ชื่อโครงการ/ วัตถุประสงค์ |
สนอง มฐ.รร. ข้อที่ |
เป้าหมาย | ตัวชี้วัด/เกณฑ์การประเมิน โครงการ |
ค่าใช้จ่าย (บาท) |
ขั้นตอนการดำเนินงาน ของแต่ละกิจกรรม |
ระยะเวลา ดำเนินการ |
ผู้รับผิดชอบ |
โครงการส่งเสริมความรู้ความสามารถและทักษะของนักเรียน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เรียนได้แสดงความรู้ความสามารถทางทักษะวิชาการ 2. เพื่อให้ผู้เรียนได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันอันจะนำไปสู่การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ 3. เพื่อให้นักเรียนใช้ทักษะการจัดการได้ 4. เพื่อให้ครูและนักเรียนนำความรู้และผลงานจากกการเรียนการสอนมาจัดนิทรรศการ 5. เพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถของนักเรียนในดีขึ้น |
เชิงปริมาณ 1.นักเรียนร้อยละ 80 เห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม 2.นักเรียนร้อยละ 85 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้เกียรติผู้อื่น 3.นักเรียนร้อยละ 85 สามารถสร้างผลงานจากเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี/นาฏศิลป์ กีฬา/นันทนาการ ตามจินตนาการ 4.นักเรียนร้อยละ 85 สามารถเรียนรู้กันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ ระหว่างกัน 5.ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่าย มีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 อยู่ในระดับ ดีเยี่ยม 6.นักเรียนร้อยละ 85 เห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม เชิงคุณภาพ 1.นักเรียนเห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม 2.นักเรียนมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้เกียรติผู้อื่น 3.นักเรียนสามารถสร้างผลงานจากเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี/นาฏศิลป์ กีฬา/นันทนาการ ตามจินตนาการ 4.นักเรียนสามารถเรียนรู้กันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน 5.รายงานผลการแข่งขันทักษะทางวิชาการงานศิลปหัตถกรรม ครั้งที่ 66 ระดับเขต ระดับภาค และระดับประเทศ จำนวน 1 เล่ม 6.นักเรียนเห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม 7.จัดนิทรรศการทางวิชาการและแสดงผลงานนักเรียนปีละ 1 ครั้ง |
วิธีการ ประเมินความพึงพอใจ เครื่องมือ ประเมินความพึงพอใจ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : การแข่งขันทักษะทางวิชาการงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ขั้นเตรียม 1. ประชุมวางแผนการ 2. แจ้งกิจกรรมและหลักเกณฑ์การประกวดแข่งขัน 3. เสนอแต่งตั้งคณะกรรมการตัดสินกิจกรรมการแข่งขัน ขั้นดำเนินการ ดำเนินการประกวด แข่งขันกิจกรรมต่างๆ ในระดับเขต ระดับภาค ระดับประเทศ ขั้นสรุป 1. สรุปผลการแข่งขัน ระดับเขต ระดับภาค ระดับประเทศ 2. สรุปรายงานผลการดำเนินงาน กิจกรรมที่ 2 : นิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการ ขั้นเตรียม ประชุม วางแผน ดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ 1. กิจกรรมนิทรรศการวิชาการ 2. ประชาสัมพันธ์การจัดงาน 3. ซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการจัดงาน 4. จัดนิทรรศการ ขั้นสรุป 1. สังเกตการร่วมกิจกรรมของทุกหมวดวิชา 2. ประเมินผลการจัดนิทรรศการ กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมพัฒนาทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศ ขั้นเตรียม ประชุม วางแผน ดำเนินงาน แต่งตั้งคณะกรรมการ ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดกิจกรรมตามเป้าหมายที่กำหนด ขั้นสรุป รายงานกิจกรรม กิจกรรมที่ 4 : ส่งเสริมงานวิชาการ ขั้นเตรียม ประชุม วางแผน ดำเนินงาน แต่งตั้งคณะกรรมการ ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดกิจกรรมตามเป้าหมายที่กำหนด ขั้นสรุป รายงานกิจกรรม |
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
|
นายสมชาติ ตรียินดี
|
|
การจัดการเรียนการสอน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้มีวัสดุอุปกรณ์เพียงพอต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 2. เพื่อให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นไปตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา 3. เพื่อส่งเสริมบรรยากาศในการเรียนการสอน 4. เพื่อให้ครูพัฒนาตนเองสู่ความเป็นครูมืออาชีพ |
เชิงปริมาณ 1. ร้อยละ 90 ครู นักเรียน มีวัสดุอุปกรณ์บริการด้านวิชาการอย่างเพียงพอตามความจำเป็น 2. ร้อยละ 90 ครู พัฒนาตนเองสู่ความเป็นครูมืออาชีพ เชิงคุณภาพ 1. การจัดการเรียนการสอนทุกรายวิชามีประสิทธิภาพสูงขึ้น 2. ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่าย มีความพึงพอใจ ระดับดีมาก |
วิธีการ บันทึกรายการเบิกวัสดุอุปกรณ์, ประเมินความพึงพอใจ เครื่องมือ ประเมินความพึงพอใจ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : การจัดการเรียนการสอนด้านวิชาการ ขั้นเตรียม 1. สำรวจรายการวัสดุอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอน 2. กำหนดรายการที่จำเป็นต้องซื้อ ขั้นดำเนินการ 1. กิจกรรมจัดการเรียนการสอน ตามกลุ่มสาระ 2. จัดการเรียนการสอนรายวิชาต่างๆ 3. ซื้อวัสดุอุปกรณ์ไว้บริการในการจัดการเรียนการสอน ขั้นสรุป รายงานการจัดการเรียนการสอน รายงานผลการศึกษาต่อและการมีงานทำ ประเมินผลกิจกรรม กิจกรรมที่ 2 : พัฒนาปรับปรุงสำนักงานวิชาการ ขั้นเตรียม 1. สำรวจรายการวัสดุอุปกรณ์ 2. กำหนดรายการที่จำเป็นต้องซื้อ ขั้นดำเนินการ 1. สำรวจรายการวัสดุอุปกรณ์ 2. จัดซื้อวัดสุอุปกรณ์ ขั้นสรุป รายงานการจัดซื้อ กิจกรรมที่ 3 : การซ่อมบำรุงเครืองถ่ายเอกสาร เครื่องโรเนียว เครื่อง copyprint color ขั้นเตรียม สำรวจและศึกษาระบบและแนวทางการแก้ไขติดต่อบริษัทและขอใบเสนอราคา ขั้นดำเนินการ ดำเนินการซ่อมบำรุง ขั้นสรุป ทดลองใช้งานและติดตามผล กิจกรรมที่ 4 : หมึกเครื่องถ่ายเอกสารและเครื่องโรเนียว ขั้นเตรียม สำรวจหมึกเครื่องถ่ายเอกสารและเครื่องโรเนียว ขั้นดำเนินการ สรุปและดำเนินการจัดซื้อ ขั้นสรุป รายงานการจัดซื้อ กิจกรรมที่ 5 : กระดาษ A4 ขาว กระดาษบรูฟ และกระดาษคำตอบ ขั้นเตรียม สำรวจจำนวนกระดาษคงเหลือ ขั้นดำเนินการ สรุปและดำเนินการจัดซื้อ ขั้นสรุป มีกระดาษใช้สำหรับผลิตสื่อให้นักเรียน |
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
|
นายสมชาติ ตรียินดี
|
|
ค่ายพัฒนาทักษะทางภาษาไทย วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะกระบวนการเรียนรู้ภาษาไทย 2. เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการอ่าน การฟัง การดู การพูด การเขียน คิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ 3. เพื่อให้ผู้เรียนมีจิตสำนึกรักความเป็นไทยและเห็นความสำคัญของภาษาไทย |
1,2, |
เชิงปริมาณ 1. ผู้เรียนร้อยละ 70 มีการพัฒนาทักษะกระบวนการเรียนรู้ภาษาไทย 2. ผู้เรียนร้อยละ 70 มีจิตสำนึกรักความเป็นไทยและเห็นความสำคัญของภาษาไทย เชิงคุณภาพ 1. ผู้เรียนมีการพัฒนาทักษะกระบวนการเรียนรู้อย่างหลากหลายเต็มศักยภาพ ทั้งการอ่าน การฟัง การพูด การดู การเขียน คิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ มีจิตสำนึกรักความเป็นไทยและเห็นความสำคัญของภาษาไทย |
วิธีการ - ประเมิน - สังเกต เครื่องมือ - ประเมิน - สังเกต |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมค่ายพัฒนาทักษะทางภาษาไทย ขั้นเตรียม ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดกิจกรรมค่ายพัฒนาทักษะทางภาษาไทย ขั้นสรุป สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน |
1/10/2562 ถึง
|
นายสุชาติ จงเจริญไพสิฐ และคณะ
|
พัฒนาผู้เรียนคิดเป็นทำเป็น วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาทักษะวิชาการของกลุ่มสาระภาษาไทย 2. เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน 3. เพื่อให้ผู้เรียนมีจิตสำนึกรักความเป็นไทยและเห็นความสำคัญของภาษาไทย |
1, |
เชิงปริมาณ 1. ผู้เรียนร้อยละ 80 เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาทักษะวิชาการของกลุ่มสาระภาษาไทย 2. ผู้เรียนร้อยละ 80 สามารถเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน เชิงคุณภาพ 1. ผู้เรียน มีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้และสื่อต่างๆ รอบตัว 2. สามารถเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน |
วิธีการ - ประเมินความพึงพอใจ - สอบถาม - สังเกต เครื่องมือ - ประเมินความพึงพอใจ - สอบถาม - สังเกต |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมฝึกซ้อมและแข่งขันทักษะทางภาษาไทย ขั้นเตรียม ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน ขั้นดำเนินการ กิจกรรมฝึกซ้อมและแข่งขันทักษะทางภาษาไทย ขั้นสรุป สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมพัฒนานักเรียนให้อ่านคล่องเขียนคล่อง ขั้นเตรียม ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน ขั้นดำเนินการ กิจกรรมพัฒนานักเรียนให้อ่านออกเขียนได้ ขั้นสรุป สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมวันสำคัญของภาษาไทย (วันสุนทรภู่ วันภาษาไทยแห่งชาติ) ขั้นเตรียม ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน ขั้นดำเนินการ จัดกิจกรรมวันสำคัญของภาษาไทย (วันสุนทรภู่ วันภาษาไทยแห่งชาติ) ขั้นสรุป สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน กิจกรรมที่ 4 : กิจกรรมวรรณคดีสัญจร ขั้นเตรียม ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน ขั้นดำเนินการ กิจกรรมวรรณคดีสัญจร ขั้นสรุป สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน |
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
|
นายสุชาติ จงเจริญไพสิฐ และคณะ
|
โครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาครูกลุ่มสาระฯภาษาไทย ให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล |
4, |
เชิงปริมาณ 1. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยร้อยละ 87 มีการอบรม ประชุม สัมมนา ศึกษา วิจัย และพัฒนาการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. เชิงคุณภาพ 1. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลอยู่ในระดับดีเยี่ยม |
วิธีการ - ประเมิน - การอบรมฯ เครื่องมือ - ประเมิน - การอบรมฯ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมพัฒนาครูกลุ่มสาระฯภาษาไทย ให้เป็นครูมืออาชีพ ขั้นเตรียม ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาครูกลุ่มสาระฯภาษาไทย ให้เป็นครูมืออาชีพ ขั้นสรุป สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน |
1/10/2562 ถึง
|
นายสุชาติ จงเจริญไพสิฐ และคณะ
|
โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีผลการทดสอบระดับชาติเป็นไปตามเกณฑ์ 2. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียนให้เพิ่มขึ้น |
เชิงปริมาณ 1. ร้อยละ 55 ของผู้เรียนมีผลการทดสอบระดับชาติเป็นไปตามเกณฑ์ เชิงคุณภาพ 1. ผู้เรียนมีผลการทดสอบระดับชาติเป็นไปตามเกณฑ์ |
วิธีการ - ประเมิน - สังเกต เครื่องมือ - ประเมิน - สังเกต |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมสอนเสริมเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ขั้นเตรียม ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน ขั้นดำเนินการ 1. จัดกิจกรรมสอนเสริมเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2. จัดกิจกรรมจัดทำข้อสอบพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาภาษาไทย ขั้นสรุป สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน |
1/10/2562 ถึง
|
นายสุชาติ จงเจริญไพสิฐ และคณะ
|
|
พัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วัฒนธรรมต่างชาติ 2. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดภาคภูมิใจในภาษาไทยที่เป็นเอกลักษณ์ของชาติ |
2,6, |
เชิงปริมาณ 1. ผู้เรียนร้อยละ 70 ที่ยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่าง เชิงคุณภาพ 1. ผู้เรียนยอมรับความคิดและวัฒนาธรรมที่แตกต่างมากขึ้น |
วิธีการ - ประเมิน - สังเกต เครื่องมือ - ประเมิน - สังเกต |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมเรียนรู้ภาษาอาเซียน ขั้นเตรียม ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดกิจกรรมเรียนรู้ภาษาอาเซียน ขั้นสรุป สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน |
1/10/2562 ถึง
|
นายสุชาติ จงเจริญไพสิฐ และคณะ
|
คลินิกหมอภาษา วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนในโรงเรียนใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง ชัดเจน งดงาม 2. เพื่อเสริมสร้างความตระหนักให้โรงเรียนและชุมชน เห็นความสำคัญของการแก้ปัญหา และพัฒนาทักษะการใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง 3. เพื่อสร้างนักเรียนให้เป็นผู้นำในการแก้ไขปัญหาการใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง 4. เพื่อสร้างเครือข่ายแนวร่วมในการอนุรักษ์และเชิดชูคุณค่าของภาษาไทยในโรงเรียนเพี้ยนพินอนุสรณ์ 5. เพื่อยกย่องและให้กำลังใจนักเรียนที่ใช้ภาษาไทยได้ถูกต้องและเป็นแบบอย่างได้ ข้อความ.... |
เชิงปริมาณ นักเรียนที่มีปัญหาเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทย ร้อยละ ๘๐ ได้รับการแก้ไขให้ใช้ภาษาไทยได้ถูกต้องชัดเจน เชิงคุณภาพ นักเรียนสามารถพูดและอ่านภาษาไทยได้ถูกต้องชัดเจน มีความรู้และทักษะที่จำเป็นต่อหลักสูตรอยู่ในระดับดี |
วิธีการ เครื่องมือ - สังเกตจากการพูดและการอ่านของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ - ประเมินจากรายงานผลการดำเนินงาน หมอภาษา ของนักเรียนที่เป็นหมอภาษา |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : คลินิกหมอภาษา ขั้นเตรียม 1. เสนอโครงการเพื่ออนุมัติ 2. ประชุมครูในกลุ่มสาระฯ หรือผู้รับผิดชอบเพื่อร่วมกันวางแผนการดำเนินงาน และสำรวจนักเรียนที่มีปัญหาการพูดและการอ่าน ขั้นดำเนินการ 1. รับสมัครนักเรียนเพื่อเป็น หมอภาษา โดยสร้างความตระหนักและความสำคัญของการใช้ภาษาไทยในปัจจุบัน ฝึกการพูดและการอ่านให้ถูกต้อง 2. สร้างสื่อ เอกสาร หรือนำสื่อมาใช้ในการดำเนินงาน 3. เปิดบริการร้านหมอภาษา บำบัดรักษาและแก้ปัญหาผู้ที่ออกเสียง ภาษาไทยไม่ถูกต้อง 4. สรุปประเมินผลการดำเนินงานทุกขั้นตอน 5. ประเมินความพึงพอใจของนักเรียน ครู ผู้บริหาร ขั้นสรุป รายงานผลการดำเนินงาน หมอภาษา ของนักเรียนที่เป็นหมอภาษา |
11/9/2562 ถึง
|
นางดุจดาว นุชนุ่ม
|
|
พรรณไม้ในวรรณคดีไทย วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ คณะครู นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน ใช้สวนพฤกษาพรรณวรรณคดีไทยเป็นแหล่งเรียนรู้ 2. เพื่อเสริมสร้างความตระหนักให้สังคมไทยเห็นความสำคัญของการอนุรักษ์และรักษาทรัพยากรต้นไม้เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีงาม 3. ครูและนักเรียนเป็นผู้นำในการใช้ภาษาไทยในการสื่อสาร เพื่อความสุนทรียภาพทางภาษา จากแหล่งเรียนรู้ตามสภาพจริง |
เชิงปริมาณ นักเรียนชั้นม. 1-6 เชิงคุณภาพ 1. นักเรียนชั้นม.1-6 มีความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อให้เกิดสุนทรียภาพ ได้อย่างงดงาม รู้จักรักหวงแหนสิ่งแวดล้อม |
วิธีการ ประเมินความพึงพอใจ เครื่องมือ ประเมินความพึงพอใจ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : โครงการพรรณไม้ในวรรณคดีไทย ขั้นเตรียม 1. จัดทำโครงการเพื่อขอนุมัติ 2. ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง ขั้นดำเนินการ 1. จัดซื้อต้นไม้ในวรรณคดีไทย และอุปกรณ์ตกแต่งสวนและสถานที่ 2. จัดทำป้ายชื่อพรรณไม้ ขั้นสรุป รายยงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการ |
12/9/2562 ถึง
|
นางดุจดาว นุชนุ่ม
|
|
ส่งเสริมผู้เรียนให้มีความใฝ่รู้และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ครู บุคลากรและนักเรียนมีแหล่งการเรียนรู้เพื่อศึกษาค้นคว้าหาความรู้ 2. เพื่อจัดประสบการณ์การใช้ห้องสมุด กระตุ้นความสนใจให้นักเรียนมีนิสัยรักการอ่าน |
2, |
เชิงปริมาณ ครู บุคลากร และนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม เข้าร่วมกิจกรรมและใช้บริการห้องสมุดร้อยละ 80 เชิงคุณภาพ 1. ครู บุคลากรและนักเรียนมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมและเข้าใช้บริการห้องสมุด ในระดับดีขึ้นไป 2. นักเรียนมีนิสัยรักการอ่าน |
วิธีการ ประเมินจากแบบสอบถาม เครื่องมือ ประเมินจากการสังเกต |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : ส่งเสริมการอ่าน ขั้นเตรียม 1.สำรวจรายการวัสดุ อุปกรณืที่จำเป็นต้องใช้ 2.เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ ขั้นดำเนินการ 1.ดำเนินการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ หนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ ที่ต้องใช้ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน 2.จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ดังนี้ 2.1 กิจกรรมแนะนำหนังสือใหม่ 2.2 กิจกรรมความรู้วันสำคัญต่าง ๆ 2.3 กิจกรรมตอบปัญหาเกมเศรษฐีประจำเดือน 2.4 กิจกรรมคิดจากข่าว 3.ประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ขั้นสรุป สรุปรายงานผลการดำเนินงานให้ฝ่ายบริหารทราบ กิจกรรมที่ 2 : บันทึกรักการอ่าน ขั้นเตรียม สำรวจจำนวนนักเรียน จัดทำสมุดบันทึกรักการอ่าน ขั้นดำเนินการ 1.แจกสมุดบันทึกรักการอ่านให้นักเรียนคนละ 1 เล่ม 2.กำหนดวันให้นักเรียนส่งบันทึกรักการอ่าน 3.ตรวจบันทึกรักการอ่านของนักเรียน 4.สรุปผลการปฏิบัติของนักเรียน ขั้นสรุป สรุปรายงานผลการจัดกิจกรรมให้ฝ่ายบริหารทราบ กิจกรรมที่ 3 : ปรับปรุงห้องสมุด ขั้นเตรียม สำรวจสิ่งที่ต้องการปรับปรุง เสนอขออนุมัติ ขั้นดำเนินการ 1.ดำเนินการจ้างปรับปรุงย้ายที่กั้นห้องกระจกเดิม และกั้นกระจกบริเวณเคาน์เตอร์บริการห้องสมุด 2.เปลี่ยนพรมปูพื้นหน้ามุมเฉลิมพระเกียรติ 2 แห่ง 3.จัดซื้อพุ่มดอกไม้ประดิษฐ์ ตกแต่งมุมต่าง ๆ ขั้นสรุป รายการผลการดำเนินการให้ฝ่ายบริหารทราบ กิจกรรมที่ 4 : ส่งนักเรียนแข่งขันตอบปัญหารายการต่าง ๆ ขั้นเตรียม - ประชุมคณะทำงาน - จัดทำแผนปฏิบัติงาน ขั้นดำเนินการ 1.คัดเลือกนักเรียนตัวแทนเข้าร่วมแข่งขันรายการต่าง ๆ เช่น ตอบปัญหาสารานุกรมไทย การแข่งขันตอบปัญหาที่หน่วยงานอื่น ๆจัด 2.ดำเนินการฝึกซ้อมนักเรียน 3.ส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน ขั้นสรุป สรุปรายงานผลการแข่งขันให้ฝ่ายบริหารทราบ กิจกรรมที่ 5 : สัปดาห์ห้องสมุด ขั้นเตรียม -ประชุมวางแผนการจัดกิจกรรม -จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ -จัดกิจกรรมสัปดาห์ห้องสมุด ระหว่างวันที่ 9-11 สิงหาคม 2562 -ประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ขั้นสรุป สรุปผลการดำเนินงานการจัดกิจกรรมให้ฝ่ายบริหารทราบ |
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
|
นางสาวพลิมา อุตตโรพร
|
กิจกรรมการพัฒนาสื่อและแหล่งเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้นักเรียนมีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้และสื่อต่างๆ รอบ |
เชิงปริมาณ 1. ผู้เรียนอย่างน้อยร้อยละ 95 มีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง จากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้และสื่อต่าง ๆ รอบตัว 2. มีครูและนักเรียนใช้บริการห้องปฏิบัติการคณิตศาสตร์และคลินิกคณิตศาสตร์ ไม่ต่ำกว่า 500 คนต่อปีการศึกษ. เชิงคุณภาพ 1. ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความพึงพอใจต่อ ใช้บริการห้องปฏิบัติการคณิตศาสตร์และคลินิกคณิตศาสตร์ อยู่ในระดับดีเยี่ยม |
วิธีการ เครื่องมือ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : พัฒนาสื่อและแหล่งเรียนรู้ ขั้นเตรียม จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ - ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ ขั้นดำเนินการ จัดเตรียมหาสื่อและแหล่งเรียนรู้ต่างๆ - ให้บริการห้องปฏิบัติการคณิตศาสตร์ - จัดทำเอกสาร รายงานผลการใช้บริการห้องปฏิบัติการคณิตศาสตร์ -จัดซื้อ ซ่อมบำรุง ดูแลสื่อและอุปกรณ์การเรียน -จัดซื้อ ซ่อมบำรุง ดูแลอุปกรณ์ไฟฟ้าและอุปกรณ์ไอที -จัด ปรับปรุง ดูแลป้ายนิเทศประชาสัมพันธ์ และแหล่งเรียนรู้ของกลุ่มสาระฯ -จัดทำสื่อนำเสนอต่างๆของกลุ่มสาระฯ ขั้นสรุป ประเมินผลและรายงานผลการปฏิบัติงาน |
9/9/2562 ถึง
|
นางดารารัตน์ ศรีธงไชยะ และ นายนรุตม์ รัชชประภาพรกุล
|
|
พัฒนาและส่งเสริมศักยภาพนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพทางคณิตศาสตร์ให้กับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 2. เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนมีทักษะกระบวนการทางด้านคณิตศาสตร์เพิ่มเติมจากในบทเรียน 3. เพื่อให้นักเรียนสามารถนำความรู้ในวิชาคณิตศาสตร์ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน 4. เพื่อสร้างเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ |
เชิงปริมาณ 1. มีการจัดกิจกรรมค่ายพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ทางคณิตศาสตร์อย่างน้อย 1 ครั้ง 2. นักเรียนร้อยละ 50 มีความสามารถในการคิดคำนวณ เชิงคุณภาพ 1. นักเรียนมีความสามารถในการคิดคำนวณอยู่ในระดับดีเลิศ 2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 อยู่ในระดับดีเยี่ยม 4. ระยะเวลาดำเนินการ |
วิธีการ เครื่องมือ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : ค่ายพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ทางคณิตศาสตร์ ขั้นเตรียม 1. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ 2. ขออนุมัติโครงการ 3. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 4. ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ ขั้นดำเนินการ 1. เสนอโครงการขออนุมัติต่อทางโรงเรียนและออกคำสั่งแต่งตั้ง 2. ประชุมครูในกลุ่มสาระฯ เพื่อวางแผนงาน 3. ติดต่อสำรวจสถานที่ตามความเหมาะสม 4. จัดเตรียมเอกสาร วัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ 5. ดำเนินการจัดกิจกรรมค่ายพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพทางคณิตศาสตร์ ขั้นสรุป ตรวจสอบรายงานกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ 2. ประเมินผลและรายงานผลโครงการ |
9/9/2562 ถึง
|
นางดารารัตน์ ศรีธงไชยะ และ นายจิรภัทร์ เหลืองวัฒนวิไล
|
|
ส่งเสริมทักษะการคิดคำนวณด้วยเทคนิคการคิดเลขเร็วแบบอินเดีย(เวทคณิต) วัตถุประสงค์ 1.เพื่อเป็นการพัฒนาทักษะการคิดคำนวณด้วยเทคนิคการคิดเลขเร็วแบบอินเดีย(เวทคณิต) 2.เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนมีทักษะกระบวนการทางด้านคณิตศาสตร์เพิ่มเติมจากในบทเรียน 3.เพื่อให้นักเรียนสามารถจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ 4.เพื่อสร้างเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ |
เชิงปริมาณ 1. นักเรียนร้อยละ 60 มีทักษะการคิดคำนวณ 2. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ เป็นนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (1 ระดับชั้น) จำนวน 350 คน เชิงคุณภาพ 1. นักเรียนมีทักษะการคิดคำนวณอยู่ในระดับดีเลิศ 2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 อยู่ในระดับดีเยี่ยม |
วิธีการ เครื่องมือ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : ค่ายเวทคณิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ขั้นเตรียม 1.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ 2. ขออนุมัติโครงการ 3. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 4. ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ ขั้นดำเนินการ 1. เสนอโครงการขออนุมัติต่อทางโรงเรียนและออกคำสั่งแต่งตั้ง 2. ประชุมครูในกลุ่มสาระฯ เพื่อวางแผนงาน 3. ติดต่อสำรวจสถานที่ตามความเหมาะสม 4. ประชาสัมพันธ์นักเรียนที่สนใจ 5. จัดเตรียมเอกสาร วัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมค่ายเวทคณิต ุ6. ดำเนินการจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ ขั้นสรุป 1. ตรวจสอบรายงานกิจกรรมค่ายเวทคณิต 2. ประเมินผลและรายงานผลโครงการ |
9/9/2562 ถึง
|
นางดารารัตน์ ศรีธงไชยะ และนางสาวศิริพร วัชรโสภณสิริ
|
|
ประเมินการจัดโครงการหรือกิจกรรมของกลุ่มงานบริหารวิชาการ วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความคิดเห็นเเละความพึงพอใจในการดำเนินโครงการหรือกิจกรรมของกลุ่มงานบริหารวิชาการ |
5, |
เชิงปริมาณ ร้อยละ 100.00 ของโครงการหรือกิจกรรมของกลุ่มงานบริหารวิชาการได้รับการประเมินในกิจกรรมที่มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน เชิงคุณภาพ โครงการหรือกิจกรรมของกลุ่มงานบริหารวิชาการได้รับการประเมินครบทุกกิจกรรมที่มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน |
วิธีการ การประเมินความพึงพอใจของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เครื่องมือ การประเมินความพึงพอใจของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : ประเมินการจัดโครงการหรือกิจกรรมของกลุ่มงานบริหารวิชาการ ขั้นเตรียม รับทราบคำสั่งแต่งตั้งในการประเมินโครงการหรือกิจกรรมของกลุ่มงานบริหารวิชาการ ขั้นดำเนินการ 1) จัดทำแบบประเมินความคิดเห็นเเละความพึงพอใจในการดำเนินโครงการหรือกิจกรรมของกลุ่มงานบริหารวิชาการ 2) เก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เข้าร่วมโครงการหรือกิจกรรม ขั้นสรุป 1) สรุปผลการประเมินเเละเขียนรายการประเมินส่งผู้บริหารโรงเรียน 2) ส่งผลการรายงานให้เจ้าของโครงการหรือกิจกรรมรับทราบผลการประเมิน |
9/9/2562 ถึง
|
นางสาวดิฐารัตน์ ลีวรางกุล
|
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเพิ่มยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้น 2. เพื่อพัฒนาผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) ให้คะแนนเฉลี่ยสูงขึ้น |
เชิงปริมาณ 1. ผู้เรียนอย่างน้อยร้อยละ 70 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เป็นไปตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกำหนด 2. ผู้เรียนอย่างน้อยร้อยละ 70 มีผลการทดสอบระดับชาติวิชาคณิตศาสตร์เป็นไปตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกำหนด เชิงคุณภาพ คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) วิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนสูงกว่าหรือเท่ากับคะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัดและระดับเขตพื้นที่การศึกษา |
วิธีการ การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เเละผลการทดสอบระดับชาติวิชาคณิตศาสตร์ เครื่องมือ การประเมินผลการทดสอบระดับชาติวิชาคณิตศาสตร์ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมสอนเสริมเพื่อเติมเต็มและต่อยอดความรู้ทางคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ขั้นเตรียม - จัดทำโครงการและขออนุมัติ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ - ประชุมคณะกรรมการดำเนินการและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยจัดคาบสอนเสริมให้กับคุณครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ - จัดทำหลักสูตรในการจัดกิจกรรม ขั้นดำเนินการ - จัดทำเอกสารประกอบการทำกิจกรรม - ดำเนินการจัดกิจกรรมสอนเสริมตามที่กำหนดไว้ในตารางสอน - ประเมินผลการจัดกิจกรร ขั้นสรุป - ตรวจสอบรายงานการจัดกิจกรรมของกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ประเมินผลและรายงานผลการปฏิบัติงาน กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมค่ายสอนเสริมเพื่อเติมเต็มและต่อยอดความรู้ทางคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ขั้นเตรียม - จัดทำโครงการและขออนุมัติ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ - ประชุมคณะกรรมการดำเนินการและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยจัดคาบสอนเสริมให้กับคุณครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ - จัดทำหลักสูตรในการจัดกิจกรรม ขั้นดำเนินการ - จัดทำเอกสารประกอบการทำกิจกรรม - ดำเนินการจัดกิจกรรมสอนเสริมตามที่กำหนดไว้ในตารางสอน - ประเมินผลการจัดกิจกรรม ขั้นสรุป - ตรวจสอบรายงานการจัดกิจกรรมของกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ประเมินผลและรายงานผลการปฏิบัติงาน |
9/9/2562 ถึง
9/9/2562 ถึง
|
นางสาวดิฐารัตน์ ลีวรางกุล
|
|
ส่งเสริมการจัดทำงานวิจัยในชั้นเรียนเเละวิจัยระดับโรงเรียน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมให้ครูทำวิจัยในชั้นเรียนโดยใช้กระบวนการ PLC เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน อย่างน้อย 1 เรื่องใน 1 ภาคการศึกษา 2. เพื่อให้โรงเรียนมีงานวิจัยระดับโรงเรียนอย่างน้อย 1 เรื่องใน 1 ภาคการศึกษา |
เชิงปริมาณ 1. ครูร้อยละ 87 มีการทำวิจัยในชั้นเรียนโดยใช้กระบวนการ PLC เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในวิชาที่ตนรับผิดชอบ อย่างน้อย 1 เรื่องใน 1 ภาคการศึกษา 2. โรงเรียนมีงานวิจัยระดับโรงเรียนอย่างน้อย 1 เรื่องใน 1 ปีการศึกษา เชิงคุณภาพ 1. ครูทุกคนมีผลการประเมินงานวิจัยในชั้นเรียนโดยใช้กระบวนการ PLC เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในวิชาที่ตนรับผิดชอบอยู่ในระดับผ่านขึ้นไป 2. โรงเรียนมีงานวิจัยระดับโรงเรียนที่เกิดจากความร่วมมือของครูในทุกระดับชั้นเรียน |
วิธีการ การประเมินการส่งงานวิจัย เครื่องมือ การประเมินการส่งงานวิจัย |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : ส่งเสริมการจัดทำงานวิจัยในชั้นเรียน ขั้นเตรียม จัดประชุมครูเพื่อชี้แจงรายละเอียดเเละวางแผนการทำวิจัยในชั้นเรียนโดยใช้กระบวนการ PLC เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในวิชาที่ตนรับผิดชอบ ขั้นดำเนินการ 1) ครูแต่ละคนศึกษาปัญหา วิเคราะห์ปัญหาของผู้เรียนในวิชาที่ตนรับผิดชอบ 2) ครูดำเนินการตามกระบวนการ PLC เเละดำเนินการทำการวิจัยในชั้นเรียนเเละเขียนรายงานการวิจัยตามแบบฟอร์มที่งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้จัดทำให้ ขั้นสรุป 1) งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้รวบรวมรายงานการงานวิจัยในชั้นเรียน 2) ผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพของรายงานการงานวิจัยในชั้นเรียนเเละคัดเลือกงานวิจัยที่มีคุณภาพ 3) รายงานผลการประเมินคุณภาพของรายงานการงานวิจัยในชั้นเรียนให้ผู้บริหารทราบ ประกาศผลเเละมอบรางวัล กิจกรรมที่ 2 : การจัดทำงานวิจัยระดับโรงเรียน ขั้นเตรียม จัดประชุมครูเพื่อชี้แจงรายละเอียดเเละวางแผนการทำงานวิจัยระดับโรงเรียน ขั้นดำเนินการ ครูผู้เกี่ยวข้องดำเนินการตามแผนการวิจัยเเละทีมงานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้เก็บรวบรวมข้อมูล ขั้นสรุป ทีมงานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้สรุปข้อมูลเเละเขียนรายงานการวิจัยระดับโรงเรียน |
9/9/2562 ถึง
9/9/2562 ถึง
|
นางสาวดิฐารัตน์ ลีวรางกุล
|
|
โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการทดสอบระดับชาติโอเน็ต วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา |
เชิงปริมาณ 3.1.1. จำนวนผู้เรียนที่มีความก้าวหน้าจากพื้นฐานเดิมในแต่ละปีด้านความรู้ความเข้าใจ ด้านทักษะต่างๆตามหลักสูตรอย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่องในระดับดี ร้อยละ 70 เชิงคุณภาพ 3.2.1 มีคลังข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและคลังข้อสอบระดับชาติโอเน็ต 3.2.2 มีการจัดค่ายส่งเสริมวิชาการ จำนวน 2 ครั้งต่อปี 3.2.3 มีการดำเนินกิจกรรมเรียนซ้ำครบทุกภาคเรียนและภาคฤดูร้อน 3.2.4 มีการดำเนินกิจกรรมสอนเสริมเพิ่มศักยภาพเตรียมพร้อมสอบโอเน็ต |
วิธีการ -ตรวจสอบรายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน เครื่องมือ -ประเมินแบบตรวจสอบรายการ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมการผลิตคลังข้อสอบ ขั้นเตรียม - จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ - ขออนุมัติโครงการ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ - ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ ขั้นดำเนินการ -บันทึกขอดำเนินกิจกรรม -จัดทำชุดข้อสอบโอเน็ต(วิชาละ80ฉบับ/ปีการศึกษา) -จัดทำระบบการยืมคืน -ดำเนินกิจกรรมการใช้ข้อสอบโอเน็ต -จัดทำฐานข้อมูลข้อสอบโอเน็ตบนเว็บไซต์ -จัดเตรียมแฟ้มเอกสารคลังข้อสอบรายวิชาต่างๆสำหรับแจกกลุ่มสาระฯ -จัดทำสารสนเทศคลังข้อสอบ ขั้นสรุป -ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมทุกกิจกรรม -จัดทำรายงานผลการดำเนินกิจกรรม กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมค่ายส่งเสริมวิชาการ ระดับชั้น ม.3 และ ม.6 ขั้นเตรียม - จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ - ขออนุมัติโครงการ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ - ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ ขั้นดำเนินการ -บันทึกขอดำเนินกิจกรรม -จัดจ้างวิทยากร -จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง -จัดทำเอกสารประกอบการอบรม -จัดค่ายส่งเสริมวิชาการ ม.3 และ ม.6 ขั้นสรุป -ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมทุกกิจกรรม -จัดทำรายงานผลการดำเนินกิจกรรม กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมการเรียนซ้ำเพื่อแก้ไขผลการเรียน ขั้นเตรียม - จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ - ขออนุมัติโครงการ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ - ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ ขั้นดำเนินการ -บันทึกขอดำเนินกิจกรรม -จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง -จัดเตรียมเอกสารการลงทะเบียนเรียนซ้ำ -จัดการประชุมผู้ปกครองและลงทะเบียนเรียนซ้ำ(ภาคเรียนละ 1 ครั้ง) -จัดทำแฟ้มเอกสารการเรียนซ้ำ -ดำเนินกิจกรรมการเรียนซ้ำ -รวบรวมผลการเรียนซ้ำ -สรุปและรายงานผลการเรียนซ้ำ -จัดการเรียนซ้ำภาคฤดูร้อน ขั้นสรุป -ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมทุกกิจกรรม -จัดทำรายงานผลการดำเนินกิจกรรม กิจกรรมที่ 4 : กิจกรรมสอนเสริมเพิ่มศักยภาพเตรียมพร้อมสอบโอเน็ต ขั้นเตรียม - จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ - ขออนุมัติโครงการ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ - ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ ขั้นดำเนินการ -บันทึกขอดำเนินกิจกรรม -จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง -จัดสอบ pre O-NET นักเรียน ม.3 และ ม.6 -วิเคราะห์ผลการสอบ pre O-NETและจัดกลุ่มนักเรียนตามศักยภาพ -ดำเนินกิจกรรมการสอนเสริมตลอดภาคเรียนที่ 2 -จัดสอบ O-NET นักเรียน ม.3 และ ม.6 -วิเคราะห์ผลการสอบ O-NET -รายงานผลการทดสอบรายบุคคลและแจ้งผลต่อกลุ่มสาระ ขั้นสรุป -ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมทุกกิจกรรม -จัดทำรายงานผลการดำเนินกิจกรรม |
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
|
นางสาววันลิษา ขำอิ่ม
|
|
โครงการพัฒนาคุณภาพงานวัดและประเมินผลการศึกษา วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาครูให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 2.2 เพื่อให้มีการจัดการคุณภาพของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 2.3 เพื่อให้มีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน |
เชิงปริมาณ 3.1.1 มีการจัดอบรมครูด้านการวัดและประเมินผล จำนวน 1 ครั้ง (การพัฒนาครู) 3.1.2 ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อระบบการวัดและประเมินผลในระดับมาก อย่างน้อยร้อยละ 80 เชิงคุณภาพ 3.2.1 สถานศึกษามีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาในระดับดีเลิศ ร้อยละ 78 (ระบบการวัดและประเมินผล) 3.2.2 สถานศึกษามีการส่งเสริมสนับสนุน พัฒนาครู บุคลากร ให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพในระดับดีเลิศ ร้อยละ 87 3.2.3 สถานศึกษามีการจัดระบบการจัดหา การพัฒนาและการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ในระดับดีเลิศ ร้อยละ 85 (เครื่องมือการวัดและ ประเมินผล) 3.2.4 สถานศึกษามีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียนอย่างเป็นระบบอยู่ในระดับดี ร้อยละ 70 |
วิธีการ -ตรวจสอบเอกสารรายงานผลการดำเนินกิจกรรม -ประเมินความพึงพอใจ เครื่องมือ -ประเมินแบบตรวจสอบรายการ -ตรวจสอบเอกสารรายงานผลการดำเนินกิจกรรม |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมการพัฒนาครูด้านการวัดและประเมินผล ขั้นเตรียม - จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ - ขออนุมัติโครงการ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ - ประชุมหารือชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ ขั้นดำเนินการ -บันทึกขอดำเนินกิจกรรม -จัดจ้างวิทยากร -จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง -จัดทำเอกสารประกอบการอบรม -จัดกิจกรรมการอบรมครู ขั้นสรุป -ประเมินผลการดำเนินโครงการ -จัดทำรายงานผลการดำเนินโครงการ กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมการพัฒนาระบบการวัดและประเมินผล ขั้นเตรียม - จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ - ขออนุมัติโครงการ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ - ประชุมหารือชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ ขั้นดำเนินการ บันทึกขอดำเนินกิจกรรม -จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ -จัดระบบการติดต่องานวัดผลสำหรับนักเรียน (เอกสาร) -จัดระบบการติดต่องานวัดผลสำหรับครู (เอกสาร) -จัดระบบการประชาสัมพันธ์งานวัดผล (บอร์ด) -จัดระบบการวัดผลการเรียน(ตรวจและวิเคราะห์ข้อสอบ) -จัดระบบการประเมินผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน -จัดระบบงานวัดผลบนเว็บไซต์ของโรงเรียน -เตรียมความพร้อมสนามสอบโอเน็ต ขั้นสรุป -ประเมินผลการดำเนินกิจกรรม -จัดทำรายงานผลการดำเนินกิจกรรม กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมการพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผล ขั้นเตรียม - จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ - ขออนุมัติโครงการ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ - ประชุมหารือชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ ขั้นดำเนินการ -วางแผนและศึกษาการจัดทำเครื่องมือวัดผลต่างๆ -จัดทำ/พัฒนาเครื่องมือวัดผลต่างๆ -ทดสอบและประเมินการใช้เครื่องมือวัดผล -ประชุมชี้แจงและทำความเข้าใจการใช้เครื่องมือแก่ครู -ครูใช้เครื่องมือต่างๆในการวัดผล -ประเมินผลการใช้เครื่องมือ -รวบรวมสารสนเทศของเครื่องมือวัดผลต่างๆ -การจัดทำข้อสอบมาตรฐานกลางเพื่อประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชั้น ม.1และ ม.2 ขั้นสรุป -ประเมินผลการดำเนินกิจกรรม -จัดทำรายงานผลการดำเนินกิจกรรม |
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
|
นางสาวปานรวี ภูศรี
|
|
ส่งเสริมความรู้ ความสามารถ และทักษะทางคณิตศาสตร์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะของนักเรียนในด้านคณิตศาสตร์ 2. เพื่อให้นักเรียนได้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ฝึกฝนทักษะ ประสบการณ์ หรือนำเสนอผลงาน 3. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเข้าประกวดแข่งขันและแสดงศักยภาพในระดับโรงเรียน นำไปสู๋การแข่งขันในระดับเขต ระดับภาค และระดับชาติ |
เชิงปริมาณ 1. ผู้เรียนอย่างน้อยร้อยละ 70 มีความสามารถในการคิดคำนวณ 2. ผู้เรียนอย่างน้อยร้อยละ 70 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา 3. นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมที่จัดขึ้นอย่างน้อย 3 กิจกรรม เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 (ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรม) เชิงคุณภาพ 1. นักเรียนมีความสามารถในการคิดคำนวณ อยู่ในระดับดี 2. นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา อยู่ในระดับดี 3. นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับดีเยี่ยม |
วิธีการ จัดกิจกรรมการแข่งขันอย่างน้อย 3 กิจกรรม แยกเป็นระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย เครื่องมือ แจกแบบสอบถามความพึงพอใจให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมประเมิน |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรม ส่งเสริมทักษะความสามารถทางคณิตศาสตร์ ขั้นเตรียม - จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ - ขออนุมัติโครงการ - ออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ - ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ ขั้นดำเนินการ - จัดเตรียมแบบสอบ เอกสาร และอุปกรณ์การแข่งขัน - จัดกิจกรรมการแข่งขันคณิตศาสตร์และเกมกีฬาทางคณิตศาสตร์ อย่างน้อย 3 กิจกรรม (A-math ,Sudoku, GSP,โครงงานคณิตศาสตร์,คิดเลขเร็วและเวทคณิต) ขั้นสรุป ประเมินผลและรายงานผลโครงการ กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรม ส่งเสริมทักษะความสามารถทางคณิตศาสตร์ ขั้นเตรียม 1. จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการ 2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 3. ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ ขั้นดำเนินการ 1. บันทึกขอจัดกิจกรรมและออกคำสั่งแต่งตั้ง 2. จัดเตรียมคำถามและอุปกรณ์ในการแข่งขัน 3. จัดกิจกรรมการแข่งขันคณิตศาสตร์และเกมกีฬาทางคณิตศาสตร์ อย่างน้อย 1 กิจกรรม (ตอบปัญหาคณิตศาสตร์ , โฟร์สตาร์) ขั้นสรุป ประเมินผลและรายงานผลโครงการ |
10/1/2563 ถึง
10/1/2563 ถึง
|
นางวรรณี แก้วอุปการ และนายอรรถพล ศรัทธาผล
|
|
พัฒนาผู้เรียนให้มีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อฝึกฝนทักษะทางคณิตศาสตร์และเกมกีฬาทางคณิตศาสตร์ (A-math ,Sudoku, GSP,โครงงานคณิตศาสตร์,คิดเลขเร็ว,อัฉริยภาพคณิตศาสตร์) และ ส่งนักเรียนแข่งขันกับหน่วยงานภายนอก 2. เพื่อพัฒนาให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดคำนวณ |
เชิงปริมาณ 1. นำนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันทักษะทางคณิตศาสตร์และเกมกีฬาทางคณิตศาสตร์ กับหน่วยงานภายนอก จำนวนอย่างน้อย 5 รายการ 2. นักเรียนร้อยละ 65 มีความสามารถในการคิดคำนวณ เชิงคุณภาพ 1. นักเรียนมีความสามารถในการคิดคำนวณอยู่ในระดับดีเลิศ 2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 อยู่ในระดับดีเยี่ยม |
วิธีการ ครูเป็นผู้สังเกตุพฤติกรรมนักเรียนและให้นักเรียนทำแบบสอบถาม เครื่องมือ ครูเป็นผู้สังเกตุพฤติกรรมนักเรียนและให้นักเรียนทำแบบสอบถาม |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : การฝึกฝนทักษะทางคณิตศาสตร์และเกมกีฬาทางคณิตศาสตร์ และส่งนักเรียนแข่งขันหน่วยงานภายนอก ขั้นเตรียม - จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ - ขออนุมัติโครงการ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ - ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ ขั้นดำเนินการ - ฝึกฝนนักเรียน - พานักเรียนเข้าแข่งขันกับหน่วยงานภายนอก ขั้นสรุป ประเมินผลและรายงานผลโครงการ |
10/9/2562 ถึง
|
นางวิพาดา อินทวิชัย
|
|
โครงการส่งเสริมศักยภาพทางการเรียนคณิตศาสตร์นักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ระดับชั้น ม.1 และ ม. 4 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ 2. เพื่อให้ผู้เรียนเรียนสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา 3. เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 4. เพื่อส่งเสริมศักยภาพ และพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์นักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ |
เชิงปริมาณ 1.จำนวนผู้เรียนร้อยละ 50-54 ที่มีความสามารถในการอ่านและเขียนได้เหมาะสมตามระดับชั้นเป็นไปตามเกณฑ์ของสถานศึกษากำหนด 2. จำนวนผู้เรียนร้อยละ 50-54 ในด้านการสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษเหมาะสม 3. จำนวนผู้เรียนร้อยละ 50-54 ที่มีความสามารถในด้านการคิดคำนวณเหมาะสมตามระดับชั้นเป็นไปตามเกณฑ์ของสถานศึกษากำหนด 4. จำนวนผู้เรียนร้อยละ 85 ขึ้นไปที่มีความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นแก้ปัญหาและนำไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่างๆ อย่างเหมาะสมเป็นไปตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด 5. จำนวนผู้เรียนร้อยละ 65 ขึ้นไปที่มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ได้อย่างเหมาะสมปลอดภัย มีประสิทธิภาพ 6. จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมศักยภาพ และพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ จำนวน 1 ครั้ง 7. รายงานผลการประเมินการจัดกิจกรรม จำนวน 2 เล่ม เชิงคุณภาพ 1.ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณในระดับดีเลิศ 2.ผู้เรียนมีความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหาในระดับยอดเยี่ยม 3.ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในระดับยอดเยี่ยม 4.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 อยู่ในระดับดีเยี่ยม |
วิธีการ เครื่องมือ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมการอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการใช้โปรแกรม The Geometers Sketchpad (GSP) เพื่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ขั้นเตรียม ขั้นเตรียม (P) - จัดทำบันทึกข้อความขอดำเนินโครงการ - ออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ - ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ ขั้นดำเนินการ - จัดเตรียมอุปกรณ์ เอกสารประกอบการอบรม - จัดซื้ออาหาร อาหารว่าง น้ำดื่มสำหรับนักเรียน วิทยากร คณะกรรมการดำเนินงาน - จัดกิจกรรมการอบรมโปรแกรม The Geometers Sketchpad (GSP) - ทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ - ประเมินผลกิจกรรม ขั้นสรุป ขั้นนิเทศติดตามผล - ตรวจสอบรายงานการจัดกิจกรรมของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ขั้นประเมินผล ประเมินผลและรายงานผลโครงการ |
1/10/2562 ถึง
|
นายประณต ฉัฐมะ
|
|
พัฒนาผู้เรียนคิดเป็นทำเป็น วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาคณิตศาสตร์ พัฒนาให้นักเีรียนคิดเป็นทำเป็น โดยยึดนักเรียนเป็นสำคัญ 2. เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนมีทักษะกระบวนการทางด้านคณิตศาสตร์เพิ่มเติมจากในบทเรียน 3. เพื่อให้นักเรียนสามารถนำความรู้ในวิชาคณิตศาสตร์ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน 4. เพื่อสร้างเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ |
เชิงปริมาณ 1. นักเรียนร้อยละ 50 มีทักษะการคิดคำนวณ 4. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ จำนวน 350 คน เชิงคุณภาพ 1. นักเรียนมีทักษะการคิดคำนวณอยู่ในระดับดีเลิศ 2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 อยู่ในระดับดีเยี่ยม |
วิธีการ ครูสังเกตุพฤติกรรมและให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทำแบบสอบถาม เครื่องมือ ครูสังเกตุพฤติกรรมและให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทำแบบสอบถาม |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : ค่ายคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ขั้นเตรียม 1. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ 2. ขออนุมัติโครงการ 3. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 4. ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ ขั้นดำเนินการ 1. เสนอโครงการขออนุมัติต่อทางโรงเรียนและออกคำสั่งแต่งตั้ง 2. ประชุมครูในกลุ่มสาระฯ เพื่อวางแผนงาน 3. ติดต่อสำรวจสถานที่ตามความเหมาะสม 4. ประชาสัมพันธ์นักเรียนที่สนใจ 5. ประสานงานวิทยากรภายนอก 6. จัดเตรียมเอกสาร วัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ 7. ดำเนินการจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ ขั้นสรุป 1. ตรวจสอบรายงานกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ 2. ประเมินผลและรายงานผลโครงการ |
10/9/2562 ถึง
|
ว่าที่ร้อยตรีหญิงทิพย์มาศ สำแดง
|
|
พัฒนาทักษะกระบวนการคิดและตัดสินใจ วัตถุประสงค์ 1. นักเรียนสามารถเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ตามโจทย์ที่กำหนดได้ 2. นักเรียนสามารถคิดวิเคราะห์ปัญหา สังเคราะห์ รวบรวมข้อมูล และคิดสร้างสรรค์เพื่อเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์เพื่อแก้ปัญหาได้ |
1, |
เชิงปริมาณ อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการคิดแก้ปัญหา การวางแผน รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ โดยอบรมนักเรียนจำนวน 70 คน แบ่งเป็นชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 35 คน และชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 35 คน และอบรมให้ความรู้ครูคอมพิวเตอร์ จำนวน 5 คน เชิงคุณภาพ 1. นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับกระบวนการคิดแก้ปัญหา การวางแผน รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ 2. นักเรียนมีความรู้ความสามารถในการเข้าร่วมแข่งขันหุ่นยนต์ในรายการต่างๆ |
วิธีการ ใช้แบบประเมิน เครื่องมือ ใช้แบบประเมิน |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : ค่ายหุ่นยนต์ ม.ต้น ขั้นเตรียม 1. ประชุม เตรียมความพร้อม จัดทำเอกสารจัดการอบรม 2. จัดหา ติดต่อวิทยากรเพื่อให้การอบรม 3. รับสมัครนักเรียนที่สนใจเข้าร่วมอบรมหุ่นยนต์ 4. จัดหาหุ่นยนต์สำหรับอบรม ขั้นดำเนินการ 1. ดำเนินการอบรมหุ่นยนต์ 2. แข่งขันการเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ ขั้นสรุป สรุปผลการดำเนินการ และรายงานผลต่อหัวหน้างานห้องเรียนพิเศษ และฝ่ายบริหาร กิจกรรมที่ 2 : ค่ายหุ่นยนต์ ม.ปลาย ขั้นเตรียม 1. ประชุม เตรียมความพร้อม จัดทำเอกสารจัดการอบรม 2. จัดหา ติดต่อวิทยากรเพื่อให้การอบรม 3. รับสมัครนักเรียนที่สนใจเข้าร่วมอบรมหุ่นยนต์ 4. จัดหาหุ่นยนต์สำหรับอบรม ขั้นดำเนินการ 1. ดำเนินการอบรมหุ่นยนต์ 2. แข่งขันการเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ ขั้นสรุป สรุปผลการดำเนินการ และรายงานผลต่อหัวหน้างานห้องเรียนพิเศษ และฝ่ายบริหาร |
11/9/2562 ถึง
11/9/2562 ถึง
|
นายก่อกิจ ธีราโมกข์
|
โครงการอบรมคอมพิวเตอร์เพื่อการควบคุมโดรนพื้นฐาน วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมความสามารถของนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย ให้มีทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรม คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ (STEM) นำมาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา สร้างจินตนาการ และศึกษาค้นคว้าความรู้ใหม่ๆ ผ่านกิจกรรมการควบคุมโดรนอย่างง่าย |
เชิงปริมาณ 1. ร้อยละ 95 ของผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีด้านการบังคับโดรนพื้นฐาน เชิงคุณภาพ 1. ผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีด้านการบังคับโดรนพื้นฐาน 2. ผู้เรียนร่วมกลุ่มกัน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ในการใช้เทคโนโลยีบังคับโดรนพื้นฐาน |
วิธีการ ทดสอบภาคปฏิบัติ เครื่องมือ 1.การสังเกต 2.การทดสอบ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมโครงการอบรมคอมพิวเตอร์เพื่อการควบคุมโดรนพื้นฐาน ขั้นเตรียม 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ 2. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ ขั้นดำเนินการ 1.ขออนุญาตดำเนินโครงการ 2. ติดต่อประสานงานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง / ติดต่อวิทยากร ขั้นสรุป 1.ทดสอบการใช้เทคโนโลยีด้านการบังคับโดรนพื้นฐาน 2.สังเกตการณ์ปฏิบัติงาน แบบสอบถาม |
1/10/2562 ถึง
|
นายธนวุฒิ จันทีเทศ
|
|
โครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมความสามารถของนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ทั้งระดับมัธยมต้น มัธยมปลาย ให้มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมความสามารถของนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ทั้งระดับมัธยมต้น มัธยมปลาย มีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบคิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมความสามารถของนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ทั้งระดับมัธยมต้น มัธยมปลาย ให้มีความรู้และทักษะพื้นฐานที่จำเป็นตามหลักสูตร 4. เพื่อพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมความสามารถของนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ทั้งระดับมัธยมต้น มัธยมปลาย ให้มีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต 5. เพื่อให้ผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างโรงเรียนในกลุ่มภาคกลางตอนล่าง เข้าร่วมกิจกรรมปฐมนิเทศระหว่างโรงเรียนในกลุ่มภาคกลางตอนล่าง เข้าร่วมกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ในประเทศหรือต่างประเทศ 6. ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล |
1, |
เชิงปริมาณ 1. ร้อยละ 90 ของผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีพื้นฐานความรู้เพิ่มมากขึ้นและมีความพร้อมในการเข้าเรียนห้องเรียนพิเศษ 2. ร้อยละ 90 ของผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ทุกรายวิชาในระดับดีขึ้นไปตามจุดเน้นของสถานศึกษา 3. ร้อยละ 90 ของผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจในกิจกรรมพิเศษของนักเรียนห้องเรียนพิเศษและทักษะทางวิทยาศาสตร์ 4. ร้อยละ 90 ของผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมเผยแพร่นำเสนอผลงานโครงงานแข่งขันกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ทั้งในโรงเรียนและมหาวิทยาลัย 5. ร้อยละ 90 ของผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจและทักษะปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์จนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ทุกรายวิชาในระดับดีสูงขึ้น 6. ร้อยละ90 ของผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่เข้าค่ายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำวิจัยทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์จนสามารถทำวิจัยได้ เชิงคุณภาพ 1. ผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีพื้นฐานความรู้เพิ่มมากขึ้นและมีความพร้อมในการเข้าเรียนห้องเรียนพิเศษ 2. ผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ทุกรายวิชาในระดับดีขึ้นไปตามจุดเน้นของสถานศึกษา 3. ผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจในกิจกรรมพิเศษของนักเรียนห้องเรียนพิเศษและทักษะทางวิทยาศาสตร์ 4. ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมเผยแพร่นำเสนอผลงานโครงงานแข่งขันกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ทั้งในโรงเรียนและมหาวิทยาลัย 5. ผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจและทักษะปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์จนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ทุกรายวิชาในระดับดีสูงขึ้น |
วิธีการ -ประเมินจากความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม -ประเมินจากใบงาน ใบความรู้ การนำเสนอผลงาน เครื่องมือ -ประเมินจากความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม -ประเมินจากใบงาน ใบความรู้ การนำเสนอผลงาน |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมแข่งขันฟิสิกส์สัปประยุทธ์ ขั้นเตรียม 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ 2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดกิจกรรมสานสัมพันธ์พี่รักน้องนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ขั้นสรุป 1. ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถาม 2. รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมสานสัมพันธ์พี่รักน้องนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ขั้นเตรียม 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ 2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดกิจกรรมสานสัมพันธ์พี่รักน้องนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ขั้นสรุป 1. ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถาม 2. รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์และสารเคมีห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม ขั้นเตรียม 1. ประชุมหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ปรึกษาการจัดกิจกรรม 2. สำรวจตรวจสอบวัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี ที่ต้องใช้ในแต่ละกิจกรรม 3. จัดงบประมาณในการดำเนินงานของแต่ละกิจกรรม 4. กำหนดผู้รับผิดชอบกิจกรรม ขั้นดำเนินการ 1. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ สารเคมี 2. ตรวจรับ 3. ครูนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนทุกรายวิชาทุกชั้นปี ทั้งภาคเรียนที่ 1 และ 2 4. นักเรียนนำไปใช้ในการทำวิจัย ขั้นสรุป 1. ครูบันทึกพฤติกรรมการเรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะ สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์หลังแผนการจัดการเรียนรู้ 2. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายงานผลการจัดการเรียนการสอน ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ผลการพัฒนา กิจกรรมที่ 4 : กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์เชิงปฏิบัติการแบบบูรณาการของนักเรียนห้องเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ขั้นเตรียม 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ 2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง / ติดต่อวิทยากร ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดค่ายวิทยาศาสตร์เชิงปฏิบัติการแบบบูรณาการของนักเรียนห้องเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ขั้นสรุป 1. ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถาม 2. รายงานผลการดำเนินการจัดค่าย กิจกรรมที่ 5 : กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์เชิงปฏิบัติการแบบบูรณาการของนักเรียนห้องเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ขั้นเตรียม 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ 2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง / ติดต่อวิทยากร ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดค่ายวิทยาศาสตร์เชิงปฏิบัติการแบบบูรณาการของนักเรียนห้องเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ขั้นสรุป 1. ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถาม 2. รายงานผลการดำเนินการจัดค่าย กิจกรรมที่ 6 : กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา และดาราศาสตร์นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ขั้นเตรียม 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ 2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดกิจกรรมกิจกรรมปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา และดาราศาสตร์นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ขั้นสรุป 1. ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถาม 2. ประเมินผลสัมฤทธิ์ จากการสังเกตการปฏิบัติงาน คะแนนจากแบบฝึกและใบงาน 3. รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม กิจกรรมที่ 7 : กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ด้วยภาษาอังกฤษเสริมนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ขั้นเตรียม 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ 2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง / ติดต่อวิทยากร ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดค่ายวิทยาศาสตร์ด้วยภาษาอังกฤษเสริมนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ขั้นสรุป 1. ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถาม 2. ประเมินผลสัมฤทธิ์ จากการสังเกตการปฏิบัติงาน คะแนนจากแบบฝึกและใบงาน 3. รายงานผลการดำเนินการจัดค่าย กิจกรรมที่ 8 : กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ด้วยภาษาอังกฤษเสริมนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ขั้นเตรียม 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ 2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง / ติดต่อวิทยากร ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดค่ายวิทยาศาสตร์ด้วยภาษาอังกฤษเสริมนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ขั้นสรุป 1. ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถาม 2. ประเมินผลสัมฤทธิ์ จากการสังเกตการปฏิบัติงาน คะแนนจากแบบฝึกและใบงาน 3. รายงานผลการดำเนินการจัดค่าย กิจกรรมที่ 9 : กิจกรรมปฐมนิเทศนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ขั้นเตรียม 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ 2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดกิจกรรมปฐมนิเทศนักเรียนชั้นมัธยมศึกาาปีที่ 4 ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ขั้นสรุป 1. ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถาม 2. รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม กิจกรรมที่ 10 : กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์กลุ่มภาคกลางตอนล่าง ขั้นเตรียม 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ 2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์กลุ่มภาคกลางตอนล่าง ขั้นสรุป 1. ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถาม 2. รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม กิจกรรมที่ 11 : นำเสนอโครงงานเชิงวิจัยนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯ ขั้นเตรียม 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ 2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดกิจกรรมนำเสนอโครงงานเชิงวิจัยนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯ ขั้นสรุป 1. ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถาม 2. รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม |
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
|
ครูเกรียงไกร จันหอม
|
โครงการพัฒนาผู้เรียนคิดเป็นทำเป็น วัตถุประสงค์ 1. เพื่อจัดนิทรรศการแสดงความรู้และผลงาน ความสามารถของนักเรียน ด้านวิทยาศาสตร์ 2. เพื่อแข่งขันทักษะทางวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ 3. เพื่อให้นักเรียนเกิดความสนุกสนานควบคู่กับการได้รับความรู้ในสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 4. เพื่อฝึกให้นักเรียนได้ร่วมกันคิดอย่างมีระบบ คิดอย่างมีเหตุผลตามหลักการวิทยาศาสตร์ |
1,2,5, |
เชิงปริมาณ 1. ร้อยละ 90 ของครู นักเรียนเข้าร่วมชมนิทรรศการ ผลงานและความสามารถของนักเรียน เชิงคุณภาพ 1. นักเรียนเกิดความสนุกสนานควบคู่กับการได้รับความรู้ในสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2. นักเรียนได้ร่วมกันคิดอย่างมีระบบ คิดอย่างมีเหตุผลตามหลักการวิทยาศาสตร์ |
วิธีการ ตรวจแบบประเมิน เครื่องมือ ตรวจแบบประเมิน |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมนิทรรศการวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ ขั้นเตรียม 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ 2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ขั้นดำเนินการ ดำเนินงานจัดกิจกรรม วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ ประจำปีการศึกษา 2563 ขั้นสรุป ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถามและสรุปการจัดกิจกรรม |
1/10/2562 ถึง
|
ครูเกรียงไกร จันหอม
|
จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 2. เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบคิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล 3. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะพื้นฐานที่จำเป็นตามหลักสูตร 4. เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต 5. ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล |
เชิงปริมาณ 1.ผู้เรียนร้อยละ 80นำเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหาด้วยภาษาหรือวิธีการของตนเอง 2.ผู้เรียนร้อยละ 80กำหนดเป้าหมายคาดการณ์ ตัดสินใจแก้ปัญหาโดยมีเหตุผลประกอบ 3.ผู้เรียนร้อยละ 80มีความคิดริเริ่ม และสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิ 4.ผู้เรียนร้อยละ 70 มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยแต่ละกลุ่มสาระเป็นไปตามเกณฑ์ 5.ผู้เรียนร้อยละ 85มีผลการประเมินสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตรเป็นไปตามเกณฑ์ 6.ผู้เรียนร้อยละ 80มีผลการคิดวิเคราะห์ และเขียนเป็นไปตามเกณฑ์ 7.ผู้เรียนร้อยละ 50 มีผลการทดสอบระดับชาติเป็นไปตามเกณฑ์ 8.ผู้เรียนร้อยละ 85 สามารถวางแผนการทำงานและดำเนินการจนสำเร็จ 9. ผู้เรียนร้อยละ 90มีการทำงานอย่างมีความสุข มุ่งมั่นพัฒนางาน และภูมิใจในผลงานของตนเอง 10.ผู้เรียนร้อยละ90ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ 11.ผู้เรียนร้อยละ 80มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริตและหาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองสนใจ เชิงคุณภาพ 1.ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องในระดับดีมาก 2.ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบคิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล ในระดับ ดีเลิศ 3. ผู้เรียนมีความรู้และทักษะพื้นฐานที่จำเป็นตามหลักสูตรในระดับดีมาก 4. ผู้เรียนมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริตในระดับดีเลิศ |
วิธีการ -ตรวจแบบสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน -ตรวจแบบประเมินความพึงพอใจ เครื่องมือ -ตรวจแบบสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน -ตรวจแบบประเมินความพึงพอใจ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ และสารเคมี ขั้นเตรียม 1. ประชุมครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2. สำรวจตรวจสอบวัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี ทุกห้องปฏิบัติการ ขั้นดำเนินการ 1. หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายนิเทศติดตามการจัดการเรียนการสอนของครู การใช้สื่อวัสดุ อุปกรณ์ สารเคมี ในการจัดการเรียนการสอน ตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ 2. ตรวจสอบทะเบียนการใช้สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ สารเคมี 3. หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ตรวจสอบ รายงานการจัดการเรียนการสอน รายงานการใช้สื่อ แผนการจัดการเรียนรู้ ของครูกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ ขั้นสรุป 1. ครูบันทึกพฤติกรรมการเรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะ สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์หลังแผนการจัดการเรียนรู้. ครูบันทึกพฤติกรรมการเรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะ สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์หลังแผนการจัดการเรียนรู้. ครูบันทึกพฤติกรรมการเรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะ สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์หลังแผนการจัดการเรียนรู้. ครูบันทึกพฤติกรรมการเรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะ สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์หลังแผนการจัดการเรียนรู้ 2. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายงานผลการจัดการเรียนการสอน ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ผลการพัฒนา. ครูบันทึกพฤติกรรมการเรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะ สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์หลังแผนการจัดการเรียนรู้ 2. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายงานผลการจัดการเรียนการสอน ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ผลการพัฒนา 3. ผลคะแนนทดสอบระดับชาติ ( O-NET ) 3. ผลคะแนนทดสอบระดับชาติ ( O-NET ) 2. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายงานผลการจัดการเรียนการสอน ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ผลการพัฒนา 3. ผลคะbr>แนนทดสอบระดับชาติ ( O-NET ) 2. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายงานผลการจัดการเรียนการสอน ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ผลการพัฒนา 3. ผลคะแนนทดสอบระดับชาติ ( O-NET ) 2. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายงานผลการจัดการเรียนการสอน ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ผลการพัฒนา 3. ผลคะbr>แนนทดสอบระดับชาติ ( O-NET ) |
1/10/2562 ถึง
|
ครูเกรียงไกร จันหอม
|
|
โครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา วัตถุประสงค์ 1. ให้ครูผู้สอนมีความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถในการพัฒนาหลักสูตรและสามารถนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษาที่เหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่นและเทียบเคียงกับมาตรฐานสากล |
1,2, |
เชิงปริมาณ 1. ครูร้อยละ 100 มีความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถในการพัฒนาหลักสูตรและสามารถ จัดทำหลักสูตรของกลุ่มสาระการเรียนรู้ครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่นและเทียบเคียงกับมาตรฐานสากล เชิงคุณภาพ 1. ครูผู้สอนมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรและสามารถนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพระดับดีเลิศ 2. สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษาให้เหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่นและเทียบเคียงกับมาตรฐานสากล ในระดับดีเลิศ |
วิธีการ ทำแบบสอบถาม เครื่องมือ ทำแบบสอบถาม |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ขั้นเตรียม 1. ศึกษานโยบายของโรงเรียน เขตพื้นที่การศึกษาและสพฐ.ในส่วนที่เกี่ยวข้อง กับโครงการฯ 2. ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา 3. ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการฯ 4. จัดทำโครงการฯ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร ขั้นดำเนินการ 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการฯ และมอบหมายภาระงาน 2. จัดประชุมปฏิบัติการทบทวน ปรับปรุง พัฒนาหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนรู้ 3. ดำเนินงานตามโครงการฯ ขั้นสรุป 1. สรุปประเมินโครงการฯ 2. จัดทำรายงานโครงการฯ นำเสนอฝ่ายบริหาร |
1/10/2562 ถึง
|
หัวหน้างานพัฒนาหลักสูตร และ คณะ
|
งานส่งเสริมและพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้สถานศึกษาจัดวางระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนอย่างเป็นรูปธรรม มีขั้นตอนอย่างชัดเจน และมีความเป็นไปได้ในการปฏิบัติ 2. เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายให้ความร่วมมือในการวางระบบและดำเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาเป็นอย่างดี 3.เพื่อให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน/ท้องถิ่น และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความมั่นใจต่อระบบการบริหารและการจัดการของสถานศึกษาในระดับสูง |
5,6, |
เชิงปริมาณ 1. คณะครูและบุคลากรร้อยละ 95 มีส่วนร่วมในการประชุมเชิงปฏิบัติการการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2562 1 ครั้ง 2. คณะครูและบุคลากรร้อยละ 95 มีส่วนร่วมในการติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาจากหน่วยงานต้นสังกัดประจำปีการศึกษา 2562 1 ครั้ง 3.โรงเรียนมีรายงานการประเมินตนเองปีการศึกษา 2562 จำนวน 180 เล่ม เชิงคุณภาพ 1. โรงเรียนมีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาอยู่ในระดับดีเยี่ยม 2. โรงเรียนมีการติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาอยู่ในระดับดีเยี่ยม 3.โรงเรียนนำผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใช้วางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่องอยู่ในระดับดีเยี่ยม 4.โรงเรียนจัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายในอยู่ในระดับดีเยี่ยม 5.ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่าย มีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 อยู่ในระดับดีเยี่ยม |
วิธีการ แบบประเมิน เครื่องมือ แบบประเมิน |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : ประชุมปฏิบัติการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ขั้นเตรียม ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน ขั้นดำเนินการ ประชุมปฏิบัติการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ขั้นสรุป สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน กิจกรรมที่ 2 : จัดทำรายงานการประเมินตนเอง ประจำปีการศึกษา 2562 ขั้นเตรียม ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน ขั้นดำเนินการ จัดทำรายงานการประเมินตนเอง ประจำปีการศึกษา 2562 ขั้นสรุป สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน กิจกรรมที่ 3 : วางแผนการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน ขั้นเตรียม ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน ขั้นดำเนินการ ดำเนินการวางแผนการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน ขั้นสรุป สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน กิจกรรมที่ 4 : เตรียมรับการประเมินจากต้นสังกัด ขั้นเตรียม ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน ขั้นดำเนินการ เตรียมรับการประเมินจากต้นสังกัดและบุคคลภายนอก ขั้นสรุป สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน |
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
|
ครูสรินยาและคณะ
|
พัฒนาคุณภาพโรงเรียนมาตรฐานสากล วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาโรงเรียนมาตรฐานสากล 2. เพื่อส่งเสริมทักษะในการสื่อสารและนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าของนักเรียน 3. โรงเรียนมีการบริหารจัดการระบบคุณภาพ มีหลักสูตรและจัดการเรียนรู้เทียบเคียงมาตรฐานสากล |
2,4, |
เชิงปริมาณ 1. นักเรียนที่เรียนวิชา IS ทุกคนได้การส่งเสริมทักษะในการสื่อสารและนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า 2. นักเรียนร้อยละ 85 มีทักษะในการสื่อสารและนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าได้ดีขึ้น 3. ครูโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมหน่วยงานย่อยทุกหน่วยงาน เชิงคุณภาพ 1. นักเรียนที่เรียนวิชา IS ทุกคนได้การส่งเสริมให้มีทักษะในการสื่อสารและนำเสนอผลการศึกษา ค้นคว้าและสามารถนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าได้ดีขึ้น 2.ครูทุกคนมีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพทุกหน่วยงานในโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมการบริหารจัดการเชิงระบบ |
วิธีการ แบบประเมิน เครื่องมือ แบบประเมิน |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมการจัดเวทีนำเสนอ ขั้นเตรียม - ประชุมคณะทำงาน - จัดทำแผนปฏิบัติงาน ขั้นดำเนินการ -จัดกิจกรรมตามแผนปฏิบัติงานที่กำหนด -นิเทศติดตามการปฏิบัติงานในทุกกิจกรรมตามแผนปฏิบัติงานที่กำหนด ขั้นสรุป ประเมินผลการปฏิบัติงานโดยใช้แบบสอบถามและแบบประเมิน - รายงานผลการปฏิบัติงานและนำข้อมูลมาปรับปรุงพัฒนางานต่อไป กิจกรรมที่ 2 : การอบรมความรู้งานโรงเรียนมาตรฐานสากล ขั้นเตรียม -ประชุมครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผน ดำเนินงาน -เขียนโครงการและเสนอขออนุมัติกิจกรรม ขั้นดำเนินการ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานรับผิดชอบ - อบรมงานโรงเรียนมาตรฐานสากลเพื่อรองรับการประเมิน OBECQA ขั้นสรุป 1. ประเมินผลการดำเนินงานของโรงเรียนบุคลากรที่เข้ารับการอบรม 2. ประเมินความพึงพอใจของครูที่เข้ารับการอบรม |
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
|
ครูธวัชชัย วิเศษสิงห์
|
พัฒนางานทะเบียนวัดผล วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้มีการจัดระบบการบันทึก การรายงานผล และการส่งต่อข้อมูลของผู้เรียน 2. เพื่อให้ผู้เรียนมีเอกสารสำคัญแสดงวุฒิการศึกษา เพื่อการศึกษาต่อหรือทำงาน |
เชิงปริมาณ 1. นักเรียนทุกคนมีเอกสารที่ใช้ในการศึกษาต่อ หรือสมัครงาน 2. นักเรียนทุกคนมีเอกสารสำคัญที่แสดงความรู้/วุฒิการศึกษา เชิงคุณภาพ 1. มีข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาที่สมบูรณ์แบบ 2. มีการจัดกระทำข้อมูลสารสนเทศที่รวดเร็วและถูกต้อง |
วิธีการ - ดูจากจำนวนนักเรียนที่มาให้แก้ไขข้อมูลในเอกสารที่ออกโดยฝ่ายทะเบียน - ดูจากผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่ใช้บริการจากฝ่ายทะเบียน เครื่องมือ - ตรวจสอบข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา - รายงานข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : โครงการพัฒนางานทะเบียนวัดผล ขั้นเตรียม สำรวจวัสดุที่ต้องการใช้ ขั้นดำเนินการ จัดซ์้อวัสดุและอุปกรณ์ ขั้นสรุป ประเมินการใช้งาน |
11/9/2562 ถึง
|
นายเชลงศักดิ์ ศักดิ์สิทธิวงศ์
|
|
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ให้สูงขึ้น 2. เพื่อให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ มัธยมศึกษาปีที่ 6 มีผลการทดสอบระดับชาติ (O-net) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานระดับชาติ |
เชิงปริมาณ 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ร้อยละ 65 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ผ่านเกณฑ์ในระดับดี 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ร้อยละ 50 มีผลการทดสอบระดับชาติ (O-net) เป็นไปตามเกณฑ์ เชิงคุณภาพ 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา วิทยาศาสตร์สูงขึ้น 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีผลการทดสอบระดับชาติ (O-net) วิชาวิทยาศาสตร์ผ่านเกณฑ์ระดับประเทศ |
วิธีการ ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เครื่องมือ ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมติวเพิ่มศักยภาพนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ขั้นเตรียม 1.ประชุมกลุ่มสาระฯ แจ้งนโยบาย ร่วมกันแลกเปลี่ยน เรียนรู้ เสนอแนะ วิธีการติว และวิธีการสร้างสื่อ นวัตกรรม หลักเกณฑ์การฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์ 2.ครูในกลุ่มสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร์วางแผนและจัดทำเอกสารประกอบการติวผลิตสื่อ ขั้นดำเนินการ 1.เปิดโครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ศักยภาพครูผู้รับผิดชอบดำเนินการพัฒนาตามแผน 2.ดำเนินการติวพัฒนาศักยภาพนักเรียน ขั้นสรุป นำผลการประเมิน การติวเพิ่มศักยภาพด้วยแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนักเรียนชั้มมัธยมศึกษาปีที่ 3 และมัธยมศึกษาปีที่ 6 และผลการทดสอบระดับชาติ (O-net) นักเรียนชั้มมัธยมศึกษาปีที่ 3 และมัธยมศึกษาปีที่ 6 มาปรับปรุงกิจกรรม กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมประเมินแบบเพิ่มค่า ขั้นเตรียม 1.ประชุมกลุ่มสาระฯ แจ้งนโยบาย ร่วมกันแลกเปลี่ยน เรียนรู้ เสนอแนะ วิธีการติว และวิธีการสร้างสื่อ นวัตกรรม หลักเกณฑ์การฝึกทักษะทาง วิทยาศาสตร์ 2.ครูในกลุ่มสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร์วางแผนและจัดทำเอกสารประกอบการประเมิน 3.หัวหน้ากลุ่มสาระฯ เสนอโครงการ ขั้นดำเนินการ ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ดำเนินการประเมินแบบเพิ่มค่า ขั้นสรุป นำกิจกรรมที่ปรับปรุงแล้วใช้เป็นต้นแบบของโครงการต่อไป |
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
|
ครูเกรียงไกร จันหอม
|
|
งานนิเทศการศึกษา วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาโรงเรียนให้มีการนิเทศ ติดตาม โดยใช้วิธีการที่หลากหลาย มีแผนการนิเทศ ติดตามกำกับอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง 2. เพื่อนำผลการนิเทศมาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน |
เชิงปริมาณ 1. ครูทุกคนได้รับการนิเทศร้อยละ 100 2. ครูร้อยละ 85 พัฒนาการสอนได้ดีขึ้น เชิงคุณภาพ 1. ครูทุกคนได้รับการนิเทศ 2. ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรและสอดคล้องกับแผนการ จัดการเรียนการสอนอีกทั้งนักเรียนยังมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเป้าหมายที่โรงเรียนกำหนด |
วิธีการ บันทึกนิเทศภายใน เครื่องมือ บันทึกนิเทศภายใน |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : นิเทศแบบกัลยาณมิตร ขั้นเตรียม - ประชุมคณะทำงาน - จัดทำแผนปฏิบัติงาน ขั้นดำเนินการ - นิเทศติดตามการปฏิบัติงานในทุกกิจกรรมตามแผนปฏิบัติงานที่กำหนด ขั้นสรุป - ประเมินผลการปฏิบัติงานโดยใช้แบบสอบถามและแบบประเมิน - รายงานผลการปฏิบัติงานและนำข้อมูลมาปรับปรุงพัฒนางานต่อไป |
1/10/2562 ถึง
|
นางนิชนันท์ จันหอม
|
|
โครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างเครือข่ายนักเรียนแกนนำห้องเรียนสีขาวในการต่อต้านยาเสพติด 2.เตรียมการเพื่อรับการประเมินโรงเรียนสีขาวปี2563 |
เชิงปริมาณ 3.1.1สร้างนักเรียนแกนนำห้องเรียนสีขาวในการต่อต้านยาเสพติด 3.1.1 ผู้เรียนกลุ่มเสี่ยงทุกคนได้รับการอบรมให้ความรู้และเสริมสร้างทักษะชีวิต 3.1.2 รายงานผลการดำเนินงาน โรงเรียนสีขาว เชิงคุณภาพ 3.1ผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 อยู่ในระดับดี 3.2 สามารถผ่านการประเมินโรงเรียนสีขาว |
วิธีการ 3.1 สังเกต 3.2 สอบถาม 3.3 ประเมินการจัดกิจกรรม เครื่องมือ 3.1ประเมินการมีส่วนร่วมทุกฝ่ายมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 อยู่ในระดับดี 3.2 การประเมินโรงเรียนสีขาวจากคณะกรรมการประเมิน |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : โครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข ขั้นเตรียม 1.1 ประชุมปรึกษาหารือผู้เกี่ยวข้อง 1.2 จัดทำโครงการเสนอผู้อำนวยการเพื่อขออนุมัติ ขั้นดำเนินการ 2.1 ประสานวิทยากร / หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2.2ดำเนินการคัดเลือกนักเรียนแกนนำ 2.3 จัดกิจกรรมตามโครงการที่กำหนด ขั้นสรุป สรุปและรายงานผลการดำเนินงานต่อสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๘ กิจกรรมที่ 2 : ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดตามแนวทางโรงเรียนสีขาว ขั้นเตรียม 1.1 ประชุมปรึกษาหารือผู้เกี่ยวข้อง 1.2 จัดทำโครงการเสนอผู้อำนวยการเพื่อขออนุมัติ ขั้นดำเนินการ 2.1 ประสานวิทยากร / หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2.2ดำเนินการคัดเลือกนักเรียนแกนนำ 2.3 จัดกิจกรรมตามโครงการที่กำหนด ขั้นสรุป สรุปและรายงานผลการดำเนินงานต่อสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๘ |
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
|
นางการะเกษ อ่อนแก้ว
|
|
รับสมัครนักเรียน วัตถุประสงค์ .1 เพื่อรับนักเรียนเข้าเรียนต่อห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 2.2 เพื่อรับนักเรียนเข้าเรียนต่อห้องเรียนพิเศษ Mini English Program ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2.3 เพื่อรับนักเรียนเข้าเรียนต่อห้องเรียนปกติในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 |
เชิงปริมาณ 3.1.1 รับนักเรียนเข้าเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 72 คน และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 30 คน 3.1.2 รับนักเรียนเข้าเรียนต่อห้องเรียนพิเศษ Mini English Program ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 30 คน 3.1.3 รับนักเรียนเข้าเรียนต่อห้องเรียนปกติในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 จำนวน ระดับละ 10 ห้องเรียน เชิงคุณภาพ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมได้รับนักเรียนเข้าเรียนต่อตามแผนการเรียนโดยผ่านกระบวนการสอบคัดเลือกและคะแนนจากผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) |
วิธีการ แบบประเมินโดยการสอบถาม เครื่องมือ แบบทดสอบ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : รับสมัครนักเรียน ขั้นเตรียม 1.ประชุมชี้แจงคณะทำงาน เพื่อเตรียมการดำเนินงาน 2.ประชาสัมพันธ์การรับนักเรียนในระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 ปีการศึกษา 2562 ผ่านทางเวปไซด์โรงเรียนและจัดทำป้ายไวนีล 3. จัดเตรียมเอกสาร วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการรับสมัครนักเรียน ขั้นดำเนินการ 1.รับสมัครนักเรียนห้องเรียนพิเศษ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ4 จัดสอบ ประกาศผลสอบและมอบตัว 2.รับสมัครนักเรียนห้องปกติชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ4 จัดสอบ ประกาศผลสอบและมอบตัว ขั้นสรุป 1. นิเทศติดตามการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการกำหนด 2.สรุปผลประเมินโครงการ 3.จัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร |
1/1/2563 ถึง
|
ครูยุวดี พุทสอน
|
|
สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสนองพระราชดำริโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ.) 2.เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ผู้เรียนมีความรัก และเห็นคุณค่าของพืชพรรณและทรัพยากร 3.เพื่อให้โรงเรียนเป็นแหล่งรวบรวมตัวอย่างพรรณไม้ ข้อมูลพรรณไม้ และการเก็บรักษา เพื่อประโยชน์ทางการศึกษา และเผยแพร่สู่ภายนอก 4.เพื่อให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชในโรงเรียน 5.เพื่อให้เกิดการเรียนรู้การทำงานร่วมกันและการจัดการอย่างมีระบบ |
5,6, |
เชิงปริมาณ 1.นักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 และบุคลากรทั้งหมดในโรงเรียนมีส่วนร่วมในการศึกษาพรรณไม้ในบริเวณพื้นที่ศึกษาตลอดจนพืชศึกษา 2.นักเรียนและบุคลากรทุกคนในโรงเรียนสนองพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ.) งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน เชิงคุณภาพ 1.นักเรียนและบุคลากรทุกคนมีความรู้ความเข้าใจมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชสนองพระราชดำริ งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน 2.ครูออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนในระดับดี |
วิธีการ สร้างแบบสอบถามสำหรับครูและนักเรียนที่เกี่ยวกับงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม เครื่องมือ 1.สร้างแบบสอบถามสำหรับครูและนักเรียนที่เกี่ยวกับงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม 2.จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : การอบรมความรู้สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ขั้นเตรียม - ประชุมครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผน ดำเนินงาน - เขียนโครงการและเสนอขออนุมัติกิจกรรม ขั้นดำเนินการ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานรับผิดชอบ - อบรมสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเพื่อรองรับการประเมิน ป้ายพระราชทาน - อบรมและให้ความรู้เกี่ยวกับงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแก่นักเรียน ทุกระดับชั้น - ผู้เรียนศึกษาพรรณไม้จากทะเบียนพรรณไม้ ขั้นสรุป 1. ประเมินผลการดำเนินงาน - สภาพแวดล้อม - บรรยากาศของงานสวนพฤกษศาสตร์ - บุคลากรและผู้เรียนมีคุณธรรม - ผลการดำเนินงานของโรงเรียนบุคลากรและผู้เรียน 2. ประเมินความคิดเห็นของครูและผู้เรียน ต่อการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน กิจกรรมที่ 2 : การดำเนินงาน 5 องค์ประกอบของงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ขั้นเตรียม - ประชุมครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผน ออกแบบ และดำเนินงาน 5 องค์ประกอบ ขั้นดำเนินการ - กำหนดพื้นที่ศึกษา - เรียนรู้พื้นที่ทั้งหมดของโรงเรียนตามกรรมสิทธิ์ และบริเวณรอบๆ โรงเรียน - กำหนดและแบ่งขอบเขตพื้นที่ภายในโรงเรียนเป็นพื้นที่ย่อยๆ - ทำป้ายแผนผังพรรณไม้และแสดงตำแหน่งพรรณไม้ - ออกแบบป้ายพรรณไม้ และติดป้ายรหัสประจำต้น ขั้นสรุป 1. ประเมินผลการดำเนินงาน - สภาพแวดล้อม - บรรยากาศของงานสวนพฤกษศาสตร์ - บุคลากรและผู้เรียนมีคุณธรรม - ผลการดำเนินงานของโรงเรียนบุคลากรและผู้เรียน 2. ประเมินความคิดเห็นของครูและผู้เรียน ต่อการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน กิจกรรมที่ 3 : การสำรวจพรรณไม้ในบริเวณโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ขั้นเตรียม - ประชุมครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผน ดำเนินการ - เลือกพื้นที่ศึกษาในการสำรวจพรรณไม้ ขั้นดำเนินการ - สำรวจพรรณไม้ในพื้นที่ศึกษา - จำแนกชนิดและจำนวนต้นที่พบ บันทึกข้อมูล - จำแนกลักษณะวิสัยพืชที่สำรวจ ขั้นสรุป - สรุปจำนวนชนิดและจำนวนต้นไม้ที่พบ - สรุปจำนวนลักษณะวิสัยที่พบ - สรุปรายงานผลการประเมินกิจกรรม กิจกรรมที่ 4 : รายงานผลการดำเนินงาน ขั้นเตรียม - รวบรวมข้อมูลจากการศึกษาในแต่ละกิจกรรม ขั้นดำเนินการ - บันทึกข้อมูลลงในคอมพิวเตอร์ - จัดทำเล่มและเข้าเล่มรายงาน ขั้นสรุป - ประเมินผลการดำเนินงาน |
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
|
นางสาวศรัณย์ภรณ์ เสนาวงศ์
|
งานประเมินผลการปฏิบัติงานด้านบริหารงานบุคคล วัตถุประสงค์ 1. . เพื่อเป็นแนวทางพัฒนาบุคลากรในโรงเรียนและนำผลการประเมินโครงการหรือกิจกรรมไปใช้ในการตัดสินใจปรับปรุงพัฒนาในอนาคต จะทำให้ปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล |
เชิงปริมาณ 1. ผู้บริหาร คณะครู นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษาอื่น จำนวน 2,000 คน ทำแบบประเมินกิจกรรม วิธีการประเมิน เชิงคุณภาพ 1. การทำงานมีประสิทธิภาพดีเยี่ยม |
วิธีการ แบบประเมินประประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงาน เครื่องมือ แบบประเมินประประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงาน |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : งานประเมินผลการปฏิบัติงานด้านบริหารงานบุคคล ขั้นเตรียม 1. ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1) 1.1 ประชุม/จัดทำแบบประเมินให้กับคณะผู้บริหาร คณะครู และนักเรียน 2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2) 2.1 จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ขั้นดำเนินการ 3.ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1) 3.1 บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม 3.2 แจกแบบประเมินกิจกรรมต่างๆ ในฝ่ายงานบุคคล 4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2) 4.1 ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม ขั้นสรุป 5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1) 5.1 ทำแบบประเมินความพึงพอใจ 5.2 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ 6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2) 6.1 บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินโครงการ 6.2 สรุปรูปเล่มรายงานโครงการ |
20/9/2564 ถึง
|
นางสาวธนพร เลิศโพธาวัฒนา
|
|
อาเซียนศึกษา วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาหลักสูตรอาเซียน 2. เพื่อร่วมนำเสนอผลงานนักเรียนจากการจัดการเรียนการสอนอาเซียน |
เชิงปริมาณ 1นักเรียนได้รับการศึกษาอาเซียนศึกษาจากการบูรณาการและการเรียนการสนอโดยตรง. 2.นักเรียนร้อยละ 70 เข้าร่วมชมนิทรรศการอาเซียนในงานสัปดาห์วิชาการ เชิงคุณภาพ 1.นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของการรวมกลุ่มประชาคมอาเซียน 2. มีหลักสูตรบูรณาการอาเซียนที่ใช้จัดการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสม |
วิธีการ เครื่องมือ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : นิทรรศการอาเซียน ขั้นเตรียม ประชุมวางแผนการจัดงาน มอบหมายงานให้ฝ่ายต่างๆ ขั้นดำเนินการ ร่วมจัดนิทรรศการอาเซียนในงานสัปดาห์วิชาการ ขั้นสรุป รายงานผลการดำเนินงาน กิจกรรมที่ 2 : พัฒนาหลักสูตรอาเซียน ขั้นเตรียม ประชุมเพื่อหาแนวทางการพัฒนาหลักสูตรอาเซียน กับงานหลักสูตรสถานศึกษา และหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ขั้นดำเนินการ จัดประชุมปฏิบัติการเพื่อร่วมกันพัฒนาหลักสูตรอาเซียน ขั้นสรุป รวบรวมหลักสูตรและรายงานผลการจัดการอบรม |
11/9/2562 ถึง
11/9/2562 ถึง
|
นางสาวขวัญจิตร ยิ่งยวด และคณะ
|
|
วิถีธรรมวิถีไทย วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ผู้เรียนมีจิตสำนึกรักษ์ความเป็นไทยเห็นความสำคัญของสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ 2.เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีนิสัยประหยัดอดออม 3.เพื่อส่งเสริมให้ครู ผู้เรียนและบุคลากร งดเว้นการประพฤติมิชอบ 4.เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักวางแผนการทำงาน ทำงานเป็นทีม มีทักษะชีวิตโดยเน้นหลักของเศรษฐกิจพอเพียง 5. เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ใฝ่รู้ใฝ่เรียน 6.เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร 7.เพื่อให้ผู้เรียนเอื้ออาทรผู้อื่นและกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ 2. ข้อความ.... |
1, |
เชิงปริมาณ 1. ผู้เรียนร้อยละ 85 มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร 2. ข้อความ....... เชิงคุณภาพ ผู้เรียน มีประพฤติตนเป็นคนดีตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับดีเยี่ยม 2. 2. ข้อความ....... |
วิธีการ การสังเกตพฤติกรรม เครื่องมือ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : การจัดการเรียนการสอนธรรมศึกษาในโรงเรียน ขั้นเตรียม ประสานงานกับ ธสร. -ประกาศรับสมัคร นร.เข้าสอบธรรมศึกษา -จัดทำบัญชีรายชื่อ ขั้นดำเนินการ ออกคำสั่งคณะกรรมการดำเนินงาน -จัดสอนธรรมศึกษา -จัดสอบธรรมศึกษา ขั้นสรุป ประเมินผลการจัดกิจกรรม รายงานผลการดำเนินงาน กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมวันสำคัญของชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ ขั้นเตรียม ประสานงานกับครูกลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม 2. ประชุมกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ขั้นดำเนินการ จัด ป้ายนิเทศ นิทรรศการวันสำคัญต่างๆ ตามลำดับ ขั้นสรุป ติดตามและประเมินผล กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมส่งเสริมการออม ขั้นเตรียม ประชุมครูกลุ่มสาระฯ มอบหมายงาน ขั้นดำเนินการ ครูกลุ่มสาระฯ ส่งเสริมให้นักเรียนฝากเงินกับธนาคารโรงเรียนอย่างสม่ำเสมอ ขั้นสรุป รายงานผลการดำเนินงาน |
10/9/2562 ถึง
10/9/2562 ถึง
10/9/2562 ถึง
|
นางสาวอลิสา ป่วนเดช
|
การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม วัตถุประสงค์ 1.เพื่อส่งเสริมให้ครูมีวัสดุอุปกรณ์ เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการจัดการเรียนการสอน ข้อความ.... 2.เพื่อให้กลุ่มสาระสังคมศึกษาฯ มีตารางเรียนที่เหมาะสมกับจำนวนและความสามารถของบุคลากร |
เชิงปริมาณ 1.ครูร้อยละ 95 สามารถปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล 2.นักเรียนร้อยละ 70 ได้ระดับผลการเรียน 3-4ข้อความ....... เชิงคุณภาพ 1.ครูมีวัสดุอุปกรณ์ สื่อเทคโนโลยีที่เพียงพอและพร้อมใช้งาน |
วิธีการ เครื่องมือ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ขั้นเตรียม สำรวจความต้องการ ขั้นดำเนินการ จัดหาสื่อ วัสดุอุปกรณ์ ขั้นสรุป ติดตามและประเมินผล |
10/9/2562 ถึง
|
นางจันทนา ศรีบูจันดี
|
|
โครงการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒธะรม วัตถุประสงค์ 1.เพื่อจัดหาสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 2.เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนให้ดียิ่งขึ้น |
1, |
เชิงปริมาณ 1. เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อ วัสดุอุปกรณ์ เทคโนโลยีให้ดียิ่งขึ้น 2. เพื่อให้นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาสาระมากยิ่งขึ้น เชิงคุณภาพ 1. กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมมีสื่อ วัสดุอุปกรณ์ที่ ครบและทันสมัย 2. |
วิธีการ สอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ การสังเกต |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : จัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยสื่อเทคโนโลยี ขั้นเตรียม สำรวจความต้องการสื่อ วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นดำเนินการ จัดซื้อ จัดหา ผลิต สื่อวัสดุอุปกรณ์ที่นำมาจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยี ขั้นสรุป ประเมินผลการเรียนการสอนด้วยสื่อ วัสดุอุปกรณ์เทคโนโลยี กิจกรรมที่ 2 : การจัดตารางเรียน ขั้นเตรียม ประชุมเพือมอบหมายหน้าที่การสอน ขั้นดำเนินการ จัดโหลดตารางเรียนและแก้ไขให้เหมาะสมกับบุคลากรในกลุ่มสาระสังคมศึกษาฯส่งฝ่ายวิชาการ ขั้นสรุป จัดโหลดตารางเรียนและแก้ไขให้เหมาะสมกับบุคลากรในกลุ่มสาระสังคมศึกษาฯส่งฝ่ายวิชาการ กิจกรรมที่ 3 : นิเทศการสอน ขั้นเตรียม ระชุมชี้แจงรูปแบบการนิเทศ กำหนดเวลาการนิเทศ ขั้นดำเนินการ นิเทศการสอนตามรูปแบบและวันที่วิชาการกำหนด ภาคเรียนละ 2 ครั้ง ขั้นสรุป ประเมินสรุปการนิเทศ ส่งแบบการนิเทศฝ่ายวิชาการ ภาคเรียนละ 1 ครั้ง กิจกรรมที่ 4 : พัฒนาห้องสาระหน้าที่พลเมือง ขั้นเตรียม ประชุมปรึกษาหารือครูผู้สอนสาระหน้าที่พลเมือง ขั้นดำเนินการ จัดห้องสาระหน้าที่พลเมืองให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของนักเรียน ขั้นสรุป ประเมินการใช้แหล่งการเรียนรู้ |
10/9/2562 ถึง
10/9/2562 ถึง
10/9/2562 ถึง
10/9/2562 ถึง
|
นางจันทนา ศรีบูจันดี
|
โครงการโรงเรียนเศรษฐกิจพอเพียง วัตถุประสงค์ 1. ผู้เรียน มีความสามารถในการแสวงหาความรู้ ใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ในการหาคำตอบและสร้างองค์ความรู้ใหม่ สามารถเชื่อมโยง สู่การดำรงชีวิตได้อย่างพอเพียงและยั่งยืน 2. ผู้เรียนรู้จักวิธีการทำงานและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 3. ครูโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม มีแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ไม่น้อยกว่าร้อยละ95 4. โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติจริงและเป็นแหล่งเรียนรู้ให้ชุมชน |
5, |
เชิงปริมาณ 1 ผู้เรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ร้อยละ 80 มีความสามารถในการแสวงหาความรู้ ใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ในการหาคำตอบและสร้างองค์ความรู้ใหม่ สามารถเชื่อมโยงสู่การดำรงชีวิตได้อย่างพอเพียง และยั่งยืน 2 ผู้เรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ร้อยละ 80 รู้จักวิธีการทำงานและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น เข้าร่วมกิจกรรมทุกกิจกรรมอย่างมีความสุข 3 ครูเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ร้อยละ 80 มีแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ 4 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ร้อยละ 80มีแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติจริงและเป็นแหล่งเรียนรู้ให้ชุมชน เชิงคุณภาพ 1 ผู้เรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม มีความสามารถในการแสวงหาความรู้ ใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ในการหาคำตอบและสร้างองค์ความรู้ใหม่ สามารถเชื่อมโยงสู่การดำรงชีวิตได้อย่างพอเพียง และยั่งยืน ได้ดียิ่งขึ้น 2 ผู้เรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม รู้จักวิธีการทำงานและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น เข้าร่วมกิจกรรม ทุกกิจกรรมอย่างมีความสุข 3 ครูเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม มีแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ 4 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม มีแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติจริงและเป็นแหล่งเรียนรู้ให้ชุมชน |
วิธีการ -สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน -ประเมินความพึงพอใจ เครื่องมือ -สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน -ประเมินความพึงพอใจ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : อบรมศาสตร์พระราชา ขั้นเตรียม - เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ - แต่งตั้งคณะกรรมการ - ประสานงานหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ขั้นดำเนินการ -จัดกิจกรรมอบรมเสริมสร้างความรู้สู่ห้องเรียน เรื่อง ศาสตร์พระราชา เพื่อพัฒนาที่ยั่งยืนของสถานศึกษา โดยครู ที่ปรึกษา และนักเรียนตัวแทนห้องละ 2 คน ตั้งแต่ระดับชั้น ม.1 - ม.6 -งบประมาณ 3,000 บาท -เชิญวิทยากรท้องถิ่นที่ประสบความสำเร็จในการดำรงตนตามศาสตร์พระราชามาให้ความรู้และแนวการปฏิบัติตาม กลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใช้เวลา 1 วัน -มอบเกียรติบัตร ขั้นสรุป -ประเมินผล -สรุปผลการดำเนินงาน |
11/9/2562 ถึง
|
นางกันหา อินจีน
|
พัฒนาคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน วัตถุประสงค์ 1.เพื่อปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในการเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2.เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร 3. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีความเอื้ออาทรผู้อื่นและกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ 4. เพื่อให้นักเรียนยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่าง 5. เพื่อให้นักเรียนตระหนัก รู้คุณค่า ร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม |
1, |
เชิงปริมาณ 1.นักเรียนระดับชั้น ม.1 และม.4 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 นำความรู้จากการอบรมคุณธรรม "ค่ายพุทธบุตร" ไปใช้ในการพัฒนาตนเองได้ 2.นักเรียนระดับชั้น ม.1 และม.4 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 มีความพึงพอใจในการเข้าอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร อยู่ในระดับดี เชิงคุณภาพ 1.นักเรียนระดับชั้น ม.1 และม.4 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม นำความรู้ที่ได้จากการอบรมไปใช้ในชีวิตประจำวัน |
วิธีการ การประเมิน เครื่องมือ การประเมิน |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : พัฒนาคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ขั้นเตรียม - ประชุมปรึกษาหารือ - สำรวจสถานที่ ขั้นดำเนินการ - ติดต่อสถานที่ พระวิทยากร - ขออนุญาตดำเนินการตามโครงการ - แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ - จัดทำหนังสือขออนุญาตผู้ปกครองนักเรียน - เตรียมเอกสารอุปกรณ์ - จัดกิจกรรมเข้าค่าย ขั้นสรุป - รายงานผลการเข้าค่ายพุทธบุตร - รายงานสรุปการประเมินการจัดกิจกรรม กิจกรรมที่ 2 : พัฒนาคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ขั้นเตรียม - ประชุมปรึกษาหารือ - สำรวจสถานที่ ขั้นดำเนินการ - ติดต่อสถานที่ พระวิทยากร - ขออนุญาตดำเนินการตามโครงการ - แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ - จัดทำหนังสือขออนุญาตผู้ปกครองนักเรียน - เตรียมเอกสารอุปกรณ์ - จัดกิจกรรมเข้าค่าย ขั้นสรุป - รายงานผลการเข้าค่ายพุทธบุตร - รายงานสรุปการประเมินการจัดกิจกรรม |
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
|
นางสาวบุษยมาศ อินทร์พรหม
|
โรงเรียนคุณธรรมบ้านคนดี ตามแนววิถีพุทธและค่านิยม12ประการของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม วัตถุประสงค์ 1. เพื่อมีกระบวนการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม๑๒ประการ 2. ใช้โครงงานคุณธรรม/กิจกรรม/บ้านคนดีเป็นเครื่องมือในการพัฒนา 3. เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ 4. เพื่อให้ เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณธรรมทุกภาคส่วน 5. เพื่อให้เกิดกระบวรการ/นวัตกรรมการสร้างคุณธรรมและบูรณาการคุณธรรมเข้ากับการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน 6. สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการพัฒนาคุณธรรม |
เชิงปริมาณ นักเรียน ของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ร้อยละ ๘๐ เข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียนคุณธรรมบ้านคนดี ตามแนววิถีพุทธและค่านิยม12ประการของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมโครงการคุณธรรมบ้านคนดี ตามแนววิถีพุทธและค่านิยม12ประการ เชิงคุณภาพ นักเรียนโรงเรียนคุณธรรมบ้านคนดี ตามแนววิถีพุทธและค่านิยม12ประการของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมคุณธรรมบ้านคนดี ตามแนววิถีพุทธและค่านิยม12ประการโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมมีคุณธรรมตามวัตถุประสงค์ของโครงการ |
วิธีการ การประเมิน เครื่องมือ การประเมิน |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : อบรมเยาวชนและครูแกนนำ ขั้นเตรียม ประชุม/วางแผน ขั้นดำเนินการ อบรมเยาวชนและครูแกนนำ ขั้นสรุป ประเมินผล/รายงานผล กิจกรรมที่ 2 : ดำเนินการรวบรวมโครงงานนำเสนอ ขั้นเตรียม ประชุม/วางแผน ขั้นดำเนินการ ดำเนินการรวบรวมโครงงานนำเสนอ ขั้นสรุป ประเมินผล/รายงานผล |
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
|
นางสาวนิจพิชา ตันสุวรรณ
|
|
ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนและพัฒนาศักยภาพนักกีฬา วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ในกลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษาเฉลี่ยตามเกณฑ์ 2. เพื่อให้มีวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการจัดการเรียนการสอนเพียงพอต่อการจัดการเรียนรู้ 3. เพื่อสร้างเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีให้กับนักเรียน 4. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมตามความถนัดและความสนใจตามจุดประสงค์ด้านวิชาการ ตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน 5. เพื่อสร้างนักเรียนเป็นตัวแทนของโรงเรียนเข้าร่วมการแข่งขันในระดับต่าง ๆ ทั้งด้านวิชาการและด้านการกีฬา |
เชิงปริมาณ 1. นักเรียนของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมทุกคนที่เรียนวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา 2. นักเรียนทุกคนที่เป็นตัวแทนไปเข้าร่วมการแข่งขันต่าง ๆทั้งด้านวิชาการและกีฬา เชิงคุณภาพ 1. นักเรียนร้อยละ 65 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ในกลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษาเฉลี่ยตามเกณฑ์ 2. นักเรียนทุกคนที่เป็นตัวแทนไปเข้าร่วมการแข่งขันต่าง ๆ สามารถพัฒนาทักษะได้สูงขึ้นและสร้างผลงาน ได้เป็นที่น่าพอใจ |
วิธีการ 1.แบบสรุปจำนวนนักเรียนที่เรียนวิชาสุขศึกษาและพลศึกษาแต่ละระดับชั้น 2.แบบสรุปจำนวนนักกีฬาที่ส่งเข้าแข่งขันแต่ละประเภท เครื่องมือ 1. ดูจากรายงานสรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2. ดูจากรายงานสรุปผลการแข่งขันแต่ละรายการ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : จัดซื้ออุปกรณ์การเรียนการสอนสุขศึกษาและพลศึกษา และวัสดุสำนักงาน ขั้นเตรียม สำรวจข้อมูลวัสดุ อุปกรณ์ที่จำเป็นต้องซื้อ 2.เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ ขั้นดำเนินการ 1.เสนอขออนุมัติจัดซื้อ 2.จัดซื้อวัสดุสำนักงานที่จำเป็นต้องใช้ 3.จัดซื้ออุปกรณ์กีฬาที่จำเป็นต้องใช้และยังไม่เพียงพอ 4.จัดซื้อสื่อการเรียนการสอน/วัสดุในการจัดทำสื่อการเรียนการสอนสุขศึกษาและพลศึกษ ขั้นสรุป รายงานการดำเนินการตามโครงการให้ฝ่ายบริหารทราบ กิจกรรมที่ 2 : ส่งนักเรียนแข่งขันภายนอกทั้งด้านวิชาการและการแข่งขันกีฬา ขั้นเตรียม เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ ขั้นดำเนินการ 1. เตรียมนักเรียนตัวแทนที่มีความสามารถทั้งด้านวิชาการและด้านกีฬา 2. จัดซื้อชุดสำหรับการแข่งขันกีฬา และวัสดุ อุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้ในการแข่งขันกีฬา 3. ส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันในรายการต่าง ๆ ที่ได้รับการอนุญาตให้ส่งแข่งขัน 4. ดำเนินการเบิกค่าใช้จ่าย เช่น เบี้ยเลี้ยงนักกีฬา ค่าจ้างเหมารถรับ - ส่ง ฯลฯ ขั้นสรุป สรุป รายงานผลการดำเนินการให้ฝ่ายบริหารทราบ กิจกรรมที่ 3 : ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพนักกีฬาบริดจ์ ขั้นเตรียม เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ ขั้นดำเนินการ 1. กำหนดวันจัดการอบรมพัฒนาทักษะการเล่นกีฬาบริดจ์ 2. ส่งหนังสือขอสนับสนุนวิทยากรจากสมาคมกีฬาบริดจ์แห่งประเทศไทย 3. ดำเนินการจัดการอบรม ระยะเวลา 4 วัน 4. จัดซื้อโต๊ะเพิ่มเติมสำหรับการฝึกซ้อมและเล่นบริดจ์ จำนวน 4 ตัว 5. ส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาบริดจ์ชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย 6. ดำเนินการเบิกค่าใช้จ่าย เช่น เบี้ยเลี้ยงนักกีฬา ค่าจ้างเหมารถรับ - ส่ง ขั้นสรุป สรุป รายงานผลการดำเนินงานให้ฝ่ายบริหารทราบ กิจกรรมที่ 4 : การแข่งขันกีฬาภายใน ประจำปีการศึกษา 2563 ขั้นเตรียม 1.เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 2.จัดทำคำสั่ง และประชุมคณะทำงาน 3.สำรวจวัสดุ อุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้และทำเรื่องขอจัดซื้อ ขั้นดำเนินการ 1.จัดแบ่งนักเรียนออกเป็น 4 สี 2.ประชุมเพื่อเลือกประธาน คณะกรรมการของสี จับฉลากเลือกลำดับขบวนพาเหรด 3.ฝึกซ้อมกีฬา การเชียร์ การแปรอักษร 4.ดำเนินการจัดการแข่งขันกีฬา การประกวดประเภทต่าง ๆ ขั้นสรุป สรุปผลการดำเนินงานให้ฝ่ายบริหารทราบ |
10/9/2562 ถึง
10/9/2562 ถึง
10/9/2562 ถึง
10/9/2562 ถึง
|
นายเอนก สุทธิสินทอง
|
|
การจัดกระบวนการเรียนรู้วิชาศิลปะ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมุ่งสู่ศตวรรษที่ 21 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมให้ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอน การผลิตจัดหาจัดทำสื่อเทคโนโลยี โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 2. ข้อความ....2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเจตคติที่ดีที่เอื้อต่อการเรียนรู้และอาชีพ |
เชิงปริมาณ เชิงปริมาณ 1. ข้อความ.......ร้อยละ 85 ของครูจัดกระบวนการเรียนการสอน มีการใช้และผลิตสื่อเทคโนโลยี การวิจิยอย่างเต็มความรู้ความสามารถ 2. ข้อความ.......ร้อยละ 90ของผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเจตคติที่ดีที่เอื้อต่อการเรียนรู้และอาชีพ เชิงคุณภาพ เชิงคุณภาพ 1. ข้อความ.......ครูจัดกระบวนการเรียนการสอน ใช้สื่อเทคโนโลยี การวิจิยอย่างเต็มความรู้ความสามารถอยู่ในระดับดีเลิศ 2. ข้อความ.......ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเจตคติที่ดีที่เอื้อต่อการเรียนรู้และอาชีพในระดับยอดเยี่ยม |
วิธีการ การประเมินการใช้สื่อการเรียนการสอน การประเมินผลการเรียน เครื่องมือ การนิเทศการเรียนการสอน |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : จัดทำจัดหาสื่อเทคโนโลยี การเรียนการสอนด้านทัศนศิลป์ ขั้นเตรียม - จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ - ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ ขั้นดำเนินการ -ดำเนินการฝึกทักษะด้านต่างๆ -เข้าร่วมแข่งขัน -ประเมินผลการแข่งขัน ขั้นสรุป สรุปและรายงานผลของกิจกรรม กิจกรรมที่ 2 : ส่งเสริมการเข้าร่วมแข่งขันด้านศิลปะ ขั้นเตรียม - จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ - ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ ขั้นดำเนินการ -ดำเนินการฝึกทักษะด้านต่างๆ -เข้าร่วมแข่งขัน -ประเมินผลการแข่งขัน ขั้นสรุป สรุปและรายงานผลของกิจกรรม กิจกรรมที่ 3 : จัดทำป้ายนิเทศเพื่อแสดงผลงานด้านทัศนศิลป์ ขั้นเตรียม - จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ - ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ ขั้นดำเนินการ ดำเนินการขอจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบ ขั้นสรุป สรุปและรายงานผลของกิจกรรม กิจกรรมที่ 4 : การซ่อมบำรุงดูแลรักษาเครื่องปรับอากาศ ขั้นเตรียม จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ - ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ ขั้นดำเนินการ ดำเนินการขอจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบ ขั้นสรุป สรุปและรายงานผลของกิจกรรม |
1/11/2562 ถึง
1/11/2562 ถึง
1/11/2562 ถึง
1/11/2562 ถึง
|
นายพีรพงศ์ ปลาสกุล
|
|
ค่ายส่งเสริมนักเรียนทางการเรียนนาฏศิลป์ไทย วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีศักยภาพด้านนาฏศิลป์ไทย ๒. เพื่อให้นักเรียนมีความรัก หวงแหนและมีความภาคภูมิใจในการอนุรักษ์ และเผยแพร่นาฏศิลป์ไทย ๓. เพื่อให้นักเรียนเข้าร่วมในกิจกรรมของโรงเรียน ชุมชนและกิจกรรมการประกวดแข่งขันตามโอกาสอันเหมาะสม ๔. เพื่อให้นักเรียนรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และห่างไกลจากยาเสพติด |
เชิงปริมาณ นักเรียนที่เข้าร่วมค่ายส่งเสริมนักเรียนทางการเรียนนาฏศิลป์ไทยและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์เผยแพร่นาฏศิลป์ไทยร้อยละ ๙๐ เชิงคุณภาพ - นักเรียนตระหนักในคุณค่านาฏศิลป์ไทยและภูมิปัญญาไทย - นักเรียนมีส่วนร่วมอนุรักษ์ และเผยแพร่นาฏศิลป์ไทย - นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของโรงเรียน ชุมชนและกิจกรรมการประกวดแข่งขันตาม โอกาส อันเหมาะสม |
วิธีการ สังเกตการเข้าร่วมกิจกรรม เครื่องมือ นักเรียนสามารถเผยแพร่นาฏศิลป์ไทย |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : ค่ายส่งเสริมนักเรียนทางการเรียนนาฏศิลป์ไทย ขั้นเตรียม ประชุมปรึกษาหารือ ชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการ ขั้นดำเนินการ เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ดำเนินการ ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ ขั้นสรุป ประเมินผล |
10/9/2562 ถึง
|
ครูสุพรรษา เจริญบุตรานนท์
|
|
เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทย วัตถุประสงค์ 1. เพื่ออนุรักษ์ สืบสาน เผยแพร่วัฒนธรรมไทย 2. เพื่อให้นักเรียนมองเห็นคุณค่า ความสำคัญของวัฒนธรรมไทย 3. เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความรัก และหวงแหนวัฒนธรรมไทย |
เชิงปริมาณ 1. นักเรียนของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ที่เข้าร่วมกิจกรรมเผยแพร่วัฒนธรรมไทย 2. นักเรียนของโรงเรียนท่มะกาวิทยาคม อนุรักษ์ สืบสาน เผยแพร่วัฒนธรรมไทย เชิงคุณภาพ นักเรียนเข้าร่วมแข่งขันทางด้านนาฏศิลป์ประสบความสำเร็จในระดับเขต และภาค |
วิธีการ นักเรียนชุมนุมนาฏศิลป์สามารถออกแสดงในโอกาสต่างๆได้ เครื่องมือ การเข้าร่วมแข่งขันทางด้านนาฏศิลป์ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมเผยแพร่เผยศิลปวัฒนธรรมไทย ขั้นเตรียม ประชุม วางแผน ดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดกิจกรรมตามเป้าหมายที่กำหนด ขั้นสรุป สังเกตการ - ประเมินผล กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมเริงรำหรรษาห่างไกล ขั้นเตรียม ประชุม วางแผน ดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดกิจกรรมตามเป้าหมายที่กำหนด ขั้นสรุป สังเกตการ - ประเมินผล กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมการแสดงผลสัมฤทธฺ์ทางการเรียนการสอนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ขั้นเตรียม ประชุม วางแผน ดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดกิจกรรมตามเป้าหมายที่กำหนด ขั้นสรุป สังเกตการ - ประเมินผล กิจกรรมที่ 4 : กิจกรรมแข่งขันทักษะทางวิชาการ ขั้นเตรียม ประชุม วางแผน ดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดกิจกรรมตามเป้าหมายที่กำหนด ขั้นสรุป สังเกตการ - ประเมินผล |
10/9/2562 ถึง
10/9/2562 ถึง
10/9/2562 ถึง
10/9/2562 ถึง
|
ครูสุพรรษา เจริญบุตรานนท์
|
|
การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ( ดนตรีไทย ) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมให้ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง ผู้เรียนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2. เพื่อให้มีสื่อวัสดุ อุปกรณ์ที่เพียงพอต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเจตคติที่ดีที่เอื้อต่อการเรียนรู้และอาชีพ |
เชิงปริมาณ 1.ร้อยละ 85 ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง ผู้เรียนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2.ร้อยละ 85 ครูและผู้เรียนมีสื่อวัสดุ อุปกรณ์เพียงพอต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3.ร้อยละ 90 ของผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเจตคติที่ดีที่เอื้อต่อการเรียนรู้และอาชีพ เชิงคุณภาพ 1.ครูมีการจัดการเรียนการสอนผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง ผู้เรียนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2.ครูและผู้เรียนมีการใช้และผลิตสื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ในกิจกรรมการเรียนการสอน 3.ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเจตคติที่ดีที่เอื้อต่อการเรียนรู้และอาชีพ |
วิธีการ เครื่องมือ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ และ ซ่อมบำรุงสื่อการเรียนการสอนดนตรีไทย ขั้นเตรียม 1.ศึกษานโยบายของโรงเรียนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับโครงการฯ 2.ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯในปีที่ผ่านมา 3.ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงและมอบหมายภาระงาน 4.เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ ขั้นดำเนินการ 1.สำรวจข้อมูลวัสดุอุปกรณ์ สื่อ เทคโนโลยีประกอบการเรียนการสอน ที่ต้องจัดซื้อ หรือ ซ่อมบำรุงรักษา 2.จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ และสื่อ เทคโนโลยีประกอบการเรียนการสอน 3. ดำเนินการซื้ออุปกรณ์ และซ่อมบำรุงเครื่องดนตรีไทย - ตรวจรับ - นำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน ขั้นสรุป 1.สรุปประเมินโครงการฯ 2.จัดทำรายงานโครงการฯนำเสนอฝ่ายบริหาร กิจกรรมที่ 2 : ส่งเสริมนักเรียนทางการเรียนดนตรีไทย ขั้นเตรียม ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดกิจกรรมพัฒนา ส่งเสริมนักเรียนทางการเรียนดนตรีไทย ขั้นสรุป สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน กิจกรรมที่ 3 : ส่งเสริมนักเรียนทางการเรียนดนตรีไทย ขั้นเตรียม ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดกิจกรรมพัฒนา ส่งเสริมนักเรียนทางการเรียนดนตรีไทย ขั้นสรุป สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน |
11/9/2562 ถึง
11/9/2562 ถึง
11/9/2562 ถึง
|
นางสาวณัฐกาญจน์ จานแก้ว
|
|
พัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (ดนตรีสากล) วัตถุประสงค์ 1.เพื่อส่งเสริมให้ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง ผู้เรียนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2.เพื่อส่งเสริมให้ครูมีการใช้และผลิตสื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ การวิจิยอย่างเต็มความรู้ความสามารถ 3.เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเจตคติที่ดีที่เอื้อต่อการเรียนรู้และอาชีพ |
เชิงปริมาณ 1.ร้อยละ 85 ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง ผู้เรียนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2.ร้อยละ 85 ครูมีการใช้และผลิตสื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ การวิจิยอย่างเต็มความรู้ความสามารถ 3.ร้อยละ 90 ของผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเจตคติที่ดีที่เอื้อต่อการเรียนรู้และอาชีพ เชิงคุณภาพ 1.ครูมีการจัดการเรียนการสอนผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง ผู้เรียนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2.ครูมีการใช้และผลิตสื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ การวิจิยอย่างเต็มความรู้ความสามารถ 3.ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเจตคติที่ดีที่เอื้อต่อการเรียนรู้และอาชีพ |
วิธีการ สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน เครื่องมือ สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : จัดหาสื่อการเรียนการสอนดนตรีสากลและซ่อมบำรุง ขั้นเตรียม ประชุมชี้แจงในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ขั้นดำเนินการ 1.สอบราคา 2.ดำเนินการจัดซื้อจัดซ่อมตามระเบียบพัสดุ ขั้นสรุป ตรวจรับพัสดุ และรายงานผลการดำเนินงาน |
1/10/2562 ถึง
|
นายสุรเดช ทองอ่อน
|
|
พัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถในการเรียนรู้ และทำงานร่วมกัน 2. เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน 3. เพื่อผลิตสื่อเทคโนโลยี นวัตกรรมและจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอน |
1, |
เชิงปริมาณ ร้อยละ 95 ของนักเรียนที่สามารถเรียนรู้ร่วมกัน ใช้เทคโนโลยีนำเสนองานและมีวัสดุอุปกรณ์ในการเรียนรู้ที่เหมาะสม เชิงคุณภาพ นักเรียนมีสื่อเทคโนโลยี นวัตกรรม และวัสดุอุปกรณ์ในการเรียนรู้ที่เหมาะสมอยู่ในระดับดี |
วิธีการ สอบถาม เครื่องมือ สอบถาม |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์การเรียนการสอน ขั้นเตรียม ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนปฏิบัติงาน ขั้นดำเนินการ จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ ขั้นสรุป ประเมินและรายงานผลการปฏิบัติงาน |
1/10/2562 ถึง
|
นางสาวไพเราะ กาฬภักดี
|
พัฒนาผูเรียนให้มีความใฝ่เรียนรู้ วัตถุประสงค์ นักเรียนสามารถเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เหมาะสม |
เชิงปริมาณ ร้อยละ 95 ของนักเรียนที่สามารถเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เหมาะสม เชิงคุณภาพ นักเรียนมีความรู้ความสามารถเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เหมาะสม |
วิธีการ สอบถาม เครื่องมือ สอบถาม |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : ศึกษาแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น ขั้นเตรียม ประชุมชี้แจงวางแผน ขั้นดำเนินการ ดำเนินการศึกษาแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น ขั้นสรุป ประเมินผลและรายงาน |
30/9/2562 ถึง
|
นางสาวไพเราะ กาฬภักดี
|
|
พัฒนาโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถในการเรียนรู้ และทำงานร่วมกัน 2. เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน 3. เพื่อพัฒนาให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถในทางวิชาชีพ |
เชิงปริมาณ ร้อยละ 95 ของนักเรียนที่มีความรู้ความสามารถเรียนทางวิชาชีพ สามารถเรียนรู้ร่วมกัน และใช้เทคโนโลยีนำเสนองานที่เหมาะสม เชิงคุณภาพ นักเรียนมีความรู้ความสามารถในทางวิชาชีพ มีความสามารถในการเรียนรู้ และทำงานร่วมกันใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน |
วิธีการ สอบถาม เครื่องมือ สอบถาม |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : พัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศทางการงานอาชีพ ขั้นเตรียม ประชุมวางแผนชี้แจง ขั้นดำเนินการ ดำเนินการพัฒนาผู้เรียนทางวิชาชีพ ขั้นสรุป ประเมินและรายงานผล |
1/10/2562 ถึง
|
นางสาวไพเราะ กาฬภักดี
|
|
พัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ วัตถุประสงค์ 1. ข้อความ.... 1. เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถในการเรียนรู้ และทำงานร่วมกัน 2. เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน 3. เพื่อผลิตสื่อเทคโนโลยี นวัตกรรมและจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอน 2. ข้อความ.... |
1,5,6,7, |
เชิงปริมาณ 1. ข้อความ....... ร้อยละ 95 ของนักเรียนที่สามารถเรียนรู้ร่วมกัน ใช้เทคโนโลยีนำเสนองานและมีวัสดุอุปกรณ์ในการเรียนรู้ที่เหมาะสม 2. ข้อความ....... เชิงคุณภาพ 1. ข้อความ....... นักเรียนมีสื่อเทคโนโลยี นวัตกรรม และวัสดุอุปกรณ์ในการเรียนรู้ที่เหมาะสมอยู่ในระดับดี 2. ข้อความ....... |
วิธีการ เครื่องมือ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : การเลี้ยงสัตว์ทั่วไป ขั้นเตรียม ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนปฏิบัติงาน ขั้นดำเนินการ จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ ขั้นสรุป ประเมินและรายงานผลการปฏิบัติงาน กิจกรรมที่ 2 : การปลูกไม้ผล ขั้นเตรียม ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนปฏิบัติงาน ขั้นดำเนินการ จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ ขั้นสรุป ประเมินและรายงานผลการปฏิบัติงาน กิจกรรมที่ 3 : ไม้ดอกเพื่อการค้า ขั้นเตรียม ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนปฏิบัติงาน ขั้นดำเนินการ จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ ขั้นสรุป ประเมินและรายงานผลการปฏิบัติงาน กิจกรรมที่ 4 : ไม้ดอกไม้ประดับ ขั้นเตรียม ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนปฏิบัติงาน ขั้นดำเนินการ จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ ขั้นสรุป ประเมินและรายงานผลการปฏิบัติงาน กิจกรรมที่ 5 : การเพาะเห็ด ขั้นเตรียม ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนปฏิบัติงาน ขั้นดำเนินการ จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ ขั้นสรุป ประเมินและรายงานผลการปฏิบัติงาน กิจกรรมที่ 6 : การขยายพันธุ์พืช ขั้นเตรียม ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนปฏิบัติงาน ขั้นดำเนินการ จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ ขั้นสรุป ประเมินและรายงานผลการปฏิบัติงาน กิจกรรมที่ 7 : การปลูกผัก ขั้นเตรียม ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนปฏิบัติงาน ขั้นดำเนินการ จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ ขั้นสรุป ประเมินและรายงานผลการปฏิบัติงาน |
10/9/2562 ถึง
10/9/2562 ถึง
10/9/2562 ถึง
10/9/2562 ถึง
10/9/2562 ถึง
10/9/2562 ถึง
10/9/2562 ถึง
|
นายสัมฤทธิ์ พุ่มปรีชา
|
โครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ลูกเสือ-เนตรนารีและยุวกาชาด 2. เพื่อจัดพิธีวันสำคัญต่างๆของลูกเสือ-เนตรนารี 3. เพื่อให้ลูกเสือ-เนตรนารี/ยุวกาชาดมีกิจกรรมต่างๆเช่นการเข้าค่ายพักแรมและบำเพ็ญประโยชน์อื่นๆ ปีละ 1 ครั้ง |
1,4, |
เชิงปริมาณ 1. นักเรียนระดับชั้น ม.1-ม.3ร้อยละ 100 เข้าร่วมและเรียนลูกเสือ-เนตรนารี/ยุวกาชาด 2. ลูกเสือ-เนตรนารี/ยุวกาชาดทุกระดับเข้าค่ายพักแรมปีละ 1 ครั้ง เชิงคุณภาพ นักเรียนที่เลือกเรียนลูกเสือ-เนตรนารี/ยุวกาชาดสามารถพัฒนาตนเองดีขึ้น |
วิธีการ สำรวจนักเรียนที่เข้าร่วมและเรียนลูกเสือ-เนตรนารี/ยุวกาชาด เครื่องมือ สังเกต |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมวันสำคัญของลูกเสือชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ขั้นเตรียม ประชุมและวางแผนผู้ที่เกี่ยวข้อง ขั้นดำเนินการ จัดกิจกรรมตามวันสำคัญต่างๆ ขั้นสรุป รายงานผลการดำเนินการ กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมอยู่ค่ายพักแรมของลูกเสือเนตรนารีและยุวกาชาด ขั้นเตรียม วางแผนการทำงาน ขั้นดำเนินการ จัดทำแผนการดำเนินงาน ประสานงานผู้เกี่ยวข้อง จัดกิจกรรมค่ายพักแรม ขั้นสรุป ประเมินผล สรุป รายงานผลการจัดกิจกรรม กิจกรรมที่ 3 : จัดซื้อจัดจ้างวัสดุและอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอนลูกเสือเนตรนารีและยุวกาชาด ขั้นเตรียม ประชุมวางแผนการทำงาน จัดเตรียมงบประมาณ ขั้นดำเนินการ จัดทำแผนการดำเนินงาน สำรวจความต้องการใช้วัสดุและอุปกรณ์ จัดซื้อจัดจ้าง ขั้นสรุป ประเมินผล สรุป รายงานผล กิจกรรมที่ 4 : ทมว.จิตอาสาพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม ขั้นเตรียม ประชุมวางแผน จัดเตรียมบุคลากร จัดเตรียมงบประมาณ ขั้นดำเนินการ กำหนดแผนการดำเนินงาน กำหนดขอบเขตการจัดกิจกรรม กำหนดเป้าหมาย จัดกิจกรรมตามโครงการ ขั้นสรุป ประเมิน สรุปผล รายงาน กิจกรรมที่ 5 : ลูกเสืออาสา กกต. ขั้นเตรียม ประชุมวางแผน จัดเตรียมบุคลากร จัดเตรียมงบประมาณ ขั้นดำเนินการ กำหนดแผนการดำเนินงาน กำหนดขอบเขตการจัดกิจกรรม กำหนดเป้าหมาย จัดกิจกรรมตามโครงการ ขั้นสรุป ประเมิน สรุปผล รายงาน |
11/9/2562 ถึง
11/9/2562 ถึง
11/9/2562 ถึง
11/9/2562 ถึง
11/9/2562 ถึง
|
นายจีระศักดิ์ กลมวง
|
จัดการเรียนการสอนอุตสาหกรรม วัตถุประสงค์ 1.ผู้เรียนสามารถวางแผนการทำงานและดำเนินการจนสำเร็จ 2.ผู้เรียนสามารถทำงานอย่างมีความสุขมุ่งมั่นพัฒนางาน และ ภูมิใจในผลงานของตนเอง 3.ผู้เรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ 4.ผู้เรียนมีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริต และ หาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองสนใจ |
1, |
เชิงปริมาณ 1.ผู้เรียนสามารถวางแผนการทำงานและดำเนินการจนสำเร็จได้ร้อยละ 91 2.ผู้เรียนสามารถทำงานอย่างมีความสุขมุ่งมั่นพัฒนางาน และ ภูมิใจในผลงานของตนเองร้อยละ 91 3.ผู้เรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ร้อยละ 90 4.ผู้เรียนสามารถมีคามรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริต และ หาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองสนใจร้อยละ 96 เชิงคุณภาพ 1.ผู้เรียนทำงานอย่างเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ 2.ผู้เรียนมีความรู้สึกพึงพอใจและชื่นชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย 3.ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการวางแผนการทำงานกับหมู่คระครบทุกขั้นตอน 4.ผู้เรียนแสดงความรู้สึกที่ดีและสนับสนุนอาชีพสุจริตได้อย่างกวางขวางยึดมั่นในแนวทางการประกอบอาชีพสุจริต |
วิธีการ สอบถาม เครื่องมือ การสังเกต |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมพัฒนาการเรียนการสอนงานช่างอุตสาหกรรม ขั้นเตรียม ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้องการปฏิบัติงาน ประสานงาน ขั้นดำเนินการ ดำเนินกิจกรรมปฏิบัติและพัฒนางาน กิจกรรมการเรียนรู้งานช่าง จัดซื้อจัดจ้าง ขั้นสรุป ประเมินกิจกรรมและ รายงาน กิจกรรมที่ 2 : จัดการเรียนการสอนโดยใช้วิทยากรพิเศษจากหน่วยงานและองค์กรภายนอก ขั้นเตรียม ประชุมวางแผนงาน ประสานงานกับหน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้อง ขั้นดำเนินการ จัดทำแผนการทำงาน ประสานงานติดต่อวิทยากร จัดซื้อจัดจ้างวัสดุอุปกรณ์และค่าตอบแทนวิทยากร ขั้นสรุป สรุปและประเมินผลรายงาน กิจกรรมที่ 3 : ศึกษาดูงานจากสถานประกอบการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขั้นเตรียม วางแผนการดำเนินงาน จัดเตรียมงบประมาณ ขั้นดำเนินการ จัดทำแผนการทำงาน ติดต่อประสานงานกับผู้เกี่ยวข้อง กำหนดแหล่งเรียนรู้ศึกษาดูงาน ขั้นสรุป ประเมินสรุปและรายงาน |
11/9/2562 ถึง
11/9/2562 ถึง
11/9/2562 ถึง
|
นายอนุรักษ์ ปลื้มจิตต์
|
ทัศนศึกษาระดับชั้น ม.1 - ม.6 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้นักเรียนได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ 2. เพื่อให้นักเรียนแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้ และสื่อต่าง ๆ รอบตัว 3. เพื่อให้นักเรียนเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่มแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน |
1, |
เชิงปริมาณ นักเรียนร้อยละ 94 ได้รับความรู้เพิ่มเต็มตามศักยภาพ ได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลิน สามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้ และสื่อต่าง ๆ รอบตัว เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน เชิงคุณภาพ นักเรียนได้รับความรู้เพิ่มเต็มตามศักยภาพ ได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลิน สามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้ และสื่อต่าง ๆ รอบตัว เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน |
วิธีการ สังเกตการเข้าร่วมกิจกรรม เครื่องมือ สัมภาษณ์และการสังเกต |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : ทัศนศึกษาระดับชั้น ม.1 ขั้นเตรียม 1. ประชุมปรึกษาหารือ 2. สำรวจสถานที่ ขั้นดำเนินการ 1. ติดต่อสถานที่ 2. ขออนุญาตดำเนินการตามโครงการ 3. แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ 4. จัดทำหนังสือขออนุญาตผู้ปกครองนักเรียน 5. เตรียมเอกสารอุปกรณ์ 6. จัดกิจกรรมทัศนศึกษา ขั้นสรุป 1. รายงานผลการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา 2. รายงานสรุปการประเมินการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา กิจกรรมที่ 2 : ทัศนศึกษาระดับชั้น ม.2 ขั้นเตรียม 1. ประชุมปรึกษาหารือ 2. สำรวจสถานที่ ขั้นดำเนินการ 1. ติดต่อสถานที่ 2. ขออนุญาตดำเนินการตามโครงการ 3. แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ 4. จัดทำหนังสือขออนุญาตผู้ปกครองนักเรียน 5. เตรียมเอกสารอุปกรณ์ 6. จัดกิจกรรมทัศนศึกษา ขั้นสรุป 1. รายงานผลการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา 2. รายงานสรุปการประเมินการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา กิจกรรมที่ 3 : ทัศนศึกษาระดับชั้น ม.3 ขั้นเตรียม 1. ประชุมปรึกษาหารือ 2. สำรวจสถานที่ ขั้นดำเนินการ 1. ติดต่อสถานที่ 2. ขออนุญาตดำเนินการตามโครงการ 3. แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ 4. จัดทำหนังสือขออนุญาตผู้ปกครองนักเรียน 5. เตรียมเอกสารอุปกรณ์ 6. จัดกิจกรรมทัศนศึกษา ขั้นสรุป 1. รายงานผลการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา 2. รายงานสรุปการประเมินการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา กิจกรรมที่ 4 : ทัศนศึกษาระดับชั้น ม.4 ขั้นเตรียม 1. ประชุมปรึกษาหารือ 2. สำรวจสถานที่ ขั้นดำเนินการ 1. ติดต่อสถานที่ 2. ขออนุญาตดำเนินการตามโครงการ 3. แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ 4. จัดทำหนังสือขออนุญาตผู้ปกครองนักเรียน 5. เตรียมเอกสารอุปกรณ์ 6. จัดกิจกรรมทัศนศึกษา ขั้นสรุป 1. รายงานผลการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา 2. รายงานสรุปการประเมินการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา กิจกรรมที่ 5 : ทัศนศึกษาระดับชั้น ม.5 ขั้นเตรียม 1. ประชุมปรึกษาหารือ 2. สำรวจสถานที่ ขั้นดำเนินการ 1. ติดต่อสถานที่ 2. ขออนุญาตดำเนินการตามโครงการ 3. แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ 4. จัดทำหนังสือขออนุญาตผู้ปกครองนักเรียน 5. เตรียมเอกสารอุปกรณ์ 6. จัดกิจกรรมทัศนศึกษา ขั้นสรุป 1. รายงานผลการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา 2. รายงานสรุปการประเมินการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา กิจกรรมที่ 6 : ทัศนศึกษาระดับชั้น ม.6 ขั้นเตรียม 1. ประชุมปรึกษาหารือ 2. สำรวจสถานที่ ขั้นดำเนินการ 1. ติดต่อสถานที่ 2. ขออนุญาตดำเนินการตามโครงการ 3. แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ 4. จัดทำหนังสือขออนุญาตผู้ปกครองนักเรียน 5. เตรียมเอกสารอุปกรณ์ 6. จัดกิจกรรมทัศนศึกษา ขั้นสรุป 1. รายงานผลการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา 2. รายงานสรุปการประเมินการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา |
11/9/2562 ถึง
11/9/2562 ถึง
11/9/2562 ถึง
11/9/2562 ถึง
11/9/2562 ถึง
11/9/2562 ถึง
|
นายอนุรักษ์ ปลื้มจิตต์
|
โครงการพัฒนาผู้เรียนให้มีความใฝ่รู้และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ และสื่อต่าง ๆ รอบตัว 2. เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคำถาม เพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม 3. เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน 4. เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สามารถใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน |
เชิงปริมาณ 1. ผู้เรียนร้อยละ 65 มีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุดแหล่งเรียนรู้และสื่อต่างๆรอบตัว 2. ผู้เรียนร้อยละ 65 มีทักษะในการอ่านฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม 3. ผู้เรียนร้อยละ 70 เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่มแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน 4. ผู้เรียนร้อยละ 70 ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน 5. ผู้แทนชุมชน ผู้ปกครอง ภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมจำนวน 1,000 คน มีส่วนร่วมในการพัฒนา 6. รายงานผลการประเมินโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน จำนวน 1 เล่ม 4. รายละเอียดกิจกรรมและคำชี้แจงงบประมาณ เชิงคุณภาพ 1. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองรักการเรียนรู้ และ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 2. ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่าย ร้อยละ 80 มีความพึงพอใจ อยู่ในระดับดี ขึ้นไป |
วิธีการ ดูจากแบบบันทึกการอ่านของนักเรียน เครื่องมือ ประเมินความพึงพอใจ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ขั้นเตรียม ขั้นเตรียมการ (P) - ประชุมคณะทำงาน - จัดทำแผนปฏิบัติงาน ขั้นประเมินผล (A) - ประเมินผลการปฏิบัติงานโดยใช้แบบสอบถามและแบบประเมิน - รายงานผลการปฏิบัติงานและนำข้อมูลมาปรับปรุงพัฒนางานต่อไป ขั้นดำเนินการ ขั้นดำเนินการ (D) - จัดซื้อ/จัดจ้าง - จัดกิจกรรมตามแผนปฏิบัติงานที่กำหนด ขั้นนิเทศ/ติดตามผล(C) - นิเทศติดตามการปฏิบัติงานในทุกกิจกรรมตามแผนปฏิบัติงานที่กำหนด ขั้นสรุป ขั้นประเมินผล (A) - ประเมินผลการปฏิบัติงานโดยใช้แบบสอบถามและแบบประเมิน - รายงานผลการปฏิบัติงานและนำข้อมูลมาปรับปรุงพัฒนางานต่อไป |
9/10/2562 ถึง
|
ครูอภินันท์ สีสันต์
|
|
การดูแลรักษาและการซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์เดิมที่ใช้งานให้ใช้งานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ 2. เพื่อปรับปรุงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ให้สามารถใช้งานได้ต่อเนื่องแทนการจัดหาใหม่ 3. เพื่อจัดหาอุปกรณ์เพิ่มเติมให้เหมาะสมกับการเรียนการสอนและหน่วยงานต่างๆ ภายในโรงเรียน |
5,7, |
เชิงปริมาณ มีคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้งานได้มากกว่า 90 % เชิงคุณภาพ โรงเรียนจะมีวัสดุอุปกรณ์ทางด้านเทคโนโลยีเพื่อใช้ในการเรียนการสอนและการพัฒนาหน่วยงานต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
วิธีการ บันทึกการใช้งานอุปกรณ์ เครื่องมือ บันทึกการใช้งานอุปกรณ์ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : การซ่อมบำรุงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ขั้นเตรียม ศึกษาวิเคราะหืปัจจัยพื้นฐาน ขั้นดำเนินการ ซ่อมและจัดซื้ออุปกรณ์ใหม่ ขั้นสรุป รายงานผลการดำเนินงาน |
11/9/2562 ถึง
|
นางนันทนา วิราศรี
|
การใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น 2. เพื่อจัดกิจกรรมให้ผู้เรียน ได้แสดงออกซึ่งความสามารถในด้านวิชาการ 3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนไปประกวดและแสดงศักยภาพในระดับเขตภาค ระดับภาค และประเทศ 4. เพื่อจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรให้ผู้เรียนเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ได้มีโอกาสประสานแนวคิดทางวิชาการกับสภาพจริงที่ได้พบเห็น 5. เพื่อให้ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์มีอุปกรณ์การเรียนการสอนที่สามารถใช้งานได้ครบ |
1, |
เชิงปริมาณ 1. ผู้เรียนทุกระดับชั้นมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น 2. ผู้เรียนทุกระดับชั้นเข้าร่วมกิจกรรม 3. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ มีอุปกรณ์ที่ทันสมัยและสามารถใช้งานได้ เชิงคุณภาพ 1. ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และเจตคติที่ดีในการเรียนรู้ 2. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะในเชิงวิชาการและในการดำรงชีวิต ซึ่งเกิดจากการแข่งขัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้และประสบการณ์ซึ่งกันและกัน 3. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ มีอุปกรณ์ที่มีคุณภาพ |
วิธีการ รวบรวมและวิเคราะห์สรุปผลการเรียน เครื่องมือ สำรวจและสัมภาษณ์ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : ยกระดับผลสัมฤทธิ์กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์) ขั้นเตรียม 1. ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจขั้นตอนการดำเนินงาน/โครงการแต่งตั้งคณะทำงาน เพื่อวางแผน จัดทำเครื่องมือ และจัดทำปฏิทินการดำเนินงาน 2. สำรวจรวบรวมจัดทำข้อมูลนักเรียนรายบุคคล 3.กำหนดเป้าหมาย วิธีการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายบุคคลโดยผู้เรียนมีส่วนร่วม ขั้นดำเนินการ 1. จัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ 2. วัดและประเมินผลตามสภาพจริงให้สอดคล้องครอบคลุม 3. ซ่อมเสริมผู้เรียนรายบุคคล/ราย กลุ่มระหว่างเรียน ขั้นสรุป สรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กิจกรรมที่ 2 : ปรับปรุงห้องเรียนคอมพิวเตอร์ซ่อมบำรุงอุปกรณ์เทคโนโลยีเพื่อจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นเตรียม 1. กำหนดโครงสร้าง/รูปแบบของห้องเรียน 2. กำหนดเกณฑ์และข้อตกลงในการซ่อมบำรุง ขั้นดำเนินการ จัดหาอุปกรณ์ วัสดุ ขั้นสรุป ศึกษาวิเคราะห์ผลการดำเนินงานและสรุปรายงานผลการดำเนินงาน กิจกรรมที่ 3 : การประกวดแข่งขันทักษะการใช้เทคโนโลยี ขั้นเตรียม 1. จัดประชุมคณะกรรมการจัดโครงการ และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เพื่อหาแนวทางในการจัดโครงการ และวางแผนการดำเนินการจัดโครงการ 2. เขียนโครงการและนำเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการและงบประมาณ ขั้นดำเนินการ 1. จัดการแข่งขันทักษะทางวิชาการดังนี้ - ประกวดแข่งขันตามช่วงชั้น 2. มอบเกียรติบัตร โล่รางวัลแก่ผู้เรียน 3. ศึกษาดูงาน ขั้นสรุป 1. สังเกตจากความร่วมมือในการร่วมกิจกรรมของผู้ที่เข้าร่วมโครงการ 2. ประเมินจากการตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมโครงการ |
11/9/2562 ถึง
11/9/2562 ถึง
11/9/2562 ถึง
|
นางนันทนา วิราศรี
|
ค่าอินเทอร์เน็ต วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้บริการในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ร้อยละ 85 อยู่ในระดับดีเลิศ 2. ข้อความ.... |
7, |
เชิงปริมาณ 1. จ่ายค่าอินเทอร์เน็ตได้ ร้อยละ๑๐๐ 2. ข้อความ....... เชิงคุณภาพ 1. อำนวยความสะดวกในการเรียนการสอน และการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ร้อยละ 85 อยู่ในระดับดีเลิศ 2. ข้อความ....... |
วิธีการ จัดทำสถิติข้อมูล เครื่องมือ จัดทำสถิติข้อมูล |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : ค่าอินเทอร์เน็ต ขั้นเตรียม สำรวจสถิติข้อมูลการจ่่่ายเงินค่าอินเทอร์เน็ต ขั้นดำเนินการ เสนออนุมัติจ่ายเงินค่าอินเทอร์เน็ต ขั้นสรุป รายงานผลการจ่ายเงิน |
1/10/2562 ถึง
|
นางปันน์ญะพัทธ์ ชินวัฒนกาญจน์
|
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการฟัง พูด อ่าน เขียนและตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม 2. เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน |
เชิงปริมาณ 1. นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 65 มีทักษะในการฟัง พูด อ่าน เขียนด้านภาษาอังกฤษ ภาษาจีนและภาษาญี่ปุ่นและตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม 2. นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 70 เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่มแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน เชิงคุณภาพ 1. นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีทักษะในการฟัง พูด อ่าน เขียนด้านภาษาอังกฤษ ภาษาจีนและภาษาญี่ปุ่นและตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมอยู่ในระดับดีขึ้นไป 2. นักเรียนที่เข้ากิจกรรมได้เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน อยู่ในระดับดีขึ้นไป |
วิธีการ จำนวนของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม เครื่องมือ สอบถามความคิดเห็นและความพึงพอใจ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมวันคริสต์มาสเชิงวิชาการ ขั้นเตรียม 1.ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา 2.ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการกิจกรรม 3.จัดทำโครงการ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร 4.ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการและมอบหมายภาระงาน ขั้นดำเนินการ 1. ประชาสัมพันธ์กิจกรรมวันคริสต์มาสเชิงวิชาการ 2.ดำเนินงานตามโครงการกิจกรรมวันคริสต์มาสเชิงวิชาการ 3.จัดกิจกรรมวันคริสต์มาสเชิงวิชาการ 4. ประเมินความพึงพอใจของคุณครูและนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมวันคริสต์มาสเชิงวิชาการ ขั้นสรุป 1.เจ้าของโครงการ นิเทศติดตามการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการกำหนด 2.สรุปประเมินโครงการและจัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมค่ายภาษาอังกฤษ ขั้นเตรียม 1.ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน 2.เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการเพื่อขออนุมัติ 3.เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ 4.ออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ ขั้นดำเนินการ 1.ประชุมคณะกรรมการเพื่อเตรียมดำเนินการ 2.เตรียมเนื้อหาเอกสารในการจัดกิจกรรม 3.ประชาสัมพันธ์รับสมัครนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม 4.ติดต่อประสานงานวิทยากรชาวต่างประเทศและติดต่อประสานงานแหล่งเรียนรู้ต่างๆ 5.ดำเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ ขั้นสรุป 1.ประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมค่าย 2.นำผลการปฏิบัติมาปรับปรุงกิจกรรม 3.นำกิจกรรมที่ปรับปรุงแล้ว ใช้เป็นต้นแบบของโครงการต่อไป |
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
|
นายเคบอย สินสุพรรณ์ และ นางสาวนุจรีย์ รอดประสิทธิ์
|
|
โครงการพัฒนาผู้เรียนคิดเป็นทำเป็น วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักเรียนชุมนุม interact มีความประพฤติด้านคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม จิตสังคม และจิตสำนึกตามที่สถานศึกษากำหนด |
1,6, |
เชิงปริมาณ 1.นักเรียนชุมนุม interact ร้อยละ 85 ขึ้นไป มีความประพฤติด้านคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม จิตสังคม และจิตสำนึกตามที่สถานศึกษากำหนด 2. นักเรียนชุมนุม interact ร้อยละ 80 มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด เชิงคุณภาพ 1.นักเรียนชุมนุม interact มีความประพฤติด้านคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม จิตสังคม และจิตสำนึกตามที่สถานศึกษากำหนดอยู่ในระดับยอดเยี่ยม 2. นักเรียนชุมนุม interact ร้อยละ 80 มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนดอยู่ในระดับดีเลิศ |
วิธีการ สังเกตและตรวจสอบจำนวนนักเรียนมีความประพฤติด้านคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม จิตสังคม และจิตสำนึกตามที่สถานศึกษากำหนด เครื่องมือ ประเมินความประพฤติด้านคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม จิตสังคม และจิตสำนึกตามที่สถานศึกษากำหนด |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมค่ายอาสาพัฒนา INTERACT ขั้นเตรียม 1.ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา 2. ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการกิจกรรม 3. จัดทำโครงการ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร 4. ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการและมอบหมายภาระงาน ขั้นดำเนินการ ดำเนินงานตามโครงการโดยจัดกิจกรรมค่ายอาสาพัฒนา Interact ขั้นสรุป 1.เจ้าของโครงการนิเทศติดตามการดำเนินงาน และอำนวยความสะดวกในการดำเนินงานของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามที่โครงการกำหนด 2. สรุปประเมินโครงการ 3. จัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร |
1/10/2562 ถึง
|
นายเคบอย สินสุพรรณ์
|
โครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศสามารถออกแบบและจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญาได้ 2.เพื่อครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศสามารถใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมผนวกกับการนำบริบทและภูมิปัญญาท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ได้ 3.เพื่อห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคารเรียน สะอาด สวยงามมีสิ่งอำนวยความสะดวกพอเพียงอยู่ในสภาพที่ใช้การ ได้ดี และมีแหล่งการการเรียนรู้ที่เหมาะสมสำหรับผู้เรียน |
5,7, |
เชิงปริมาณ 1. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศร้อยละ 95 ออกแบบและจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญาได้ 2. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศร้อยละ 95 ออกแบบและจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญาได้ 3. ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการใช้ห้องปฏิบัติการทางภาษา/ห้อง ICT/ห้อง SEAR และห้องศูนย์ภาษาของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ร้อยละ 100 4. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ร้อยละ 89 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ เชิงคุณภาพ 1. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมีความรู้ความเข้าใจในการออกแบบและจัดการ เรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญาใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมผนวกกับการนำบริบทและภูมิปัญญาท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้อยู่ในระดับดีขึ้นไป 2. ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการใช้ห้องปฏิบัติการทางภาษา/ห้อง ICT/ห้อง SEARและห้องศูนย์ภาษาของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ในระดับมาก 3. 4. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพอยู่ในระดับดีเลิศ |
วิธีการ สอบถามการดำเนินการของครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ เครื่องมือ ประเมินความพึงพอใจของครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศและผู้เข้าใช้บริการห้องงปฏิบัติการทางภาษา/ห้อง ICT/ห้อง SEARและห้องศูนย์ภาษา |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆในห้อง ICT ขั้นเตรียม 1.ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา 2. จัดทำโครงการ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร 3. ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการและมอบหมายภาระงาน ขั้นดำเนินการ ดำเนินงานตามโครงการกิจกรรมพัฒนาปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆใน ห้อง ICT ขั้นสรุป 1. เจ้าของโครงการ นิเทศติดตามการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการกำหนด 2. สรุปประเมินโครงการ 3. จัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆในห้อง SEAR ขั้นเตรียม 1.ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา 2. จัดทำโครงการ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร 3. ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการและมอบหมายภาระงาน ขั้นดำเนินการ ดำเนินงานตามโครงการกิจกรรมพัฒนาปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆใน ห้อง SEAR ขั้นสรุป 1. เจ้าของโครงการ นิเทศติดตามการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการกำหนด 2. สรุปประเมินโครงการ 3. จัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆในห้องปฎิบัติการทางภาษา ขั้นเตรียม 1.ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา 2. จัดทำโครงการ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร 3. ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการและมอบหมายภาระงาน ขั้นดำเนินการ ดำเนินงานตามโครงการกิจกรรมพัฒนาปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆใน ห้องปฎิบัติการทางภาษา ขั้นสรุป 1. เจ้าของโครงการ นิเทศติดตามการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการกำหนด 2. สรุปประเมินโครงการ 3. จัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร กิจกรรมที่ 4 : กิจกรรมปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆในห้องศูนย์ภาษา ขั้นเตรียม 1.ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา 2. จัดทำโครงการ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร 3. ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการและมอบหมายภาระงาน ขั้นดำเนินการ ดำเนินงานตามโครงการกิจกรรมพัฒนาปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆใน ห้องศูนย์ภาษา ขั้นสรุป 1. เจ้าของโครงการ นิเทศติดตามการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการกำหนด 2. สรุปประเมินโครงการ 3. จัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร กิจกรรมที่ 5 : กิจกรรมผลิตสื่อ/นวัตกรรมการสอนภาษาต่างประเทศ ขั้นเตรียม 1.ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา 2. จัดทำโครงการ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร 3. ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการและมอบหมายภาระงาน ขั้นดำเนินการ ดำเนินงานตามโครงการกิจกรรมผลิตสื่อ/นวัตกรรมการสอนภาษาต่างประเทศ ขั้นสรุป 1. เจ้าของโครงการ นิเทศติดตามการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการกำหนด 2. สรุปประเมินโครงการ 3. จัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร |
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
|
นายเคบอย สินสุพรรณ์
|
โครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ วัตถุประสงค์ เพื่อการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ |
1, |
เชิงปริมาณ ครูผู้สอนร้อยละ 70 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันให้กับนักเรียนได้ เชิงคุณภาพ ครูผู้สอนจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันให้กับนักเรียนได้ ปฏิบัติอยู่ในระดับดีขึ้นไป |
วิธีการ ประเมินผลการดำเนินการจัดกิจกรรม เครื่องมือ ประเมินความพึงพอใจ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมชุมนุมนักเรียน ขั้นเตรียม 1. ศึกษาโครงการและการดำเนินการของปีที่แล้ว 2. ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้องและวางแผนการปฏิบัติงาน 3. เขียนโครงการเสนอฝ่ายวิชาการและผู้อำนวยการ 4. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งการปฏิบัติหน้าที่ต่างๆ 5. จัดเตรียมเอกสารสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุมให้ครูทุกท่าน ขั้นดำเนินการ 1. ปฐมนิเทศให้กับนักเรียนเกี่ยวกับการเลือกกิจกรรมชุมนุม 2. นักเรียนดำเนินการเลือกชุมนุมที่ตนเองสนใจและถนัด 3. ครูดำเนินการจัดกิจกรรมชุมนุม ขั้นสรุป 1. ครูที่ปรึกษากิจกรรมชุมนุม สรุปรายงานผลการจัดกิจกรรมตลอดภาคเรียน 2. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนส่งผลการเข้าร่วมกิจกรรมชุมนุมให้งานทะเบียน-วัดผล 3. จัดทำรายงานผลการดำเนินกิจกรรมชุมนุม |
1/10/2562 ถึง
|
นางสาวนุจรีย์ รอดประสิทธิ์
|
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้นักเรียนมีความสามารถในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ทางด้านวิชาภาษาจีน ๒. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพทางด้านวิชาภาษาจีน |
เชิงปริมาณ ๑)ผู้เรียนร้อยละ ๖๕ มีความสามารถในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ทางด้านวิชาภาษาจีน ๒)ผู้เรียนร้อยละ ๗๐ มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพทางด้านวิชาภาษาจีน เชิงคุณภาพ ๑) นักเรียนมีความสามารถในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ทางด้านวิชาภาษาจีนอยู่ในระดับดีขึ้นไป ๒) นักเรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพทางด้านวิชาภาษาจีนอยู่ในระดับดีขึ้นไป |
วิธีการ การสอบถาม การสังเกต เครื่องมือ การสอบถาม การสังเกต |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมค่ายภาษาจีน ขั้นเตรียม ๑.ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน ๒.เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการเพื่อขออนุมัติ ๓.เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ๔.ออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 5.ประชุมคณะกรรมการเพื่อเตรียมดำเนินการ ขั้นดำเนินการ ๑.เตรียมเนื้อหาเอกสารในการจัดกิจกรรม ๒.ประชาสัมพันธ์รับสมัครนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม ๓.ติดต่อประสานงานวิทยากรชาวต่างประเทศและติดต่อประสานงานแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ๔.ดำเนินการเข้าค่ายภาษาจีน ขั้นสรุป ๑.ประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่เข้าค่ายภาษาจีน ๒.นำผลการปฏิบัติมาปรับปรุงกิจกรรม ๓.นำกิจกรรมที่ปรับปรุงแล้ว ใช้เป็นต้นแบบของโครงการต่อไป กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆในห้องศูนย์วิชาภาษาจีน ขั้นเตรียม ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา ขั้นดำเนินการ ดำเนินงานตามโครงการกิจกรรมพัฒนาปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆในห้องศูนย์วิชาภาษาจีน ขั้นสรุป สรุปประเมินโครงการ จัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมพัฒนาทักษะสู่ความเป็นเลิศทางภาษาจีน ขั้นเตรียม ๑. ประชุมวางแผนการดำเนินงาน ๒. แจ้งกิจกรรมและหลักเกณฑ์การประกวดแข่งขัน ๓. ดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ ดำเนินการประกวด แข่งขันกิจกรรมต่างๆ ในระดับเขต ระดับภาคและระดับประเทศ ขั้นสรุป ๑. สรุปผลการแข่งขัน ในระดับเขต ระดับภาค และระดับประเทศ ๒. สรุปรายงานผลการดำเนินงาน |
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
|
นางสาวผกาภัทร ธรรมบัญชาและนางสาวณัฐชฎา ทองเอีย
|
|
การพัฒนาโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน มีความรักสามัคคีกันข้อความ 2. เพื่อให้ครูได้ศึกษาวิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในวิชาชีพที่ตนรับผิดชอบ และนำมาพัฒนาการเรียนการสอน 3. เพื่อให้ผู้เรียนกล้าแสดงออก มีความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ 4. เพื่อให้ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคารเรียน สะอาดและปลอดภัยมีสิ่งอำนวยความสะดวกพอเพียง อยู่ในสภาพที่ใช้การได้ดี สภาพแวดล้อมร่มรื่น และมีแหล่งการเรียนรู้สำหรับผู้เรียน 5. เพื่อให้นักเรียนได้พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ เกิดแรงบันดาลใจในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ จนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษสูงขึ้น |
1,5, |
เชิงปริมาณ 1. ผู้เรียนโปรแกรม MEP ร้อยละ80 ได้เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน มีความรักสามัคคีกัน 2. ผู้เรียนโปรแกรม MEP ร้อยละ80 ได้ฝึกฝนทักษะภาษาอังกฤษในสถานการณ์ต่างๆ และเพิ่มพูนประสบการณ์มากขึ้น 3. ผู้เรียนโปรแกรม MEP ร้อยละ 80 มีความคิดริเริ่ม และสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ 4. ผู้เรียนโปรแกรม MEP ร้อยละ 80 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษสูงขึ้น เชิงคุณภาพ 1. ผู้เรียนโปรแกรม MEP เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน มีความรักสามัคคีกัน 2. ผู้เรียนโปรแกรม MEP ได้ฝึกฝนทักษะภาษาอังกฤษในสถานการณ์ต่างๆ และเพิ่มพูนประสบการณ์มากขึ้น 3. ผู้เรียนโปรแกรม MEP มีความคิดริเริ่ม และสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ 4. ผู้เรียนโปรแกรม MEP เข้าใจถึงความสำคัญของวิชาภาษาอังกฤษ เกิดแรงบันดาลใจในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ จนมีผลมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษสูงขึ้น |
วิธีการ การสอบถาม การสัมภาษณ์ เครื่องมือ การสอบถาม การสัมภาษณ์ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมเข้าค่ายพัฒนาทักษะทางภาษาอังกฤษและศึกษาดูงานนอกสถานที่ ขั้นเตรียม 1.ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการ 2.จัดทำโครงการ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร 3.ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการและมอบหมายภาระงาน ขั้นดำเนินการ 1.ดำเนินงานตามโครงการโดยจัดกิจกรรมเข้าค่ายพัฒนาทักษะทางภาษาอังกฤษ และศึกษาดูงานนอกสถานที่ (English Camp) 2.เจ้าของโครงการ นิเทศติดตามการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการกำหนด ขั้นสรุป 1.สรุปประเมินกิจกรรม 2.รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมทัศนศึกษาและศึกษาดูงานด้านวัฒนธรรมประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่หรือภาษาราชการ ขั้นเตรียม 1.ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการ 2.จัดทำโครงการ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร 3.ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการและมอบหมายภาระงาน ขั้นดำเนินการ 1.ดำเนินงานตามโครงการโดยจัดกิจกรรมทัศนศึกษาดูงานด้านวัฒนธรรมในประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่หรือภาษาราชการ 2.เจ้าของโครงการ นิเทศติดตามการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการกำหนด ขั้นสรุป 1.สรุปประเมินกิจกรรม 2.รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมปรับปรุงห้องเรียนพิเศษ MEP ขั้นเตรียม 1.ประชุมครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ปรึกษาการจัดกิจกรรม 2.สำรวจตรวจสอบวัสดุ อุปกรณ์ ที่ต้องใช้ในแต่ละกิจกรรม 3.จัดงบประมาณในการดำเนินงานของแต่ละกิจกรรม 4.กำหนดผู้รับผิดชอบกิจกรรม ขั้นดำเนินการ 1.จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ 2.ตรวจรับ 3.ครูนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน ทั้งภาคเรียนที่ 1 และ 2 ขั้นสรุป 1.สรุปประเมินกิจกรรม 2.รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม กิจกรรมที่ 4 : กิจกรรมดูแลครูต่างชาติ ขั้นเตรียม 1.ประชุมครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ปรึกษาการจัดกิจกรรม 2.จัดงบประมาณในการดำเนินงาน 3.กำหนดผู้รับผิดชอบกิจกรรม ขั้นดำเนินการ ดำเนินการจัดกิจกรรม ขั้นสรุป 1.สรุปประเมินกิจกรรม 2.รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม กิจกรรมที่ 5 : กิจกรรมการแข่งขันทักษะภาษาอังกฤษและการจัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงานนักเรียน (Open House) ขั้นเตรียม 1.ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินการ 2.ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ขั้นดำเนินการ 1.ดำเนินการเข้าร่วมการแข่งขันทักษะภาษาอังกฤษ 2.ดำเนินการเข้าร่วมการจัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงานนักเรียน ขั้นสรุป 1.สรุปประเมินกิจกรรม 2.รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม |
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
|
นางสาวกนกพร จันทรศร
|
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการฟัง พูดอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคำนวณด้านภาษาญี่ปุ่นและตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม 2. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพด้านภาษาญี่ปุ่น |
เชิงปริมาณ 1. นักเรียนที่เข้าค่ายภาษาร้อยละ 65 มีความสามารถในการฟัง พูดอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคำนวณด้านภาษาญี่ปุ่นและตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม 2. นักเรียนที่เข้าค่ายภาษาร้อยละ 70 มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพด้านภาษาญี่ปุ่น เชิงคุณภาพ 1. นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการ คิดคำนวณด้านภาษาญี่ปุ่นและตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมอยู่ในระดับดีขึ้นไป 2. นักเรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพด้านภาษาญี่ปุ่นอย่ในระดับดีขึ้นไป |
วิธีการ การสอบถาม การประเมินความพึ่งพอใจ เครื่องมือ การสอบถาม การประเมินความพึ่งพอใจ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมค่ายภาษาญี่ปุ่น ขั้นเตรียม 1.ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน 2.เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการเพื่อขออนุมัติ 3.เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ 4.ออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 5.ประชุมคณะกรรมการเพื่อเตรียมดำเนินการ ขั้นดำเนินการ 1.เตรียมเนื้อหาเอกสารในการจัดกิจกรรม 2.ประชาสัมพันธ์รับสมัครนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม 3.ติดต่อประสานงานวิทยากรชาวต่างประเทศและติดต่อประสานงานแหล่งเรียนรู้ต่างๆ 4.ดำเนินการเข้าค่ายภาษา ขั้นสรุป 1.ประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่เข้าค่าย 2.นำผลการปฏิบัติมาปรับปรุงกิจกรรม 3.นำกิจกรรมที่ปรับปรุงแล้ว ใช้เป็นต้นแบบของโครงการต่อไป กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมปรับปรุงอุปกรรณ์ต่างๆในห้องศูนย์วิชาภาษาญี่ปุ่น ขั้นเตรียม ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา ขั้นดำเนินการ ดำเนินงานตามโครงการกิจกรรมพัฒนาปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆในห้องศูนย์วิชาภาษาญี่ปุ่น ขั้นสรุป สรุปประเมินโครงการ จัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมพัฒนาทักษะสู่ความเป็นเลิศทางภาษาญี่ปุ่น ขั้นเตรียม 1. ประชุมวางแผนการ 2. แจ้งกิจกรรมและหลักเกณฑ์การประกวดแข่งขัน 3. ดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ ดำเนินการประกวด แข่งขันกิจกรรมต่างๆ ในระดับเขต ระดับภาค ระดับประเทศ ขั้นสรุป 1. สรุปผลการแข่งขัน ระดับเขต ระดับภาค ระดับประเทศ 2. สรุปรายงานผลการดำเนินงาน |
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
|
นางสาวณัฐชนก บุตรดาวงษ์และนางกัญญารัตน์ เรือนอินทร์
|
|
โครงการส่งเสริม สนับสนุนและช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม วัตถุประสงค์ 1. เพื่อช่วยเหลือนักเรียนยากจน (ยกเว้นเงินบำรุงการศึกษา) 2. เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมนักเรียนดีเด่น 2. เพื่อสนับสนุนนักเรียนดีเด่นศึกษาต่อในสถานศึกษาเดิม |
เชิงปริมาณ 1. ผู้เรียนร้อยละ 7 ได้รับการช่วยเหลือเรื่องการยกเว้นเงินบำรุงการศึกษา 2. ผู้เรียนร้อยละ 2 ได้รับการช่วยเหลือเรื่องการส่งเสริมนักเรียนดีเด่น 3. ผู้เรียนร้อยละ 1 ได้รับการช่วยเหลือเรื่องการสนับสนุนนักเรียนเรียนดีให้ศึกษาต่อในสถาบันเดิม เชิงคุณภาพ 1. ผู้เรียนได้รับการช่วยเหลือเรื่องการยกเว้นเงินบำรุงการศึกษา 2. ผู้เรียนได้รับการช่วยเหลือเรื่องการส่งเสริมนักเรียนดีเด่น 2. ผู้เรียนได้รับการช่วยเหลือเรื่องการสนับสนุนนักเรียนเรียนดีให้ศึกษาต่อในสถาบันเดิม |
วิธีการ เครื่องมือ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมช่วยเหลือนักเรียนเรื่องการยกเว้นเงินบำรุงการศึกษา ขั้นเตรียม 1. ประชุมคณะกรรมการการแนะแนว 2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ ดำเนินการตามโครงการ ขั้นสรุป สรุปและรายงานผล กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมสนับสนุน ส่งเสริมนักเรียนดีเด่น ขั้นเตรียม 1. ประชุมคณะกรรมการการแนะแนว 2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ ดำเนินการตามโครงการ ขั้นสรุป สรุปและรายงานผล กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมสนับสนุนนักเรียนเรียนดีให้ศึกษาต่อในสถาบันเดิม ขั้นเตรียม 1. ประชุมคณะกรรมการการแนะแนว 2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ ดำเนินการตามโครงการ ขั้นสรุป สรุปและรายงานผล |
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
|
นายยุทธิชัย อวยชัย
|
|
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ กิจกรรมส่งเสริมระบบแนะแนว วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้นักเรียนรู้จักเข้าใจตนเอง รู้ถึงความสามารถ ความสนใจ และความถนัด 2.เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต หาความรู้ที่ตนเองสนใจ 3.เพื่อให้นักเรียนสามารถตัดสินใจเลือกได้อย่างเหมาะสมกับตนเองในด้านการศึกษาต่อและอาชีพ 4.เพื่อจัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนที่มีประสิทธิภาพ และครอบคลุมถึงผู้เรียนทุกคน |
1,4,5, |
เชิงปริมาณ 1. ผู้เรียนร้อยละ 97 มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริตและหาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองสนใจ เชิงคุณภาพ 1. ผู้เรียนมีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพที่สุจริตและหาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองสนใจในระดับดีเยี่ยม |
วิธีการ เครื่องมือ |
เงิน
|
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมสอนเสริม GAT เพื่อเตรียมความพร้อมสู่มหาวิทยาลัย ขั้นเตรียม 1. ประชุมคณะกรรมการการแนะแนว 2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ 1. ดำเนินกิจกรรมตามแผน ขั้นสรุป สรุปและรายงานผล กิจกรรมที่ 2 : รับนักเรียนโควตา ขั้นเตรียม 1. ประชุมคณะกรรมการการแนะแนว 2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ 1. ดำเนินกิจกรรมตามแผน ขั้นสรุป สรุปและรายงานผล กิจกรรมที่ 3 : แนะแนวสัญจร ขั้นเตรียม 1. ประชุมคณะกรรมการการแนะแนว 2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ 1. ดำเนินกิจกรรมตามแผน ขั้นสรุป สรุปและรายงานผล กิจกรรมที่ 4 : ปัจฉิมนิเทศ ขั้นเตรียม 1. ประชุมคณะกรรมการการแนะแนว 2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ 1. ดำเนินกิจกรรมตามแผน ขั้นสรุป สรุปและรายงานผล กิจกรรมที่ 5 : ติดป้ายประชาสัมพันธ์ผลการศึกษาต่อของนักเรียน ขั้นเตรียม 1. ประชุมคณะกรรมการการแนะแนว 2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ 1. ดำเนินกิจกรรมตามแผน ขั้นสรุป สรุปและรายงานผล กิจกรรมที่ 6 : ปฐมนิเทศนักเรียนใหม่ ขั้นเตรียม 1. ประชุมคณะกรรมการการแนะแนว 2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ 1. ดำเนินกิจกรรมตามแผน ขั้นสรุป สรุปและรายงานผล กิจกรรมที่ 7 : มอบทุนการศึกษา ขั้นเตรียม 1. ประชุมคณะกรรมการการแนะแนว 2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ 1. ดำเนินกิจกรรมตามแผน ขั้นสรุป สรุปและรายงานผล กิจกรรมที่ 8 : อบรมนักเรียนเพื่อนที่ปรึกษา YC ขั้นเตรียม 1. ประชุมคณะกรรมการการแนะแนว 2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ 1. ดำเนินกิจกรรมตามแผน ขั้นสรุป สรุปและรายงานผล |
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
1/10/2562 ถึง
|
นายยุทธิชัย อวยชัย
|