายบริหารงานวิชาการ
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 10/9/2562     ถึงวันที่ 10/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวไพเราะ กาฬภักดี

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 7,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 7,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการงานอาชีพ (คหกรรม) ฝ่ายบริหารงานวิชาการ
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนมีความรู้จากการศึกษาแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

 

 

รหัสโครงการ 1-23-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ (คหกรรม)
ชื่อโครงการ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 1. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อที่ 1. พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
ข้อที่ 5. ส่งเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 3. กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
นโยบายโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ รักประชาธิปไตย ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม ศึกษาต่อ มีงานทำ มีความภูมิใจในสถาบันดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูไพเราะ กาฬภักดี

1. หลักการและเหตุผล

           สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดกลยุทธ์และมาตรฐานส่งเสริม การจัดการเรียนรู้การพัฒนาสื่อและกิจกรรมพัฒนาผู้ เรียนที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถ มีทักษะอย่างเด่น ชัด เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ กระบวนการเรียนรู้โดยเน้นการปฏิบัติจริง สอดคล้องกับความสามารถความ ถนัด มีทักษะ กระบวนการทำงานเป็นกลุ่มมีเจตคติที่ดีต่องาน แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่หลาก หลาย นำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอ เพียงมาจัดการ ศึกษา ดังนั้น กลุ่มสาระการงานอาชีพฯ คหกรรม จึงจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริม สามารถเรียนรู้ร่วมกัน ใช้เทคโนโลยีนำเสนองาน และมีวัสดุอุปกรณ์ ในการเรียนรู้ที่เหมาะสม

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถในการเรียนรู้ และทำงานร่วมกัน 2. เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน 3. เพื่อผลิตสื่อเทคโนโลยี นวัตกรรมและจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอน

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    ร้อยละ 95 ของนักเรียนที่สามารถเรียนรู้ร่วมกัน ใช้เทคโนโลยีนำเสนองานและมีวัสดุอุปกรณ์ในการเรียนรู้ที่เหมาะสม
  เชิงคุณภาพ
    นักเรียนมีสื่อเทคโนโลยี นวัตกรรม และวัสดุอุปกรณ์ในการเรียนรู้ที่เหมาะสมอยู่ในระดับดี

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์การเรียนการสอน
  ขั้นเตรียมการ ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนปฏิบัติงาน
  ขั้นดำเนินการ จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
  ชั้นสรุป ประเมินและรายงานผลการปฏิบัติงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 30000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มสาระการงานอาชีพ (คหกรรม)
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 10/9/2562     ถึงวันที่ 10/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวไพเราะ กาฬภักดี

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 30,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 30,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการงานอาชีพ (คหกรรม) ฝ่ายวิชาการ
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนมีสื่อเทคโนโลยี นวัตกรรม และวัสดุอุปกรณ์ในการเรียนรู้ที่เหมาะสมอยู่ในระดับดี

 

 

รหัสโครงการ 1-22-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ (เกษตร)
ชื่อโครงการ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 1. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข้อที่ 2. การเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ทั่วถึงครอบคลุมผู้เรียนให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพและมีคุณภาพ
ข้อที่ 3. การพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ข้อที่ 4. การพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
ประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อที่ 1. พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
ข้อที่ 2. ผลิต พัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
ข้อที่ 4. ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
ข้อที่ 5. ส่งเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา
ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 1.1. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
ข้อที่ 1.2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
ข้อที่ 3. กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
นโยบายโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ รักประชาธิปไตย ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม ศึกษาต่อ มีงานทำ มีความภูมิใจในสถาบันดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ข้อที่ 5. ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรโรงเรียน โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ข้อที่ 6. มุ่งเน้นการร่วมคิดร่วมทำ ร่วมรับผิดชอบ ระหว่างบุคลากรของโรงเรียน ชุมชนและผู้เกี่ยวข้องในการใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างคุ้มค่าเพื่อพัฒนาโรงเรียน สร้างศรัทธาต่อชุมชน ร่วมมือจัดกิจกรรมของชุมชนที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและร่วมอนุรักษ์ฯ
ข้อที่ 7. เพื่อความรวดเร็ว ถูกต้อง สร้างนักคิด นักปฏิบัติ ใช้เทคโนโลยีช่วยการบริหาร
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูสัมฤทธิ์ พุ่มปรีชา

1. หลักการและเหตุผล

          

กรณีต้องการย่อหน้าที่ 2

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดกลยุทธ์และ มาตรฐานส่งเสริม การจัดการเรียนรู้การพัฒนาสื่อและกิจกรรมพัฒนาผู้ เรียนที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถ มีทักษะอย่าง เด่น ชัด เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ กระบวนการเรียนรู้โดยเน้นการปฏิบัติจริง สอดคล้องกับความสามารถความ ถนัด มีทักษะ กระบวนการ ทำงานเป็นกลุ่มมีเจตคติที่ดีต่องาน แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่หลาก หลาย นำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอ เพียงมาจัดการ ศึกษา ดังนั้น กลุ่มสาระการงานอาชีพฯ เกษตร จึงจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริม สามารถเรียนรู้ร่วมกัน ใช้เทคโนโลยีนำเสนองาน และมีวัสดุ อุปกรณ์ ในการเรียนรู้ที่เหมาะสม

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. ข้อความ....
1. เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถในการเรียนรู้ และทำงานร่วมกัน 2. เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน 3. เพื่อผลิตสื่อเทคโนโลยี นวัตกรรมและจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอน 2. ข้อความ....

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ข้อความ.......
ร้อยละ 95 ของนักเรียนที่สามารถเรียนรู้ร่วมกัน ใช้เทคโนโลยีนำเสนองานและมีวัสดุอุปกรณ์ในการเรียนรู้ที่เหมาะสม 2. ข้อความ.......
  เชิงคุณภาพ
    1. ข้อความ.......
นักเรียนมีสื่อเทคโนโลยี นวัตกรรม และวัสดุอุปกรณ์ในการเรียนรู้ที่เหมาะสมอยู่ในระดับดี 2. ข้อความ.......

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 10/9/2562          ถึงวันที่ : 9/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การเลี้ยงสัตว์ทั่วไป
  ขั้นเตรียมการ ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนปฏิบัติงาน
  ขั้นดำเนินการ จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
  ชั้นสรุป ประเมินและรายงานผลการปฏิบัติงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 30000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ สวนเกษตร โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 10/9/2562     ถึงวันที่ 10/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นายสัมฤทธิ์ พุ่มปรีชา
    กิจกรรมที่ 2    การปลูกไม้ผล
  ขั้นเตรียมการ ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนปฏิบัติงาน
  ขั้นดำเนินการ จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
  ชั้นสรุป ประเมินและรายงานผลการปฏิบัติงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 25000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ สวนเกษตร โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 10/9/2562     ถึงวันที่ 10/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นายสัมฤทธิ์ พุ่มปรีชา
    กิจกรรมที่ 3    ไม้ดอกเพื่อการค้า
  ขั้นเตรียมการ ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนปฏิบัติงาน
  ขั้นดำเนินการ จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
  ชั้นสรุป ประเมินและรายงานผลการปฏิบัติงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 5001 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ สวนเกษตร โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 10/9/2562     ถึงวันที่ 10/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นายสัมฤทธิ์ พุ่มปรีชา
    กิจกรรมที่ 4    ไม้ดอกไม้ประดับ
  ขั้นเตรียมการ ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนปฏิบัติงาน
  ขั้นดำเนินการ จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
  ชั้นสรุป ประเมินและรายงานผลการปฏิบัติงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 4000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ สวนเกษตร โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 10/9/2562     ถึงวันที่ 10/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นายสัมฤทธิ์ พุ่มปรีชา
    กิจกรรมที่ 5    การเพาะเห็ด
  ขั้นเตรียมการ ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนปฏิบัติงาน
  ขั้นดำเนินการ จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
  ชั้นสรุป ประเมินและรายงานผลการปฏิบัติงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 2000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ สวนเกษตร โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 10/9/2562     ถึงวันที่ 10/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นายสัมฤทธิ์ พุ่มปรีชา
    กิจกรรมที่ 6    การขยายพันธุ์พืช
  ขั้นเตรียมการ ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนปฏิบัติงาน
  ขั้นดำเนินการ จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
  ชั้นสรุป ประเมินและรายงานผลการปฏิบัติงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 2500 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ สวนเกษตร โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 10/9/2562     ถึงวันที่ 10/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นายสัมฤทธิ์ พุ่มปรีชา
    กิจกรรมที่ 7    การปลูกผัก
  ขั้นเตรียมการ ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนปฏิบัติงาน
  ขั้นดำเนินการ จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
  ชั้นสรุป ประเมินและรายงานผลการปฏิบัติงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 1500 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ สวนเกษตร โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 10/9/2562     ถึงวันที่ 10/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นายสัมฤทธิ์ พุ่มปรีชา

   รวม 7 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 70,001.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 70,001.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการงานอาชีพ (เกษตร) ฝ่ายวิชาการ
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนมีสื่อเทคโนโลยี นวัตกรรม และวัสดุอุปกรณ์ในการเรียนรู้ที่เหมาะสมอยู่ในระดับดี

 

 

รหัสโครงการ 1-01-9
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานจัดการเรียนการสอน
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 1. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อที่ 4. ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 1.2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
ข้อที่ 3. กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
นโยบายโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ รักประชาธิปไตย ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม ศึกษาต่อ มีงานทำ มีความภูมิใจในสถาบันดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ข้อที่ 4. เชิดชูความดีของนักเรียน ครู ชุมชนที่ดีต่อโรงเรียน พัฒนาบุคลากรให้มีประสิทธิผลและบังเกิดประสิทธิภาพ
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูอนุรักษ์ ปลื้มจิตต์

1. หลักการและเหตุผล

           เป้าหมายสูงสุดในการศึกาา นอกจากให้นักเรียนมีความรู้ ความสามารถด้านต่างๆแล้ว ยังต้องให้นักเรียนมีลักษณะนิสัย และ พฤติกรรม เป็น ประชาธิปไตย และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ดังนั้นกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนได้เขียนโครงการเพื่อพัฒนา ลักษณะนิสัยด้าน ต่างๆของ นักเรียน และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุขและน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ได้ดำเนิน กิจกรรมเป็น ไปอย่างเรียนร้อยและมีผลการจัดกิจกรรมตามเป้าหมายที่วางไว้

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อให้ลูกเสือ-เนตรนารีและยุวกาชาด
2. เพื่อจัดพิธีวันสำคัญต่างๆของลูกเสือ-เนตรนารี
3. เพื่อให้ลูกเสือ-เนตรนารี/ยุวกาชาดมีกิจกรรมต่างๆเช่นการเข้าค่ายพักแรมและบำเพ็ญประโยชน์อื่นๆ ปีละ 1 ครั้ง

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนระดับชั้น ม.1-ม.3ร้อยละ 100 เข้าร่วมและเรียนลูกเสือ-เนตรนารี/ยุวกาชาด
2. ลูกเสือ-เนตรนารี/ยุวกาชาดทุกระดับเข้าค่ายพักแรมปีละ 1 ครั้ง
  เชิงคุณภาพ
    นักเรียนที่เลือกเรียนลูกเสือ-เนตรนารี/ยุวกาชาดสามารถพัฒนาตนเองดีขึ้น

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 11/9/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมวันสำคัญของลูกเสือชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3
  ขั้นเตรียมการ ประชุมและวางแผนผู้ที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นดำเนินการ จัดกิจกรรมตามวันสำคัญต่างๆ
  ชั้นสรุป รายงานผลการดำเนินการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 11/9/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายจีระศักดิ์ กลมวง
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมอยู่ค่ายพักแรมของลูกเสือเนตรนารีและยุวกาชาด
  ขั้นเตรียมการ วางแผนการทำงาน
  ขั้นดำเนินการ จัดทำแผนการดำเนินงาน ประสานงานผู้เกี่ยวข้อง จัดกิจกรรมค่ายพักแรม
  ชั้นสรุป ประเมินผล สรุป รายงานผลการจัดกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 168800 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ค่ายพักแรมลูกเสือ
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 11/9/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายจีระศักดิ์ กลมวง
    กิจกรรมที่ 3    จัดซื้อจัดจ้างวัสดุและอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอนลูกเสือเนตรนารีและยุวกาชาด
  ขั้นเตรียมการ ประชุมวางแผนการทำงาน จัดเตรียมงบประมาณ
  ขั้นดำเนินการ จัดทำแผนการดำเนินงาน สำรวจความต้องการใช้วัสดุและอุปกรณ์ จัดซื้อจัดจ้าง
  ชั้นสรุป ประเมินผล สรุป รายงานผล
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 11/9/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายจีระศักดิ์ กลมวง
    กิจกรรมที่ 4    ทมว.จิตอาสาพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม
  ขั้นเตรียมการ ประชุมวางแผน จัดเตรียมบุคลากร จัดเตรียมงบประมาณ
  ขั้นดำเนินการ กำหนดแผนการดำเนินงาน กำหนดขอบเขตการจัดกิจกรรม กำหนดเป้าหมาย จัดกิจกรรมตามโครงการ
  ชั้นสรุป ประเมิน สรุปผล รายงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ แหล่งธรรมชาติ และชุมชนตามกำหนด
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 11/9/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายอนุรักษ์ ปลื้มจิตต์
    กิจกรรมที่ 5    ลูกเสืออาสา กกต.
  ขั้นเตรียมการ ประชุมวางแผน จัดเตรียมบุคลากร จัดเตรียมงบประมาณ
  ขั้นดำเนินการ กำหนดแผนการดำเนินงาน กำหนดขอบเขตการจัดกิจกรรม กำหนดเป้าหมาย จัดกิจกรรมตามโครงการ
  ชั้นสรุป ประเมิน สรุปผล รายงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 12/9/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายจีระศักดิ์ กลมวง

   รวม 5 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 168,800.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 168,800.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คณะครูและผู้เกี่ยวข้องในการจัดกิจกรรม
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
ลูกเสือ-เนตรนารี/ยุวกาชาด เห็นความสำคัญของวันสำคัญของกิจการลูกเสือ

 

 

รหัสโครงการ 1-30-7
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ชื่อโครงการ ทัศนศึกษาระดับชั้น ม.1 - ม.6
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 1. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อที่ 4. ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 3. กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
นโยบายโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ รักประชาธิปไตย ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม ศึกษาต่อ มีงานทำ มีความภูมิใจในสถาบันดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูอนุรักษ์ ปลื้มจิตต์

1. หลักการและเหตุผล

           จากเจตนารมณ์ของการปฏิรูปการศึกษาในปัจจุบัน ที่เน้นผู้เรียนสำคัญที่สุดกระบวนการจัดการศึกษา จะต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนา ตาม ธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพเป็นการเรียนที่เน้นการปฏิบัติให้เห็นผลจริงมากกว่าการท่องจำจากตำราในชั้นเรียนเพียงอย่างเดียว เท่านั้น ดังนั้นเพื่อเป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างเต็มศักยภาพ ตามเจตนารมณ์ของการปฏิรูปการศึกษา โรงเรียนท่ามะกา วิทยาคมโดย งานพัฒนาผู้เรียน ร่วมกับหัวหน้าระดับชั้นทุกระดับ และครูประจำชั้นทุกคน จึงจัดทำโครงการทัศนศึกษา ระดับชั้น ม.1 - ม.6 ขึ้น โดย มี วัตถุประสงค์ให้นักเรียนสามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้ และสื่อต่าง ๆ รอบตัว เรียนรู้ร่วมกัน เป็นกลุ่ม และแลก เปลี่ยน ความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกั

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อให้นักเรียนได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ
2. เพื่อให้นักเรียนแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้ และสื่อต่าง ๆ รอบตัว
3. เพื่อให้นักเรียนเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่มแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    นักเรียนร้อยละ 94 ได้รับความรู้เพิ่มเต็มตามศักยภาพ ได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลิน สามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้ และสื่อต่าง ๆ รอบตัว เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
  เชิงคุณภาพ
    นักเรียนได้รับความรู้เพิ่มเต็มตามศักยภาพ ได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลิน สามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้ และสื่อต่าง ๆ รอบตัว เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 11/9/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    ทัศนศึกษาระดับชั้น ม.1
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมปรึกษาหารือ
2. สำรวจสถานที่
  ขั้นดำเนินการ 1. ติดต่อสถานที่
2. ขออนุญาตดำเนินการตามโครงการ
3. แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ
4. จัดทำหนังสือขออนุญาตผู้ปกครองนักเรียน
5. เตรียมเอกสารอุปกรณ์
6. จัดกิจกรรมทัศนศึกษา
  ชั้นสรุป 1. รายงานผลการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา
2. รายงานสรุปการประเมินการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ สถานที่ศึกษาเรียนรู้ภายนอก
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 11/9/2562     ถึงวันที่ 30/10/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายอนุรักษ์ ปลื้มจิตต์
    กิจกรรมที่ 2    ทัศนศึกษาระดับชั้น ม.2
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมปรึกษาหารือ
2. สำรวจสถานที่
  ขั้นดำเนินการ 1. ติดต่อสถานที่
2. ขออนุญาตดำเนินการตามโครงการ
3. แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ
4. จัดทำหนังสือขออนุญาตผู้ปกครองนักเรียน
5. เตรียมเอกสารอุปกรณ์
6. จัดกิจกรรมทัศนศึกษา
  ชั้นสรุป 1. รายงานผลการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา
2. รายงานสรุปการประเมินการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ สถานที่ศึกษาเรียนรู้ภายนอก
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 11/9/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายอนุรักษ์ ปลื้มจิตต์
    กิจกรรมที่ 3    ทัศนศึกษาระดับชั้น ม.3
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมปรึกษาหารือ
2. สำรวจสถานที่
  ขั้นดำเนินการ 1. ติดต่อสถานที่
2. ขออนุญาตดำเนินการตามโครงการ
3. แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ
4. จัดทำหนังสือขออนุญาตผู้ปกครองนักเรียน
5. เตรียมเอกสารอุปกรณ์
6. จัดกิจกรรมทัศนศึกษา
  ชั้นสรุป 1. รายงานผลการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา
2. รายงานสรุปการประเมินการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ สถานที่ศึกษาเรียนรู้ภายนอก
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 11/9/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายอนุรักษ์ ปลื้มจิตต์
    กิจกรรมที่ 4    ทัศนศึกษาระดับชั้น ม.4
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมปรึกษาหารือ
2. สำรวจสถานที่
  ขั้นดำเนินการ 1. ติดต่อสถานที่
2. ขออนุญาตดำเนินการตามโครงการ
3. แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ
4. จัดทำหนังสือขออนุญาตผู้ปกครองนักเรียน
5. เตรียมเอกสารอุปกรณ์
6. จัดกิจกรรมทัศนศึกษา
  ชั้นสรุป 1. รายงานผลการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา
2. รายงานสรุปการประเมินการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ สถานที่ศึกษาเรียนรู้ภายนอก
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 11/9/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายอนุรักษ์ ปลื้มจิตต์
    กิจกรรมที่ 5    ทัศนศึกษาระดับชั้น ม.5
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมปรึกษาหารือ
2. สำรวจสถานที่
  ขั้นดำเนินการ 1. ติดต่อสถานที่
2. ขออนุญาตดำเนินการตามโครงการ
3. แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ
4. จัดทำหนังสือขออนุญาตผู้ปกครองนักเรียน
5. เตรียมเอกสารอุปกรณ์
6. จัดกิจกรรมทัศนศึกษา
  ชั้นสรุป 1. รายงานผลการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา
2. รายงานสรุปการประเมินการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ สถานที่ศึกษาเรียนรู้ภายนอก
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 11/9/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายอนุรักษ์ ปลื้มจิตต์
    กิจกรรมที่ 6    ทัศนศึกษาระดับชั้น ม.6
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมปรึกษาหารือ
2. สำรวจสถานที่
  ขั้นดำเนินการ 1. ติดต่อสถานที่
2. ขออนุญาตดำเนินการตามโครงการ
3. แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ
4. จัดทำหนังสือขออนุญาตผู้ปกครองนักเรียน
5. เตรียมเอกสารอุปกรณ์
6. จัดกิจกรรมทัศนศึกษา
  ชั้นสรุป 1. รายงานผลการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา
2. รายงานสรุปการประเมินการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ สถานที่ศึกษาเรียนรู้ภายนอก
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 11/9/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายอนุรักษ์ ปลื้มจิตต์

   รวม 6 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม แหล่งเรียนรู้ภายนอก
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนได้รับความรู้เพิ่มเต็มตามศักยภาพ ได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลิน สามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้ และสื่อต่าง ๆ รอบตัว เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน

 

 

รหัสโครงการ 1-21-8
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ (ช่างอุตฯ)
ชื่อโครงการ จัดการเรียนการสอนอุตสาหกรรม
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 1. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อที่ 1. พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
ข้อที่ 3. ผลิตและพัฒนากำลังคนรวมทั้งงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการของการพัฒนาประเทศ
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 1.1. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
ข้อที่ 1.2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
นโยบายโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ รักประชาธิปไตย ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม ศึกษาต่อ มีงานทำ มีความภูมิใจในสถาบันดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูอนุรักษ์ ปลื้มจิตต์

1. หลักการและเหตุผล

           การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และเน้นการปฏิบัติงาน การสร้างผลงาน และ นักเรียนมีส่วนร่วมใช้กระบวนการ กลุ่ม บรรยากาศการเรียนที่มีความสุข การเรียนรู้ด้วย รูปแบบ วิธีการ เนื้อหา สื่อ และเทคโนโลยีที่หลากหลาย ประหยัด โดยสอดแทรกผสม ผสาน หลักสูตรท้องถิ่น จุดเน้นสู่การพัฒนาผู้เรียน ให้มี คุณลักษณะที่พึงประสงค์ และการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ ผลผลิต ทางการศึกษา ต้องการบุคคลที่มีคุณค่า ทั้งด้านความรู้ ความคิด มีเหตุผล มีทักษะและ มีการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ สามารถดำรงชีวิต ใน สังคมได้ อย่างมีความสุข โดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมาเป็น แนวทางในการดำเนินงาน

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1.ผู้เรียนสามารถวางแผนการทำงานและดำเนินการจนสำเร็จ
2.ผู้เรียนสามารถทำงานอย่างมีความสุขมุ่งมั่นพัฒนางาน และ ภูมิใจในผลงานของตนเอง
3.ผู้เรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
4.ผู้เรียนมีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริต และ หาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองสนใจ

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1.ผู้เรียนสามารถวางแผนการทำงานและดำเนินการจนสำเร็จได้ร้อยละ 91
2.ผู้เรียนสามารถทำงานอย่างมีความสุขมุ่งมั่นพัฒนางาน และ ภูมิใจในผลงานของตนเองร้อยละ 91
3.ผู้เรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ร้อยละ 90
4.ผู้เรียนสามารถมีคามรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริต และ หาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองสนใจร้อยละ 96
  เชิงคุณภาพ
    1.ผู้เรียนทำงานอย่างเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ
2.ผู้เรียนมีความรู้สึกพึงพอใจและชื่นชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
3.ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการวางแผนการทำงานกับหมู่คระครบทุกขั้นตอน
4.ผู้เรียนแสดงความรู้สึกที่ดีและสนับสนุนอาชีพสุจริตได้อย่างกวางขวางยึดมั่นในแนวทางการประกอบอาชีพสุจริต

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 11/9/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมพัฒนาการเรียนการสอนงานช่างอุตสาหกรรม
  ขั้นเตรียมการ ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้องการปฏิบัติงาน ประสานงาน
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินกิจกรรมปฏิบัติและพัฒนางาน กิจกรรมการเรียนรู้งานช่าง จัดซื้อจัดจ้าง
  ชั้นสรุป ประเมินกิจกรรมและ รายงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 11/9/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายอนุรักษ์ ปลื้มจิตต์
    กิจกรรมที่ 2    จัดการเรียนการสอนโดยใช้วิทยากรพิเศษจากหน่วยงานและองค์กรภายนอก
  ขั้นเตรียมการ ประชุมวางแผนงาน ประสานงานกับหน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นดำเนินการ จัดทำแผนการทำงาน ประสานงานติดต่อวิทยากร จัดซื้อจัดจ้างวัสดุอุปกรณ์และค่าตอบแทนวิทยากร
  ชั้นสรุป สรุปและประเมินผลรายงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม หน่วยงานและองค์กรภายนอก
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 11/9/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายอนุรักษ์ ปลื้มจิตต์
    กิจกรรมที่ 3    ศึกษาดูงานจากสถานประกอบการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นเตรียมการ วางแผนการดำเนินงาน จัดเตรียมงบประมาณ
  ขั้นดำเนินการ จัดทำแผนการทำงาน ติดต่อประสานงานกับผู้เกี่ยวข้อง กำหนดแหล่งเรียนรู้ศึกษาดูงาน
  ชั้นสรุป ประเมินสรุปและรายงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ แหล่งเรียนรู้ภายนอก
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 11/9/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายประสาน สีสันต์

   รวม 3 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม สถานศึกษาอาชีวะ วิทยากรพิเศษภายนอก
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้เรียนสามารถวางแผนการทำงานและดำเนินการจนสำเร็จ
2.ผู้เรียนสามารถทำงานอย่างมีความสุขมุ่งมั่นพัฒนางาน และ ภูมิใจในผลงานของตนเอง
3.ผู้เรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
4.ผู้เรียนมีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริต และ หาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองสนใจ

 

 

รหัสโครงการ 1-24-5
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ (คอมพิวเตอร์)
ชื่อโครงการ การใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 1. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข้อที่ 2. การเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ทั่วถึงครอบคลุมผู้เรียนให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพและมีคุณภาพ
ประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อที่ 1. พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
ข้อที่ 5. ส่งเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 1.1. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
ข้อที่ 3. กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
นโยบายโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ รักประชาธิปไตย ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม ศึกษาต่อ มีงานทำ มีความภูมิใจในสถาบันดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูนันทนา วิราศรี

1. หลักการและเหตุผล

          การยกระดับคุณภาพสถานศึกษาสู่มาตรฐานการศึกษาของชาติพัฒนาผู้เรียน สมรรถนะครูและบุคลากรอย่างเป็นระบบ เพิ่มประสิทธิภาพ ใน การบริหารหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผู้เรียนบรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรการ ศึกษา อย่างเต็มตามศักยภาพ ในการพัฒนาการศึกษานั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องจัดกิจกรรมส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนระดับการศึกษา ขั้นพื้น ฐาน มีความเป็นเลิศด้านวิชาการและมีศักยภาพในทุกด้าน และเป็นการเพิ่มพูนทักษะในการดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข ผู้ เรียน ต้องได้รับการสนับสนุนจัดการประกวดทักษะทางวิชาการและผลงาน ทั้งการให้ ผู้เรียนศึกษาดูงาน เพื่อประกอบการเรียนการสอน นั้น จะ เป็นประโยชน์แก่ ผู้เรียนอย่างยิ่ง เนื่องจากจะเป็นการเพิ่มพูนความรู้ และประสบการณ์ ให้ผู้เรียนโดยตรง อีกทั้ง ยังสอดคล้องกับ นโยบายใน การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่โรงเรียนได้กำหนดไว้

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น
2. เพื่อจัดกิจกรรมให้ผู้เรียน ได้แสดงออกซึ่งความสามารถในด้านวิชาการ
3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนไปประกวดและแสดงศักยภาพในระดับเขตภาค ระดับภาค และประเทศ
4. เพื่อจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรให้ผู้เรียนเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ได้มีโอกาสประสานแนวคิดทางวิชาการกับสภาพจริงที่ได้พบเห็น
5. เพื่อให้ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์มีอุปกรณ์การเรียนการสอนที่สามารถใช้งานได้ครบ

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ผู้เรียนทุกระดับชั้นมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
2. ผู้เรียนทุกระดับชั้นเข้าร่วมกิจกรรม
3. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ มีอุปกรณ์ที่ทันสมัยและสามารถใช้งานได้
  เชิงคุณภาพ
    1. ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และเจตคติที่ดีในการเรียนรู้
2. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะในเชิงวิชาการและในการดำรงชีวิต ซึ่งเกิดจากการแข่งขัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้และประสบการณ์ซึ่งกันและกัน
3. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ มีอุปกรณ์ที่มีคุณภาพ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 11/9/2562          ถึงวันที่ : 10/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    ยกระดับผลสัมฤทธิ์กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์)
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจขั้นตอนการดำเนินงาน/โครงการแต่งตั้งคณะทำงาน เพื่อวางแผน จัดทำเครื่องมือ และจัดทำปฏิทินการดำเนินงาน
2. สำรวจรวบรวมจัดทำข้อมูลนักเรียนรายบุคคล
3.กำหนดเป้าหมาย วิธีการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายบุคคลโดยผู้เรียนมีส่วนร่วม
  ขั้นดำเนินการ 1. จัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
2. วัดและประเมินผลตามสภาพจริงให้สอดคล้องครอบคลุม
3. ซ่อมเสริมผู้เรียนรายบุคคล/ราย กลุ่มระหว่างเรียน
  ชั้นสรุป สรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 10000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ห้องคอมพิวเตอร์
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 11/9/2562     ถึงวันที่ 11/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นางนันทนา วิราศรี
    กิจกรรมที่ 2    ปรับปรุงห้องเรียนคอมพิวเตอร์ซ่อมบำรุงอุปกรณ์เทคโนโลยีเพื่อจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
  ขั้นเตรียมการ 1. กำหนดโครงสร้าง/รูปแบบของห้องเรียน
2. กำหนดเกณฑ์และข้อตกลงในการซ่อมบำรุง
  ขั้นดำเนินการ จัดหาอุปกรณ์ วัสดุ
  ชั้นสรุป ศึกษาวิเคราะห์ผลการดำเนินงานและสรุปรายงานผลการดำเนินงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 10000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ห้องคอมพิวเตอร์
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 11/9/2562     ถึงวันที่ 11/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นางนันทนา วิราศรี
    กิจกรรมที่ 3    การประกวดแข่งขันทักษะการใช้เทคโนโลยี
  ขั้นเตรียมการ 1. จัดประชุมคณะกรรมการจัดโครงการ และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เพื่อหาแนวทางในการจัดโครงการ และวางแผนการดำเนินการจัดโครงการ
2. เขียนโครงการและนำเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการและงบประมาณ
  ขั้นดำเนินการ 1. จัดการแข่งขันทักษะทางวิชาการดังนี้
- ประกวดแข่งขันตามช่วงชั้น
2. มอบเกียรติบัตร โล่รางวัลแก่ผู้เรียน
3. ศึกษาดูงาน
  ชั้นสรุป 1. สังเกตจากความร่วมมือในการร่วมกิจกรรมของผู้ที่เข้าร่วมโครงการ
2. ประเมินจากการตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 5000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ห้องคอมพิวเตอร์
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 11/9/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางนันทนา วิราศรี

   รวม 3 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 15,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 10,000.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 25,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1. ฝ่ายวิชาการ
2. งานทะเบียนวัดผล
3. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์)
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
2.ผู้เรียนมีความพึงพอใจและเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้

 

 

รหัสโครงการ 1-26-5
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานคอมพิวเตอร์ศึกษา
ชื่อโครงการ การดูแลรักษาและการซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 2. การเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ทั่วถึงครอบคลุมผู้เรียนให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพและมีคุณภาพ
ข้อที่ 4. การพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
ประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อที่ 4. ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
ข้อที่ 5. ส่งเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 3. กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
นโยบายโรงเรียน ข้อที่ 5. ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรโรงเรียน โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ข้อที่ 7. เพื่อความรวดเร็ว ถูกต้อง สร้างนักคิด นักปฏิบัติ ใช้เทคโนโลยีช่วยการบริหาร
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูนันทนา วิราศรี

1. หลักการและเหตุผล

           เนื่องจากคอมพิวเตอร์สามารถแสดงผลในทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็น ภาพ เสียง ตลอดจนภาพ เคลื่อนไหว ซึ่งเราเรียกในทางสื่อว่า “สื่อ ผสม (Multimedia)” ดังนั้นจึงได้มีการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนใน โรงเรียนอย่างแพร่หลาย แต่จะมีจำนวน เท่าใดนั้น ขึ้นอยู่กับความสามารถของโรงเรียนนั้น ๆ ที่จะจัดหา แต่อย่างไรก็ตามสิ่งที่หลีกเลี่ยง ไม่ได้ในการใช้อุปกรณ์คือการชำรุด ซึ่ง คอมพิวเตอร์ ก็ไม่ได้แตกต่างและนอกเหนือจากจากอุปกรณ์อื่นๆ กรณีต้องการย่อหน้าที่ 2 มีหลายสาเหตุที่ทำให้คอมพิวเตอร์ชำรุด เช่น ชำรุดจากการใช้งาน ชำรุดจากการขาดการดูแล รักษา หรือชำรุดจากการเสื่อมสภาพ แต่ไม่ ว่าจะชำรุดจากกรณีใดก็ตาม สิ่งที่จะตามมา คือค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุงซึ่งค่อนข้างสูงและ เพื่อให้การปฏิบัติกิจกรรมของโรงเรียน สามารถดำเนินไปได้อย่างต่อเนื่องบนพื้นฐานของ ความพึงพอใจของทุกฝ่ายจึงจำเป็นต้องมีการจัด ซื้อ เปลี่ยนอุปรณ์ และซ่อมบำรุงเพิ่ม เติม

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์เดิมที่ใช้งานให้ใช้งานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ
2. เพื่อปรับปรุงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ให้สามารถใช้งานได้ต่อเนื่องแทนการจัดหาใหม่
3. เพื่อจัดหาอุปกรณ์เพิ่มเติมให้เหมาะสมกับการเรียนการสอนและหน่วยงานต่างๆ ภายในโรงเรียน

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    มีคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้งานได้มากกว่า 90 %
  เชิงคุณภาพ
    โรงเรียนจะมีวัสดุอุปกรณ์ทางด้านเทคโนโลยีเพื่อใช้ในการเรียนการสอนและการพัฒนาหน่วยงานต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 11/9/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    การซ่อมบำรุงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
  ขั้นเตรียมการ ศึกษาวิเคราะหืปัจจัยพื้นฐาน
  ขั้นดำเนินการ ซ่อมและจัดซื้ออุปกรณ์ใหม่
  ชั้นสรุป รายงานผลการดำเนินงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 300000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 11/9/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางนันทนา วิราศรี

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 300,000.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 300,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
มีคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์พร้อมใช้งาน

 

 

รหัสโครงการ 1-16-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาผู้เรียนคิดเป็นทำเป็น
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 1. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข้อที่ 2. การเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ทั่วถึงครอบคลุมผู้เรียนให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพและมีคุณภาพ
ประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อที่ 4. ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 1.2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
ข้อที่ 3. กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
นโยบายโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ รักประชาธิปไตย ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม ศึกษาต่อ มีงานทำ มีความภูมิใจในสถาบันดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ข้อที่ 6. มุ่งเน้นการร่วมคิดร่วมทำ ร่วมรับผิดชอบ ระหว่างบุคลากรของโรงเรียน ชุมชนและผู้เกี่ยวข้องในการใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างคุ้มค่าเพื่อพัฒนาโรงเรียน สร้างศรัทธาต่อชุมชน ร่วมมือจัดกิจกรรมของชุมชนที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและร่วมอนุรักษ์ฯ
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูนุจรีย์ รอดประสิทธิ์

1. หลักการและเหตุผล

           ในสังคมไทยยุคปัจจุบันที่ก้าวสู่ความเป็นสากล กลุ่มเยาวชนคนรุ่นใหม่ในศตวรรษที่ 21 ซึ่งเป็นความหวังและอนาคตที่สำคัญ ของประเทศชาติเพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ถือเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาทุกด้าน แต่เนื่องจากสภาพสังคมในปัจจุบันทำให้นักเรียน ดำเนินชีวิตแบบต่างคนต่างอยู่ ไม่สนใจสิ่งแวดล้อมหรือผู้คนรอบตัว ขาดสัมพันธภาพที่ดีต่อคนรอบข้างและอาจลืมเรื่องความมีน้ำใจ เอื้อเฟื้อ เสียสละ ซึ่งเป็นสิ่งที่สำคัญในการดำเนินชีวิตในสังคมอย่างยิ่ง ดังนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องปลูกฝังอุดมการณ์พัฒนาการเป็น ผู้นำ การเป็นพลเมืองที่ดี ในเรื่องการเป็นผู้นำที่เสียสละ ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมอันดี มีวิสัยทัศน์ที่ถูกต้องและชัดเจนมีความคิด สร้างสรรค์กล้าแสดงออกในสิ่งที่ควร ตลอดจนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่สังคมและผู้อื่น โดยผ่านกิจกรรมค่ายอาสาพัฒนา Interact ซึ่งจะเป็น กิจกรรมที่ช่วยสร้างและกลั่นกรองบุคคล ให้มีหัวใจอาสารับใช้เสียสละเพื่อประโยชน์ส่วนรวม กล้าคิด กล้าทำ กล้าแสดงออกและเป็น แบบอย่างต่อสังคม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศจึงจัดโครงการค่ายอาสา Interact ขึ้น เพื่อส่งเสริมการทำกิจกรรมที่เกิด ประโยชน์แก่สังคมผ่านกิจกรรมที่จัดขึ้นในรูปแบบต่างๆเรียนรู้ประสบการณ์ใหม่ๆ พัฒนาตนเองทั้งทางร่างกาย จิตใจ สังคม สติปัญญา ทำให้เยาวชนเป็นผู้ที่เห็นคุณค่าในตัวเองและส่วนรวม ตามเจตนารมณ์ของ Interact นอกจากนี้ กิจกรรมนี้ยังคณะผู้จัดทำได้น้อมนำหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมาใช้ในการดำเนินงานอีกด้วยและสอดแทรกความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความพอเพียงให้กับนักเรียนและคนในชุมชนที่นักเรียนได้ร่วมกันพัฒนาด้วย

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

เพื่อให้นักเรียนชุมนุม interact มีความประพฤติด้านคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม จิตสังคม และจิตสำนึกตามที่สถานศึกษากำหนด

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1.นักเรียนชุมนุม interact ร้อยละ 85 ขึ้นไป มีความประพฤติด้านคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม จิตสังคม และจิตสำนึกตามที่สถานศึกษากำหนด 2. นักเรียนชุมนุม interact ร้อยละ 80 มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด
  เชิงคุณภาพ
    1.นักเรียนชุมนุม interact มีความประพฤติด้านคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม จิตสังคม และจิตสำนึกตามที่สถานศึกษากำหนดอยู่ในระดับยอดเยี่ยม 2. นักเรียนชุมนุม interact ร้อยละ 80 มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนดอยู่ในระดับดีเลิศ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมค่ายอาสาพัฒนา INTERACT
  ขั้นเตรียมการ 1.ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา 2. ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการกิจกรรม 3. จัดทำโครงการ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร 4. ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการและมอบหมายภาระงาน
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินงานตามโครงการโดยจัดกิจกรรมค่ายอาสาพัฒนา Interact
  ชั้นสรุป 1.เจ้าของโครงการนิเทศติดตามการดำเนินงาน และอำนวยความสะดวกในการดำเนินงานของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามที่โครงการกำหนด 2. สรุปประเมินโครงการ 3. จัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายเคบอย สินสุพรรณ์

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1. โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม 2. ผู้บริหาร คณะครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ และนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม 3. ชุมชนที่เกี่ยวข้อง
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนเป็นผู้มีความประพฤติด้านคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม จิตสังคม และจิตสำนึก 2. นักเรียนทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ 3. นักเรียนทำงานอย่างมีความสุข มุ่งมั่นพัฒนางาน และภูมิใจในผลงานของตนเอง

 

 

รหัสโครงการ 1-16-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 2. การเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ทั่วถึงครอบคลุมผู้เรียนให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพและมีคุณภาพ
ข้อที่ 3. การพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อที่ 1. พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
ข้อที่ 4. ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
ข้อที่ 5. ส่งเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 1.2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
ข้อที่ 3. กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
นโยบายโรงเรียน ข้อที่ 5. ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรโรงเรียน โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ข้อที่ 7. เพื่อความรวดเร็ว ถูกต้อง สร้างนักคิด นักปฏิบัติ ใช้เทคโนโลยีช่วยการบริหาร
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูนุจรีย์ รอดประสิทธิ์

1. หลักการและเหตุผล

           ปัจจุบันนี้สื่อการเรียนการสอนถือเป็นองค์ประกอบสำคัญอย่างหนึ่งที่จะส่งผลให้ผู้เรียนประสบ ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของการ เรียนรู้เนื่องจากสื่อการเรียนการสอนเป็นตัวกลางในการถ่ายทอดองค์ความรู้ต่างๆจากครูผู้สอนไป ยังผู้เรียนทำให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการ ทำกิจกรรม เกิดความกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้หรือรับรู้เรื่องราวต่างๆ นอกจากนี้สื่อการเรียนรู้ยัง ช่วยกระตุ้นความสนใจของผู้เรียนและเกิด การเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว ดังนั้นการนำสื่อมาจัดการเรียนการสอนในแต่ละรายวิชาทำให้ นักเรียนเกิดการพัฒนาตนเองครูผู้สอนสามารถจะ ประยุกต์หรือปรับเปลี่ยนกิจกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสม ทำให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้อย่างถาวรมีประสิทธิภาพและมีคุณภาพมากยิ่ง ขึ้นการสนับสนุนให้ครูได้ผลิตสื่อ/นวัตกรรม การสอนที่มีเนื้อหาสอดคล้องกับ หลักสูตรและได้มาตรฐานจึงมีความจำเป็น และเพื่อให้ครูมี สื่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพสำหรับใช้ประกอบการจัดการเรียนการสอน อีกทั้ง การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ นับว่าเป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่งที่จะเป็นปัจจัยเสริมให้การบริหารงาน ได้มีประสิทธิภาพ ห้องปฏิบัติการทางภาษา/ห้อง ICT/ห้อง SEAR และห้องศูนย์ภาษาของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ มีความจำเป็นต้องมีการปรับปรุงในด้านสภาพแวดล้อมภายในห้อง ทำงานให้แลดูสะอาดตาพร้อมทั้งจัดหาสื่อการ เรียนการสอนที่มีความเหมาะสมและทันสมัยพร้อมให้บริการแก่คณะครูและบุคลากรของ โรงเรียนซึ่งเป็นการสนับสนุนและส่งเสริมให้ผู้ เรียนใฝ่เรียนรู้ แสวงหาความรู้และเรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัยอย่างกว้างขวางและต่อ เนื่องเป็นการเสริมสร้างให้ผู้เรียนเกิด กระบวนการเรียนรู้และเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้และการจัดทำโครงการนี้ คณะผู้จัดทำได้น้อมนำ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมาใช้ในการดำเนินงานอีกด้วย

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1.เพื่อครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศสามารถออกแบบและจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญาได้ 2.เพื่อครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศสามารถใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมผนวกกับการนำบริบทและภูมิปัญญาท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ได้ 3.เพื่อห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคารเรียน สะอาด สวยงามมีสิ่งอำนวยความสะดวกพอเพียงอยู่ในสภาพที่ใช้การ ได้ดี และมีแหล่งการการเรียนรู้ที่เหมาะสมสำหรับผู้เรียน

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศร้อยละ 95 ออกแบบและจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญาได้ 2. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศร้อยละ 95 ออกแบบและจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญาได้ 3. ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการใช้ห้องปฏิบัติการทางภาษา/ห้อง ICT/ห้อง SEAR และห้องศูนย์ภาษาของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ร้อยละ 100 4. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ร้อยละ 89 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
  เชิงคุณภาพ
    1. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมีความรู้ความเข้าใจในการออกแบบและจัดการ เรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญาใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมผนวกกับการนำบริบทและภูมิปัญญาท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้อยู่ในระดับดีขึ้นไป 2. ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการใช้ห้องปฏิบัติการทางภาษา/ห้อง ICT/ห้อง SEARและห้องศูนย์ภาษาของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ในระดับมาก 3. 4. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพอยู่ในระดับดีเลิศ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆในห้อง ICT
  ขั้นเตรียมการ 1.ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา 2. จัดทำโครงการ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร 3. ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการและมอบหมายภาระงาน
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินงานตามโครงการกิจกรรมพัฒนาปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆใน ห้อง ICT
  ชั้นสรุป 1. เจ้าของโครงการ นิเทศติดตามการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการกำหนด 2. สรุปประเมินโครงการ 3. จัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 5000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ห้อง ICT กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายเคบอย สินสุพรรณ์
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆในห้อง SEAR
  ขั้นเตรียมการ 1.ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา 2. จัดทำโครงการ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร 3. ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการและมอบหมายภาระงาน
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินงานตามโครงการกิจกรรมพัฒนาปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆใน ห้อง SEAR
  ชั้นสรุป 1. เจ้าของโครงการ นิเทศติดตามการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการกำหนด 2. สรุปประเมินโครงการ 3. จัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 5000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ห้อง SEAR กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวนุจรีย์ รอดประสิทธิ์
    กิจกรรมที่ 3    กิจกรรมปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆในห้องปฎิบัติการทางภาษา
  ขั้นเตรียมการ 1.ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา 2. จัดทำโครงการ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร 3. ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการและมอบหมายภาระงาน
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินงานตามโครงการกิจกรรมพัฒนาปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆใน ห้องปฎิบัติการทางภาษา
  ชั้นสรุป 1. เจ้าของโครงการ นิเทศติดตามการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการกำหนด 2. สรุปประเมินโครงการ 3. จัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ห้องปฎิบัติการทางภาษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวกนกพร จันทรศร
    กิจกรรมที่ 4    กิจกรรมปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆในห้องศูนย์ภาษา
  ขั้นเตรียมการ 1.ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา 2. จัดทำโครงการ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร 3. ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการและมอบหมายภาระงาน
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินงานตามโครงการกิจกรรมพัฒนาปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆใน ห้องศูนย์ภาษา
  ชั้นสรุป 1. เจ้าของโครงการ นิเทศติดตามการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการกำหนด 2. สรุปประเมินโครงการ 3. จัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ห้องศูนย์ภาษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางเฉิดโฉม ลอยพโยม
    กิจกรรมที่ 5    กิจกรรมผลิตสื่อ/นวัตกรรมการสอนภาษาต่างประเทศ
  ขั้นเตรียมการ 1.ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา 2. จัดทำโครงการ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร 3. ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการและมอบหมายภาระงาน
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินงานตามโครงการกิจกรรมผลิตสื่อ/นวัตกรรมการสอนภาษาต่างประเทศ
  ชั้นสรุป 1. เจ้าของโครงการ นิเทศติดตามการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการกำหนด 2. สรุปประเมินโครงการ 3. จัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 4000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายเคบอย สินสุพรรณ์ และ นางสาวนุจรีย์ รอดประสิทธิ์

   รวม 5 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 14,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 14,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศและนักเรียน โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคารเรียน สะอาด สวยงามมีสิ่งอำนวยความสะดวกพอเพียงอยู่ในสภาพที่ใช้การ ได้ดี และมีแหล่งการเรียนรู้ที่เหมาะสมสำหรับผู้เรียน 2.ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศสามารถออกแบบและจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญาได้ 3. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศสามารถใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมผนวกกับการนำบริบทและภูมิปัญญาท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ได้

 

 

รหัสโครงการ 1-16-7
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 1. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อที่ 1. พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 1.1. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
ข้อที่ 1.2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
นโยบายโรงเรียน
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูนุจรีย์ รอดประสิทธิ์

1. หลักการและเหตุผล

           สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ประกาศนโยบายด้านการปฏิรูปการเรียนรู้โดยเน้น นักเรียนเป็นสำคัญเพื่อพัฒนา กระบวนการเรียนรู้และ พัฒนาคุณลักษณะอย่างหลากหลายให้มีความรู้ ความคิด ทักษะปฏิบัติค่านิยมที่ดี อย่างสมดุล และสอดคล้องกับ การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนภายในปี 2560 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศจึงดำเนินการจัดกิจกรรม ส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษเพื่อให้นักเรียนมีความสนใจในการศึกษา ภาษาอังกฤษอย่างมีประสิทธิภาพและกล้าแสดงออก ในสิ่งที่ดีงาม พัฒนา คุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมหนึ่งที่สามารถฝึกและพัฒนานักเรียนใน ทุกๆ ด้าน ทั้งด้านการเรียนรู้ คุณธรรม จริยธรรมคือ กิจกรรมเข้าค่ายภาษาอังกฤษที่มุ่งเน้นให้นักเรียนได้พัฒนาทักษะทั้ง 4 ทางภาษากับเจ้าของ ภาษา ทักษะการคิดวิเคราะห์ การทำงาน ร่วมกัน และการออกไปเรียนรู้นอกสถานที่เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ในสถานการณ์จริง เนื่องจากโรงเรียนท่ามะกา วิทยาคม ได้ จัดการเรียน การสอนภาษาทั้งภาษาอังกฤษ ภาษาจีน และภาษาญี่ปุ่น ดังนั้นกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศได้ตระหนักถึงความ สำคัญและเล็ง เห็นถึงประโยชน์อันจะเกิดต่อผู้เรียนและสถานศึกษา จึงได้จัดกิจกรรมพัฒนาทักษะทางด้านภาษาอังกฤษ ภาษาจีน และ ภาษาญี่ปุ่น เพื่อ พัฒนาทักษะของผู้เรียนในด้านภาษาให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการฟัง พูด อ่าน เขียนและตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม 2. เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 65 มีทักษะในการฟัง พูด อ่าน เขียนด้านภาษาอังกฤษ ภาษาจีนและภาษาญี่ปุ่นและตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม 2. นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 70 เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่มแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีทักษะในการฟัง พูด อ่าน เขียนด้านภาษาอังกฤษ ภาษาจีนและภาษาญี่ปุ่นและตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมอยู่ในระดับดีขึ้นไป 2. นักเรียนที่เข้ากิจกรรมได้เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน อยู่ในระดับดีขึ้นไป

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมวันคริสต์มาสเชิงวิชาการ
  ขั้นเตรียมการ 1.ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา 2.ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการกิจกรรม 3.จัดทำโครงการ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร 4.ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการและมอบหมายภาระงาน
  ขั้นดำเนินการ 1. ประชาสัมพันธ์กิจกรรมวันคริสต์มาสเชิงวิชาการ 2.ดำเนินงานตามโครงการกิจกรรมวันคริสต์มาสเชิงวิชาการ 3.จัดกิจกรรมวันคริสต์มาสเชิงวิชาการ 4. ประเมินความพึงพอใจของคุณครูและนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมวันคริสต์มาสเชิงวิชาการ
  ชั้นสรุป 1.เจ้าของโครงการ นิเทศติดตามการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการกำหนด 2.สรุปประเมินโครงการและจัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 8000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 10/9/2562     ถึงวันที่ 10/10/2562
  ผู้รับผิดชอบ นายเคบอย สินสุพรรณ์ และ นางสาวนุจรีย์ รอดประสิทธิ์
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมค่ายภาษาอังกฤษ
  ขั้นเตรียมการ 1.ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน 2.เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการเพื่อขออนุมัติ 3.เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ 4.ออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
  ขั้นดำเนินการ 1.ประชุมคณะกรรมการเพื่อเตรียมดำเนินการ 2.เตรียมเนื้อหาเอกสารในการจัดกิจกรรม 3.ประชาสัมพันธ์รับสมัครนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม 4.ติดต่อประสานงานวิทยากรชาวต่างประเทศและติดต่อประสานงานแหล่งเรียนรู้ต่างๆ 5.ดำเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ
  ชั้นสรุป 1.ประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมค่าย 2.นำผลการปฏิบัติมาปรับปรุงกิจกรรม 3.นำกิจกรรมที่ปรับปรุงแล้ว ใช้เป็นต้นแบบของโครงการต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายเคบอย สินสุพรรณ์ และ นางสาวนุจรีย์ รอดประสิทธิ์

   รวม 2 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 8,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 8,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
นักเรียน ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ และคณะครูโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียนที่ได้รับการเข้าร่วมกิจกรรมมีทักษะภาษาอังกฤษ ภาษาจีน และภาษาญี่ปุ่น ทุกทักษะสูงขึ้น 2.นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกันอย่างมีความสุข

 

 

รหัสโครงการ 1-30-4
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 1. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อที่ 1. พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 3. กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
นโยบายโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ รักประชาธิปไตย ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม ศึกษาต่อ มีงานทำ มีความภูมิใจในสถาบันดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูนุจรีย์ รอดประสิทธิ์

1. หลักการและเหตุผล

           ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติมปี 2545 กำหนดให้ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ โดย จัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล อยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า มี ศักดิ์ศรี มีความสุขบนพื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนั้นครูควรการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงตามมาตรฐานการ เรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถนำไปจัดกิจกรรมได้จริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิต ประจำวันได้ มีนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กำหนดโครงสร้างโดยมุ่งส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียนเพิ่มเติมจากกลุ่ม สาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม ให้ผู้เรียนค้นพบความสามารถความถนัดของตนเอง โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมได้จัดโครงการส่งเสริมกิจกรรม พัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด ผลการประเมินโครงการพบว่าสามารถบรรลุวัตถุประสงค์อยู่ในระดับดีเลิศ แต่ต้องปรับรูปแบบ การจัดกิจกรรมชุมนุมให้นักเรียนสามารถเลือกเรียนได้อย่างหลากหลาย ทางกลุ่มสาระการเรียนรู้กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจึงจัดทำโครงการ พัฒนาคุณภาพกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนขึ้น และได้น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนินงานและสอดแทรกความรู้ ความเข้าใจให้กับนักเรียน

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

เพื่อการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    ครูผู้สอนร้อยละ 70 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันให้กับนักเรียนได้
  เชิงคุณภาพ
    ครูผู้สอนจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันให้กับนักเรียนได้ ปฏิบัติอยู่ในระดับดีขึ้นไป

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมชุมนุมนักเรียน
  ขั้นเตรียมการ 1. ศึกษาโครงการและการดำเนินการของปีที่แล้ว 2. ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้องและวางแผนการปฏิบัติงาน 3. เขียนโครงการเสนอฝ่ายวิชาการและผู้อำนวยการ 4. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งการปฏิบัติหน้าที่ต่างๆ 5. จัดเตรียมเอกสารสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุมให้ครูทุกท่าน
  ขั้นดำเนินการ 1. ปฐมนิเทศให้กับนักเรียนเกี่ยวกับการเลือกกิจกรรมชุมนุม 2. นักเรียนดำเนินการเลือกชุมนุมที่ตนเองสนใจและถนัด 3. ครูดำเนินการจัดกิจกรรมชุมนุม
  ชั้นสรุป 1. ครูที่ปรึกษากิจกรรมชุมนุม สรุปรายงานผลการจัดกิจกรรมตลอดภาคเรียน 2. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนส่งผลการเข้าร่วมกิจกรรมชุมนุมให้งานทะเบียน-วัดผล 3. จัดทำรายงานผลการดำเนินกิจกรรมชุมนุม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 4000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวนุจรีย์ รอดประสิทธิ์

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 4,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 4,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผู้บริหาร คณะครู บุคลากร และนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผู้เรียนได้เลือกเรียนกิจกรรมชุมนุมที่ตอบสนองความต้องการ ความสามารถความถนัด และความสนใจของผู้เรียน 2. ครูได้การจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงตามมาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถนำไปจัดกิจกรรมได้จริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ชีวิตประจำวันได้ มีนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้

 

 

รหัสโครงการ 1-16-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูผกาภัทร ธรรมบัญชา

1. หลักการและเหตุผล

           สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ประกาศนโยบายด้านการปฏิรูปการเรียนรู้โดยเน้นนักเรียนเป็นสำคัญเพื่อ พัฒนา กระบวนการเรียนรู้และพัฒนาคุณลักษณะอย่างหลากหลายให้มีความรู้ ความคิด ทักษะปฏิบัติค่านิยมที่ดีอย่างสมดุล และ สอดคล้อง กับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนภายในปี 2558 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศจึงดำเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริม และพัฒนาการ เรียนรู้ภาษาจีนเพื่อให้นักเรียนมีความสนใจในการศึกษาภาษาจีนอย่างมีประสิทธิภาพและกล้าแสดงออกในสิ่งที่ดีงาม พัฒนา คุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมหนึ่งที่สามารถฝึกและพัฒนานักเรียนในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านการเรียนรู้ คุณธรรม จริยธรรมคือ กิจกรรมเข้าค่ายภาษาจีนที่มุ่งเน้นให้นักเรียนได้พัฒนาทักษะทั้ง 4 ทางภาษากับเจ้าของภาษา ทักษะการคิดวิเคราะห์ การทำงาน ร่วมกัน และการออกไปเรียนรู้นอกสถานที่เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ในสถานการณ์จริง เนื่องจากโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ได้จัดการเรียนการสอนภาษาจีน ดังนั้นกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ได้ตระหนักถึงความสำคัญและเล็ง เห็นถึงประโยชน์อันจะเกิดต่อผู้เรียนและสถานศึกษา จึงได้จัดค่ายทางภาษาได้แก่ ค่ายภาษาจีน เพื่อพัฒนา ทักษะของผู้เรียนในด้านภาษาให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น จากปีการ ศึกษา 2561 ที่ผ่านมานักเรียนที่เข้าร่วมค่ายภาษามีความพึงพอใจ ในการเข้าค่ายเป็นอย่างมาก นักเรียนได้รับ ความรู้ ทักษะทางภาษาและความสนุกสนานจากการเข้าค่ายภาษาจีน สร้างทักษะทางด้านภาษาให้นักเรียนมีประสิทธิภาพสูงขึ้นและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพทางด้านวิชาภาษาจีน และในการจัดโครงการกิจกรรมค่ายภาษาคณะผู้ดำเนินการได้น้อมนำหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลย เดชมาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

๑. เพื่อให้นักเรียนมีความสามารถในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ทางด้านวิชาภาษาจีน ๒. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพทางด้านวิชาภาษาจีน

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    ๑)ผู้เรียนร้อยละ ๖๕ มีความสามารถในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ทางด้านวิชาภาษาจีน ๒)ผู้เรียนร้อยละ ๗๐ มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพทางด้านวิชาภาษาจีน
  เชิงคุณภาพ
    ๑) นักเรียนมีความสามารถในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ทางด้านวิชาภาษาจีนอยู่ในระดับดีขึ้นไป ๒) นักเรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพทางด้านวิชาภาษาจีนอยู่ในระดับดีขึ้นไป

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 31/3/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมค่ายภาษาจีน
  ขั้นเตรียมการ ๑.ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน ๒.เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการเพื่อขออนุมัติ ๓.เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ๔.ออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 5.ประชุมคณะกรรมการเพื่อเตรียมดำเนินการ
  ขั้นดำเนินการ ๑.เตรียมเนื้อหาเอกสารในการจัดกิจกรรม ๒.ประชาสัมพันธ์รับสมัครนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม ๓.ติดต่อประสานงานวิทยากรชาวต่างประเทศและติดต่อประสานงานแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ๔.ดำเนินการเข้าค่ายภาษาจีน
  ชั้นสรุป ๑.ประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่เข้าค่ายภาษาจีน ๒.นำผลการปฏิบัติมาปรับปรุงกิจกรรม ๓.นำกิจกรรมที่ปรับปรุงแล้ว ใช้เป็นต้นแบบของโครงการต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 40000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 31/3/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวผกาภัทร ธรรมบัญชาและนางสาวณัฐชฎา ทองเอีย
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆในห้องศูนย์วิชาภาษาจีน
  ขั้นเตรียมการ ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินงานตามโครงการกิจกรรมพัฒนาปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆในห้องศูนย์วิชาภาษาจีน
  ชั้นสรุป สรุปประเมินโครงการ จัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 20000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 31/3/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวผกาภัทร ธรรมบัญชา และ นางสาวณัฐชฎา ทองเอีย
    กิจกรรมที่ 3    กิจกรรมพัฒนาทักษะสู่ความเป็นเลิศทางภาษาจีน
  ขั้นเตรียมการ ๑. ประชุมวางแผนการดำเนินงาน ๒. แจ้งกิจกรรมและหลักเกณฑ์การประกวดแข่งขัน ๓. ดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินการประกวด แข่งขันกิจกรรมต่างๆ ในระดับเขต ระดับภาคและระดับประเทศ
  ชั้นสรุป ๑. สรุปผลการแข่งขัน ในระดับเขต ระดับภาค และระดับประเทศ ๒. สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 40000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 31/3/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวผกาภัทร ธรรมบัญชา และ นางสาวณัฐชฎา ทองเอีย

   รวม 3 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 20,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 80,000.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 100,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๑. โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ๒. ผู้บริหาร คณะครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ และนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
๑. นักเรียนมีความสามารถในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ทางด้านวิชาภาษาจีน ๒. นักเรียนนักเรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพทางด้านวิชาภาษาจีน

 

 

รหัสโครงการ 1-28-5
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน โครงการห้องเรียนพิเศษ Mini English Program
ชื่อโครงการ การพัฒนาโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 2. การเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ทั่วถึงครอบคลุมผู้เรียนให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพและมีคุณภาพ
ประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อที่ 4. ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 1.2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
นโยบายโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ รักประชาธิปไตย ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม ศึกษาต่อ มีงานทำ มีความภูมิใจในสถาบันดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ข้อที่ 5. ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรโรงเรียน โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูกนกพร จันทรศร

1. หลักการและเหตุผล

          สืบเนื่องมาจากนโยบายการปฏิรูปการศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ที่กำหนดให้มี การ ปรับปรุงคุณภาพการศึกษาตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาของชาติซึ่งสถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะต้องปฏิบัติตาม นโยบาย โดยเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษาทั้งระบบ ตั้งแต่การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาซึ่งมีจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็น คนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีโลก เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ดังนั้นสถาน ศึกษาจึงดำเนินการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการเป็นภาษาอังกฤษ(EP/MEP)จึงเห็นสมควรให้มีการพัฒนา คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา โดยเน้นด้านการพัฒนาทักษะทางภาษาอังกฤษให้กับผู้เรียน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษาดูงาน นอกสถานที่ เพื่อเป็นการเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ อีกทั้งเป็นการเรียนรู้ถึงวัฒนธรรมของประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ หรือภาษาราชการ การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมและใช้สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยพร้อมให้บริการแก่ คณะครูและผู้เรียน ซึ่งเป็นการสนับสนุนให้ผู้เรียนใฝ่เรียนรู้ แสวงหาความรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง และโครงการนี้ได้น้อมนำหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน เพื่อจะส่งผลให้เกิด ประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอนให้กับผู้เรียนเพื่อเป็นกำลังสำคัญของชาติต่อไป

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน มีความรักสามัคคีกันข้อความ
2. เพื่อให้ครูได้ศึกษาวิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในวิชาชีพที่ตนรับผิดชอบ และนำมาพัฒนาการเรียนการสอน
3. เพื่อให้ผู้เรียนกล้าแสดงออก มีความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ
4. เพื่อให้ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคารเรียน สะอาดและปลอดภัยมีสิ่งอำนวยความสะดวกพอเพียง อยู่ในสภาพที่ใช้การได้ดี สภาพแวดล้อมร่มรื่น และมีแหล่งการเรียนรู้สำหรับผู้เรียน
5. เพื่อให้นักเรียนได้พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ เกิดแรงบันดาลใจในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ จนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษสูงขึ้น

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ผู้เรียนโปรแกรม MEP ร้อยละ80 ได้เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน มีความรักสามัคคีกัน
2. ผู้เรียนโปรแกรม MEP ร้อยละ80 ได้ฝึกฝนทักษะภาษาอังกฤษในสถานการณ์ต่างๆ และเพิ่มพูนประสบการณ์มากขึ้น
3. ผู้เรียนโปรแกรม MEP ร้อยละ 80 มีความคิดริเริ่ม และสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ
4. ผู้เรียนโปรแกรม MEP ร้อยละ 80 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษสูงขึ้น
  เชิงคุณภาพ
    1. ผู้เรียนโปรแกรม MEP เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน มีความรักสามัคคีกัน
2. ผู้เรียนโปรแกรม MEP ได้ฝึกฝนทักษะภาษาอังกฤษในสถานการณ์ต่างๆ และเพิ่มพูนประสบการณ์มากขึ้น
3. ผู้เรียนโปรแกรม MEP มีความคิดริเริ่ม และสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ
4. ผู้เรียนโปรแกรม MEP เข้าใจถึงความสำคัญของวิชาภาษาอังกฤษ เกิดแรงบันดาลใจในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ จนมีผลมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษสูงขึ้น

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมเข้าค่ายพัฒนาทักษะทางภาษาอังกฤษและศึกษาดูงานนอกสถานที่
  ขั้นเตรียมการ 1.ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการ
2.จัดทำโครงการ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร
3.ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการและมอบหมายภาระงาน
  ขั้นดำเนินการ 1.ดำเนินงานตามโครงการโดยจัดกิจกรรมเข้าค่ายพัฒนาทักษะทางภาษาอังกฤษ และศึกษาดูงานนอกสถานที่ (English Camp)
2.เจ้าของโครงการ นิเทศติดตามการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการกำหนด
  ชั้นสรุป 1.สรุปประเมินกิจกรรม
2.รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ จ.กาญจนบุรี
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวกนกพร จันทรศร
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมทัศนศึกษาและศึกษาดูงานด้านวัฒนธรรมประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่หรือภาษาราชการ
  ขั้นเตรียมการ 1.ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการ
2.จัดทำโครงการ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร
3.ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการและมอบหมายภาระงาน
  ขั้นดำเนินการ 1.ดำเนินงานตามโครงการโดยจัดกิจกรรมทัศนศึกษาดูงานด้านวัฒนธรรมในประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่หรือภาษาราชการ
2.เจ้าของโครงการ นิเทศติดตามการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการกำหนด
  ชั้นสรุป 1.สรุปประเมินกิจกรรม
2.รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ ประเทศในกลุ่มอาเซียน
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวกนกพร จันทรศร
    กิจกรรมที่ 3    กิจกรรมปรับปรุงห้องเรียนพิเศษ MEP
  ขั้นเตรียมการ 1.ประชุมครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ปรึกษาการจัดกิจกรรม
2.สำรวจตรวจสอบวัสดุ อุปกรณ์ ที่ต้องใช้ในแต่ละกิจกรรม
3.จัดงบประมาณในการดำเนินงานของแต่ละกิจกรรม
4.กำหนดผู้รับผิดชอบกิจกรรม
  ขั้นดำเนินการ 1.จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
2.ตรวจรับ
3.ครูนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน ทั้งภาคเรียนที่ 1 และ 2
  ชั้นสรุป 1.สรุปประเมินกิจกรรม
2.รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวกนกพร จันทรศร
    กิจกรรมที่ 4    กิจกรรมดูแลครูต่างชาติ
  ขั้นเตรียมการ 1.ประชุมครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ปรึกษาการจัดกิจกรรม
2.จัดงบประมาณในการดำเนินงาน
3.กำหนดผู้รับผิดชอบกิจกรรม
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดกิจกรรม
  ชั้นสรุป 1.สรุปประเมินกิจกรรม
2.รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวกนกพร จันทรศร
    กิจกรรมที่ 5    กิจกรรมการแข่งขันทักษะภาษาอังกฤษและการจัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงานนักเรียน (Open House)
  ขั้นเตรียมการ 1.ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินการ
2.ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นดำเนินการ 1.ดำเนินการเข้าร่วมการแข่งขันทักษะภาษาอังกฤษ
2.ดำเนินการเข้าร่วมการจัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงานนักเรียน
  ชั้นสรุป 1.สรุปประเมินกิจกรรม
2.รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มโรงเรียนEP/MEP ภาคกลาง และภาคตะวันออก
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวกนกพร จันทรศร

   รวม 5 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผู้บริหาร คณะครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ และนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียนโปรแกรมMEP มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น
2.นักเรียนมีทัศนคติที่ดีในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ และมีเป้าหมายในชีวิตมากขึ้น

 

 

รหัสโครงการ 1-16-7
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูกัญญารัตน์ เรือนอินทร์

1. หลักการและเหตุผล

           สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ประกาศนโยบายด้านการปฏิรูปการเรียนรู้โดยเน้นนักเรียนเป็นสำคัญเพื่อ พัฒนา กระบวนการเรียนรู้และพัฒนาคุณลักษณะอย่างหลากหลายให้มีความรู้ ความคิด ทักษะปฏิบัติค่านิยมที่ดีอย่าง สมดุล และสอดคล้อง กับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนภายในปี 2558 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศจึงดำเนินการ จัดกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาการ เรียนรู้ภาษาญี่ปุ่นเพื่อให้นักเรียนมีความสนใจในการศึกษาภาษาญี่ปุ่นอย่างมีประสิทธิภาพและกล้าแสดงออกในสิ่งที่ดีงาม พัฒนา คุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมหนึ่งที่สามารถฝึกและพัฒนานักเรียนในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านการเรียนรู้ คุณธรรม จริยธรรมคือ กิจกรรมเข้าค่ายภาษาญี่ปุ่นที่มุ่งเน้นให้นักเรียนได้พัฒนาทักษะทั้ง 4 ทางภาษากับเจ้าของภาษา ทักษะการคิดวิเคราะห์ การทำงาน ร่วมกัน และการออกไปเรียนรู้นอกสถานที่เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ในสถานการณ์จริง เนื่องจากโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ได้จัดการเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่น ดังนั้นกลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ได้ตระหนักถึงความสำคัญและเล็งเห็นถึงประโยชน์อันจะเกิดต่อผู้เรียนและสถานศึกษา จึงได้จัดค่ายทางภาษาได้แก่ ค่ายภาษาญี่ปุ่น เพื่อพัฒนาทักษะของผู้เรียนในด้านภาษาให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้น จากปีการศึกษา 2562 ที่ผ่านมานักเรียนที่เข้าร่วมค่ายภาษามีความพึงพอใจในการเข้าค่ายเป็นอย่าง มาก นักเรียนได้รับ ความรู้ ทักษะทางภาษาและความสนุกสนานจากการเข้าค่ายภาษา และยังเป็นการเสริมสร้างทักษะ ทางด้านภาษาให้นักเรียนมี ประสิทธิภาพสูงขึ้นและในการจัดโครงการกิจกรรมค่ายภาษาคณะผู้ดำเนินการได้น้อมนำหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน

กรณีต้องการย่อหน้าที่ 2

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการฟัง พูดอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคำนวณด้านภาษาญี่ปุ่นและตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม
2. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพด้านภาษาญี่ปุ่น

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนที่เข้าค่ายภาษาร้อยละ 65 มีความสามารถในการฟัง พูดอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคำนวณด้านภาษาญี่ปุ่นและตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม
2. นักเรียนที่เข้าค่ายภาษาร้อยละ 70 มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพด้านภาษาญี่ปุ่น
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการ คิดคำนวณด้านภาษาญี่ปุ่นและตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมอยู่ในระดับดีขึ้นไป
2. นักเรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพด้านภาษาญี่ปุ่นอย่ในระดับดีขึ้นไป

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 31/3/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมค่ายภาษาญี่ปุ่น
  ขั้นเตรียมการ 1.ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน 2.เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการเพื่อขออนุมัติ 3.เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ 4.ออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 5.ประชุมคณะกรรมการเพื่อเตรียมดำเนินการ
  ขั้นดำเนินการ 1.เตรียมเนื้อหาเอกสารในการจัดกิจกรรม 2.ประชาสัมพันธ์รับสมัครนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม 3.ติดต่อประสานงานวิทยากรชาวต่างประเทศและติดต่อประสานงานแหล่งเรียนรู้ต่างๆ 4.ดำเนินการเข้าค่ายภาษา
  ชั้นสรุป 1.ประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่เข้าค่าย 2.นำผลการปฏิบัติมาปรับปรุงกิจกรรม 3.นำกิจกรรมที่ปรับปรุงแล้ว ใช้เป็นต้นแบบของโครงการต่อไป
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 40000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 31/3/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวณัฐชนก บุตรดาวงษ์และนางกัญญารัตน์ เรือนอินทร์
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมปรับปรุงอุปกรรณ์ต่างๆในห้องศูนย์วิชาภาษาญี่ปุ่น
  ขั้นเตรียมการ ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินงานตามโครงการกิจกรรมพัฒนาปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆในห้องศูนย์วิชาภาษาญี่ปุ่น
  ชั้นสรุป สรุปประเมินโครงการ จัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 31/3/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวณัฐชนก บุตรดาวงษ์และนางกัญญารัตน์ เรือนอินทร์
    กิจกรรมที่ 3    กิจกรรมพัฒนาทักษะสู่ความเป็นเลิศทางภาษาญี่ปุ่น
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมวางแผนการ 2. แจ้งกิจกรรมและหลักเกณฑ์การประกวดแข่งขัน 3. ดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินการประกวด แข่งขันกิจกรรมต่างๆ ในระดับเขต ระดับภาค ระดับประเทศ
  ชั้นสรุป 1. สรุปผลการแข่งขัน ระดับเขต ระดับภาค ระดับประเทศ 2. สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 40000 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 31/3/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวณัฐชนก บุตรดาวงษ์และนางกัญญารัตน์ เรือนอินทร์

   รวม 3 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 80,000.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 80,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม 2 ผู้บริหาร คณะครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ และนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
1 นักเรียนที่ได้รับการเข้าค่ายภาษามีทักษะ ภาษาญี่ปุ่น ทุกทักษะสูงขึ้น 2 นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมค่ายภาษาฯได้มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพด้านภาษาญี่ปุ่น ระหว่างกันอย่างมีความสุข

 

 

รหัสโครงการ 1-08-5
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานแนะแนวทางการศึกษา
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ กิจกรรมส่งเสริมระบบแนะแนว
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ข้อที่ 1. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข้อที่ 2. การเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ทั่วถึงครอบคลุมผู้เรียนให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพและมีคุณภาพ
ข้อที่ 4. การพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
ประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อที่ 1. พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
ข้อที่ 4. ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
ข้อที่ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ 1.2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
นโยบายโรงเรียน ข้อที่ 1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ รักประชาธิปไตย ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม ศึกษาต่อ มีงานทำ มีความภูมิใจในสถาบันดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ข้อที่ 4. เชิดชูความดีของนักเรียน ครู ชุมชนที่ดีต่อโรงเรียน พัฒนาบุคลากรให้มีประสิทธิผลและบังเกิดประสิทธิภาพ
ข้อที่ 5. ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรโรงเรียน โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูยุทธิชัย อวยชัย

1. หลักการและเหตุผล

          ตามที่งานแนะแนวได้ดำเนินการตามโครงการในปีการศึกษา 2559 ผลปรากฏว่าการดำเนินงานเป็นไปด้วยดีจึงเห็นสมควรดำเนินการ ใน ปี การศึกษา2560 ตามเหตุผลดังนี้ ด้วยปัจจุบันสภาพสังคมมีการเปลี่ยนแปลงหลายๆด้าน จึงทำให้นักเรียนมีปัญหาที่สำคัญคือเรื่องการ ศึกษาต่อเพื่อการประกอบอาชีพ ตลอดจนปัญหาด้านความประพฤติซึ่งมีผลทำให้มีพฤติกรรมที่มีปัญหามากขึ้น ดังนั้นการให้ความช่วยเหลือ นักเรียนให้รู้จักเข้าใจตนเอง รู้จักโลกกว้างทางการศึกษา โลกกว้างทางอาชีพ โลกของงานและสิ่งแวดล้อม รู้จักเลือกตัดสินใจและนำวิธี การแนะแนวมาใช้ในการ วางแผนชีวิตจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนา ระบบการบริหารงานแนะแนวอย่างเป็นระบบเพื่อเป็น แนวทาง ในการช่วยเหลือ นักเรียนต่อไป งานแนะแนวจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นโดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลย เดช มาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1.เพื่อให้นักเรียนรู้จักเข้าใจตนเอง รู้ถึงความสามารถ ความสนใจ และความถนัด 2.เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต หาความรู้ที่ตนเองสนใจ 3.เพื่อให้นักเรียนสามารถตัดสินใจเลือกได้อย่างเหมาะสมกับตนเองในด้านการศึกษาต่อและอาชีพ 4.เพื่อจัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนที่มีประสิทธิภาพ และครอบคลุมถึงผู้เรียนทุกคน

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ผู้เรียนร้อยละ 97 มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริตและหาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองสนใจ
  เชิงคุณภาพ
    1. ผู้เรียนมีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพที่สุจริตและหาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองสนใจในระดับดีเยี่ยม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมสอนเสริม GAT เพื่อเตรียมความพร้อมสู่มหาวิทยาลัย
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะกรรมการการแนะแนว 2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ 1. ดำเนินกิจกรรมตามแผน
  ชั้นสรุป สรุปและรายงานผล
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 10000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/1/2563     ถึงวันที่ 20/2/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายยุทธิชัย อวยชัย
    กิจกรรมที่ 2    รับนักเรียนโควตา
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะกรรมการการแนะแนว 2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ 1. ดำเนินกิจกรรมตามแผน
  ชั้นสรุป สรุปและรายงานผล
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/11/2562     ถึงวันที่ 31/1/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายยุทธิชัย อวยชัย
    กิจกรรมที่ 3    แนะแนวสัญจร
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะกรรมการการแนะแนว 2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ 1. ดำเนินกิจกรรมตามแผน
  ชั้นสรุป สรุปและรายงานผล
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 5000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/12/2562     ถึงวันที่ 31/1/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายยุทธิชัย อวยชัย
    กิจกรรมที่ 4    ปัจฉิมนิเทศ
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะกรรมการการแนะแนว 2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ 1. ดำเนินกิจกรรมตามแผน
  ชั้นสรุป สรุปและรายงานผล
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 13000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/2/2563     ถึงวันที่ 28/2/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสิริลักษณ์ ภัทรเวียงกาญจน์
    กิจกรรมที่ 5    ติดป้ายประชาสัมพันธ์ผลการศึกษาต่อของนักเรียน
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะกรรมการการแนะแนว 2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ 1. ดำเนินกิจกรรมตามแผน
  ชั้นสรุป สรุปและรายงานผล
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 10000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/3/2563     ถึงวันที่ 30/6/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายยุทธิชัย อวยชัย
    กิจกรรมที่ 6    ปฐมนิเทศนักเรียนใหม่
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะกรรมการการแนะแนว 2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ 1. ดำเนินกิจกรรมตามแผน
  ชั้นสรุป สรุปและรายงานผล
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 20000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/4/2563     ถึงวันที่ 31/5/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายยุทธิชัย อวยชัย
    กิจกรรมที่ 7    มอบทุนการศึกษา
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะกรรมการการแนะแนว 2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ 1. ดำเนินกิจกรรมตามแผน
  ชั้นสรุป สรุปและรายงานผล
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 5000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 16/5/2563     ถึงวันที่ 31/7/2563
  ผู้รับผิดชอบ นางสิริลักษณ์ ภัทรเวียงกาญจน์
    กิจกรรมที่ 8    อบรมนักเรียนเพื่อนที่ปรึกษา YC
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะกรรมการการแนะแนว 2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ 1. ดำเนินกิจกรรมตามแผน
  ชั้นสรุป สรุปและรายงานผล
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 4000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 11/7/2563     ถึงวันที่ 11/10/2563
  ผู้รับผิดชอบ นายยุทธิชัย อวยชัย

   รวม 8 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 67,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 67,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- กลุ่มบริหารงานวิชาการ - ฝ่ายอาคารสถานที่ - ฝ่ายประชาสัมพันธ์ของโรงเรียน - อื่นๆ
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียนรู้จักเข้าใจตนเอง รู้ถึงความสามารถ ความสนใจ และความถนัด 2.นักเรียนมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต หาความรู้ที่ตนเองสนใจ 3.นักเรียนสามารถตัดสินใจเลือกได้อย่างเหมาะสมกับตนเองในด้านการศึกษาต่อและอาชีพ 4.การจัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนมีประสิทธิภาพ และครอบคลุมถึงผู้เรียนทุกคน

 

 

รหัสโครงการ 1-08-10
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2563
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานบริหารงานวิชาการ
กลุ่มสาระ/งาน งานแนะแนวทางการศึกษา
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริม สนับสนุนและช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
กลยุทธ์
ผู้เสนอโครงการ/งาน ครูยุทธิชัย อวยชัย

1. หลักการและเหตุผล

           ด้วยปัจจุบันสภาพสังคมมีการเปลี่ยนแปลงหลาย ๆ ด้าน จึงทำให้นักเรียนมีปัญหาที่สำคัญคือเรื่องการ ศึกษาต่อเพื่อการประกอบ อาชีพ ตลอดจนปัญหาด้านความประพฤติซึ่งมีผลทำให้มีพฤติกรรมที่มีปัญหามากขึ้น ดังนั้นการให้ความช่วยเหลือ นักเรียนให้รู้จักเข้าใจ ตนเอง รู้จักโลกกว้างทางการศึกษา โลกกว้างทางอาชีพ โลกของงานและสิ่งแวดล้อม รู้จักเลือกตัดสินใจและนำวิธี การแนะแนวมาใช้ใน การ วางแผนชีวิตจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนา ระบบการบริหารงานแนะแนวอย่างเป็นระบบเพื่อเป็นแนวทาง ในการช่วยเหลือ นักเรียนต่อไป งานแนะแนวจึงได้จัดทำโครงการโครงการส่งเสริม สนับสนุนและช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมนี้ขึ้น โดย น้อมนำหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน

2. วัตถุประสงต์ของโครงการ

1. เพื่อช่วยเหลือนักเรียนยากจน (ยกเว้นเงินบำรุงการศึกษา) 2. เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมนักเรียนดีเด่น 2. เพื่อสนับสนุนนักเรียนดีเด่นศึกษาต่อในสถานศึกษาเดิม

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ผู้เรียนร้อยละ 7 ได้รับการช่วยเหลือเรื่องการยกเว้นเงินบำรุงการศึกษา 2. ผู้เรียนร้อยละ 2 ได้รับการช่วยเหลือเรื่องการส่งเสริมนักเรียนดีเด่น 3. ผู้เรียนร้อยละ 1 ได้รับการช่วยเหลือเรื่องการสนับสนุนนักเรียนเรียนดีให้ศึกษาต่อในสถาบันเดิม
  เชิงคุณภาพ
    1. ผู้เรียนได้รับการช่วยเหลือเรื่องการยกเว้นเงินบำรุงการศึกษา 2. ผู้เรียนได้รับการช่วยเหลือเรื่องการส่งเสริมนักเรียนดีเด่น 2. ผู้เรียนได้รับการช่วยเหลือเรื่องการสนับสนุนนักเรียนเรียนดีให้ศึกษาต่อในสถาบันเดิม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2562          ถึงวันที่ : 30/9/2563

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมช่วยเหลือนักเรียนเรื่องการยกเว้นเงินบำรุงการศึกษา
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะกรรมการการแนะแนว 2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินการตามโครงการ
  ชั้นสรุป สรุปและรายงานผล
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2562
  ผู้รับผิดชอบ นายยุทธิชัย อวยชัย
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมสนับสนุน ส่งเสริมนักเรียนดีเด่น
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะกรรมการการแนะแนว 2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินการตามโครงการ
  ชั้นสรุป สรุปและรายงานผล
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2562
  ผู้รับผิดชอบ นายยุทธิชัย อวยชัย
    กิจกรรมที่ 3    กิจกรรมสนับสนุนนักเรียนเรียนดีให้ศึกษาต่อในสถาบันเดิม
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะกรรมการการแนะแนว 2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ดำเนินการตามโครงการ
  ชั้นสรุป สรุปและรายงานผล
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2562     ถึงวันที่ 30/9/2562
  ผู้รับผิดชอบ นายยุทธิชัย อวยชัย

   รวม 3 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- ฝ่ายบริหารงานงบประมาณ - ฝ่ายบริหารงานวิชาการ
7. ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผู้เรียนได้รับการช่วยเหลือเรื่องการยกเว้นเงินบำรุงการศึกษา 2. ผู้เรียนได้รับการช่วยเหลือเรื่องการส่งเสริมนักเรียนดีเด่น 3. ผู้เรียนได้รับการช่วยเหลือเรื่องการสนับสนุนนักเรียนเรียนดีให้ศึกษาต่อในสถาบันเดิม