แผนการดำเนินงานตามโครงการและงาน
จำแนกตาม แผนงานบริหารงานวิชาการ
ชื่อโครงการ/
วัตถุประสงค์
สนอง
มฐ.รร.
ข้อที่
เป้าหมาย ตัวชี้วัด/เกณฑ์การประเมิน
โครงการ
ค่าใช้จ่าย
(บาท)
ขั้นตอนการดำเนินงาน
ของแต่ละกิจกรรม
ระยะเวลา
ดำเนินการ
ผู้รับผิดชอบ
จัดการเรียนการสอน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้มีวัสดุอุปกรณ์เพียงพอต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
2. เพื่อให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นไปตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา
3. เพื่อส่งเสริมบรรยากาศในการเรียนการสอน
4. เพื่อให้ครูพัฒนาตนเองสู่ความเป็นครูมืออาชีพ
3,7, เชิงปริมาณ
 ร้อยละ 90 ครู นักเรียน มีวัสดุอุปกรณ์บริการด้านวิชาการอย่างเพียงพอตามความจำเป็น
ร้อยละ 90 ครู พัฒนาตนเองสู่ความเป็นครูมืออาชีพ

เชิงคุณภาพ
 การจัดการเรียนการสอนทุกรายวิชามีประสิทธิภาพสูงขึ้น
ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่าย มีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 อยู่ในระดับ
วิธีการ
 ตอบแบบสอบถาม
เครื่องมือ
 ตอบแบบสอบถาม

เงิน
อุดหนุนฯ
1,075,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : การจัดการเรียนการสอนด้านวิชาการ
ขั้นเตรียม
 1. สำรวจรายการวัสดุอุปกรณ์
2. กำหนดรายการที่จำเป็นต้องซื้อ

ขั้นดำเนินการ
 กิจกรรมจัดการเรียนการสอน ตามกลุ่มสาระ
- จัดการเรียนการสอนรายวิชาต่างๆ
- ซื้อวัสดุอุปกรณ์ไว้บริการในการจัดการเรียนการสอน

ขั้นสรุป  ขั้นประเมินผล
- รายงานการจัดการเรียนการสอน รายงานผลการศึกษาต่อและการมีงานทำ
- ประเมินผลการจัดนิทรรศการ

กิจกรรมที่ 2 : พัฒนาปรับปรุงสำนักงานวิชาการ
ขั้นเตรียม
 1. สำรวจรายการวัสดุอุปกรณ์
2. กำหนดรายการที่จำเป็นต้องซื้อ

ขั้นดำเนินการ
 ประชุม วางแผน
ขออนุมัติใช้แผนงบประมาณ
ดำเนินการจัดซื้อ

ขั้นสรุป  รายงานการจัดซื้อ

1/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

1/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

รองฯนุชนาถ สอนสง





นางนุชนาถ สอนสง





ส่งเสริมความรู้ความสามารถและทักษะของนักเรียน

วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ผู้เรียนได้แสดงความรู้ความสามารถทางทักษะวิชาการ
2.เพื่อให้ผู้เรียนได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันอันจะนำไปสู่การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้
3.เพื่อให้นักเรียนใช้ทักษะการจัดการได้
4.เพื่อให้ครูและนักเรียนนำความรู้และผลงานจากกการเรียนการสอนมาจัดนิทรรศการ
5.เพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถของนักเรียนในดีขึ้น
3,4,5,6,7, เชิงปริมาณ
 1.นักเรียนเห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม
2.นักเรียนมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้เกียรติผู้อื่น
3.นักเรียนสามารถสร้างผลงานจากเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี/นาฏศิลป์ กีฬา/นันทนาการ ตามจินตนาการ
4.นักเรียนสามารถเรียนรู้กันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
5.รายงานผลการแข่งขันทักษะทางวิชาการงานศิลปหัตถกรรม ครั้งที่ 66 ระดับเขต ระดับภาค และระดับประเทศ จำนวน 1 เล่ม
6.นักเรียนเห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม
7.นักเรียนมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้เกียรติผู้อื่น
8.จัดนิทรรศการทางวิชาการและแสดงผลงานนักเรียนปีละ 1 ครั้ง
เชิงคุณภาพ
 1.นักเรียนร้อยละ 93 เห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม
2.นักเรียนร้อยละ 94 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้เกียรติผู้อื่น
3.นักเรียนร้อยละ 93 สามารถสร้างผลงานจากเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี/นาฏศิลป์ กีฬา/นันทนาการ ตามจินตนาการ
4.นักเรียนร้อยละ 93 สามารถเรียนรู้กันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ ระหว่างกัน
5.ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่าย มีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 อยู่ในระดับ ดีเยี่ยม
6.นักเรียนร้อยละ 93 เห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม
7.นักเรียนร้อยละ 94 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้เกียรติผู้อื่น
วิธีการ
 การสอบถาม
การสังเกต

เครื่องมือ
 การสอบถาม
การสังเกต

เงิน
อุดหนุนฯ
934,750.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : การแข่งขันทักษะทางวิชาการงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน

ขั้นเตรียม
 - ประชุมวางแผนการ
- แจ้งกิจกรรมและหลักเกณฑ์การประกวดแข่งขัน
- เสนอแต่งตั้งคณะกรรมการตัดสินกิจกรรมการแข่งขัน

ขั้นดำเนินการ
 - ดำเนินการประกวด แข่งขันกิจกรรมต่างๆ ในระดับเขต ระดับภาค ระดับประเทศ

ขั้นสรุป  - สรุปผลการแข่งขัน ระดับเขต ระดับภาค ระดับประเทศ
- สรุปรายงานผลการดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 2 : นิทรรศการการแสดงผลงานทางวิชาการ
ขั้นเตรียม
 - ประชุม วางแผน ดำเนินงาน

ขั้นดำเนินการ
 กิจกรรมนิทรรศการวิชาการ
- ประชาสัมพันธ์การจัดงาน
- ซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการจัดงาน
- จัดนิทรรศการ

ขั้นสรุป  - สังเกตการร่วมกิจกรรมของทุกหมวดวิชา
- ประเมินผลการจัดนิทรรศการ

กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมพัฒนาทักษะทางวิชาการสู่ความเป็นเลิศ
ขั้นเตรียม
  - ประชุม วางแผน ดำเนินงาน
- แต่งตั้งคณะกรรมการ

ขั้นดำเนินการ
  - ดำเนินการจัดกิจกรรมตามเป้าหมายที่กำหนด

ขั้นสรุป   - สังเกตการ
- ประเมินผล / แบบสอบถาม

กิจกรรมที่ 4 : ส่งเสริมงานวิชาการ
ขั้นเตรียม
 - ประชุม วางแผน ดำเนินงาน
- แต่งตั้งคณะกรรมการ
ขั้นดำเนินการ
 ดำเนินการจัดกิจกรรมตามเป้าหมายที่กำหนด
ขั้นสรุป  - สังเกตการ
- ประเมินผล / แบบสอบถาม

1/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

1/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

1/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

1/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

นางนุชนาถ สอนสง





นางนุชนาถ สอนสง





นางนุชนาถ สอนสง





นางนุชนาถ สอนสง





โครงการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ผู้เรียนมีความรัก และเห็นคุณค่าของพืชพรรณและทรัพยากร
2. เพื่อให้โรงเรียนเป็นแหล่งรวบรวมตัวอย่างพรรณไม้ ข้อมูลพรรณไม้ และการเก็บรักษา เพื่อประโยชน์ทางการศึกษา และเผยแพร่สู่ภายนอก
3. เพื่อให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชในโรงเรียน
4. เพื่อให้เกิดการเรียนรู้การทำงานร่วมกันและการจัดการอย่างมีระบบ
เชิงปริมาณ
 1. ผู้เรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่1-6 จำนวน .......... คน เข้าร่วม

เชิงคุณภาพ
  ผู้เรียนโรงเรียนประชามงคล มีความรักและเห็นคุณค่าของพืชพรรณและทรัพยากรมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชในโรงเรียนเกิดการเรียนรู้การทำงานร่วมกันและการจัดการอย่างมีระบบแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ80
วิธีการ
 สำรวจความคิดเห็น จากการมีส่วนร่วมในงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

เครื่องมือ
 สำรวจความคิดเห็น จากการมีส่วนร่วมในงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

เงิน
อุดหนุนฯ
20,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : การอบรมความรู้สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
ขั้นเตรียม
 -ประชุมครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผน ดำเนินงาน
-เขียนโครงการและเสนอขออนุมัติกิจกรรม

ขั้นดำเนินการ
 - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานรับผิดชอบ
- อบรมสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเพื่อรองรับการประเมิน ป้ายพระราชทาน
- อบรมนักเรียน
-ผู้เรียนศึกษาพรรณไม้สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

ขั้นสรุป  1. ประเมินผลการดำเนินงาน
- สภาพแวดล้อม
- บรรยากาศของงานสวนพฤกษศาสตร์
- บุคลากรและผู้เรียนมีคุณธรรม
- ผลการดำเนินงานของโรงเรียนบุคลากรและผู้เรียน
2. ประเมินความคิดเห็นของครูและผู้เรียน ต่อการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
สรุปรายงานผลการประเมินโครงการ

1/10/2559 ถึง
1/10/2560

 

 

นายกันต์กวี ครุรัตนศิริพิมุก





พัฒนาผู้เรียนคิดเป็นทำเป็น

วัตถุประสงค์
1.เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาทักษะวิชาการของกลุ่มสาระภาษาไทย
2.เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน
3.เพื่อให้ผู้เรียนมีจิตสำนึกรักความเป็นไทย
3, เชิงปริมาณ
 1.ผู้เรียนร้อยละ 95 มีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้และสื่อต่างๆ รอบตัว
2.ผู้เรียนร้อยละ 95 สามารถเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
เชิงคุณภาพ
 ผู้เรียน มีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้และสื่อต่างๆ รอบตัว สามารถเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
วิธีการ
 - สอบถาม
- สังเกต
เครื่องมือ
 - สอบถาม
- สังเกต

เงิน
อุดหนุนฯ
15,500.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมฝึกซ้อมและแข่งขันทักษะทางภาษาไทย
ขั้นเตรียม
 ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน
ขั้นดำเนินการ
 กิจกรรมฝึกซ้อมและแข่งขันทักษะทางภาษาไทย
ขั้นสรุป  สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน
กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมค่ายพัฒนาทักษะทางภาษาไทย (ใช้เงินในงบกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน)
ขั้นเตรียม
 ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน
ขั้นดำเนินการ
 กิจกรรมค่ายพัฒนาทักษะทางภาษาไทย
ขั้นสรุป  สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน
กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมพัฒนานักเรียนให้อ่านออกเขียนได้
ขั้นเตรียม
 ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน
ขั้นดำเนินการ
 กิจกรรมพัฒนานักเรียนให้อ่านออกเขียนได้
ขั้นสรุป  สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน
กิจกรรมที่ 4 : กิจกรรมวรรณคดีสัญจร
ขั้นเตรียม
 ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน
ขั้นดำเนินการ
 กิจกรรมวรรณคดีสัญจร
ขั้นสรุป  สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน
กิจกรรมที่ 5 : กิจกรรมวันสำคัญของภาษาไทย(วันสุนทรภู่.วันภาษาไทยแห่งชาติ)
ขั้นเตรียม
 ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน
ขั้นดำเนินการ
 กิจกรรมวันสำคัญของภาษาไทย (วันสุนทรภู่ วันภาษาไทยแห่งชาติ)
ขั้นสรุป  สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน

6/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

6/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

6/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

6/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

6/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

นายสุชาติ จงเจริญไพสิฐ และคณะ





นายสุชาติ จงเจริญไพสิฐ และคณะ





นายสุชาติ จงเจริญไพสิฐ และคณะ





นายสุชาติ จงเจริญไพสิฐ และคณะ





นายสุชาติ จงเจริญไพสิฐ และคณะ





ค่ายพัฒนาทักษะทางภาษาไทย (ใช้เงินในงบกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน)

วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะกระบวนการเรียนรู้ภาษาไทย
1 2. เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน คิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ
1 3. เพื่อให้ผู้เรียนมีจิตสำนึกรักความเป็นไทยและเห็นความสำคัญของภาษาไทย
3, เชิงปริมาณ
 1. ผู้เรียนร้อยละ 90 มีการพัฒนาทักษะกระบวนการเรียนรู้ทางภาษาไทย
1 2. ผู้เรียนร้อยละ 90 มีจิตสำนึกรักความเป็นไทยและเห็นความสำคัญของภาษาไทย

เชิงคุณภาพ
 1.ผู้เรียนพัฒนาทักษะกระบวนการเรียนรู้ ทั้งการอ่าน การฟัง การพูด การดู การเขียน คิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ และส่งเสริมให้เข้าร่วมการประกวดแข่งขันทักษะต่างๆ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
1
วิธีการ
 ประเมินความพึงพอใจ
เครื่องมือ
 ทดสอบ

เงิน
อุดหนุนฯ
10,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมค่ายพัฒนาทักษะทางภาษาไทย (ใช้เงินในงบกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน)
ขั้นเตรียม
 ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน
ขั้นดำเนินการ
 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้เป็นมีทักษะกระบวนการเรียนรู้ภาษาไทย และมีจิตสำนึกรักความเป็นไทยและเห็นตวามสำคัญของภาษาไทย
ขั้นสรุป  สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน

6/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

ครูสุชาติ จงเจริญไพสิฐ





พัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

วัตถุประสงค์
เพื้่อพัฒนาครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3,7, เชิงปริมาณ
 ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยร้อยละ 95 มีการอบรม ประชุม สัมมนา ศึกษา วิจัย และพัฒนาการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

เชิงคุณภาพ
 1. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลอยู่ในระดับดีเยี่ยม
วิธีการ
 - สอบถาม
- สังเกต

เครื่องมือ
 - สอบถาม
- สังเกต

เงิน
อุดหนุนฯ
8,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : จัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ขั้นเตรียม
 ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน
ขั้นดำเนินการ
 กิจกรรมพัฒนาครูกลุ่มสาระฯภาษาไทย ให้เป็นครูมืออาชีพ
ขั้นสรุป  สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน

4/11/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

นายสุชาติ จงเจริญไพสิฐ





พัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน

วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วัฒนธรรมต่างชาติ
2.เพื่อให้ผู้เรียนเกิดภาคภูมิใจในภาษาไทยที่เป็นเอกลักษณ์ของชาติ
5,10, เชิงปริมาณ
 ผู้เรียนร้อยละ 93 ที่ยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่าง
เชิงคุณภาพ
 ผู้เรียนยอมรับความคิดและวัฒนาธรรมที่แตกต่างมากขึ้น
วิธีการ
 - สอบถาม
- สังเกต
เครื่องมือ
 - สอบถาม
- สังเกต

เงิน
อุดหนุนฯ
1,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมเรียนรู้ภาษาอาเซียน
ขั้นเตรียม
 ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน
ขั้นดำเนินการ
 กิจกรรมเรียนรู้ภาษาอาเซียน
ขั้นสรุป  สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน

6/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

นายสุชาติ จงเจริญไพสิฐ และคณะ





พัฒนาผู้เรียนให้มีความใฝ่รู้ใฝ่เรียนและเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง

วัตถุประสงค์
1.เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน และใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง
2.เพื่อให้กลุ่มสาระภาษาไทย มีแหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสมสำหรับบริการนักเรียน
3,5, เชิงปริมาณ
 1.ผู้เรียนร้อยละ 95 มีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้จากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้และสื่อต่าง ๆ รอบตัว
2.ผู้เรียนร้อยละ 96 มีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคำถามเพื่อหาความรู้เพิ่มเติม
เชิงคุณภาพ
 ผู้เรียนมีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้จากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้และสื่อต่าง ๆ รอบตัว มีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคำถามเพื่อหาความรู้เพิ่มเติม
วิธีการ
 - สอบถาม
- สังเกต
เครื่องมือ
 - สอบถาม
- สังเกต

เงิน
อุดหนุนฯ
5,500.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมวาทศิลป์สร้างสรรค์
ขั้นเตรียม
 ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน
ขั้นดำเนินการ
 กิจกรรมวาทศิลป์สร้างสรรค์
ขั้นสรุป  สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน
กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมพัฒนาห้องสมุดกลุ่มสาระภาษาไทย
ขั้นเตรียม
 ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน
ขั้นดำเนินการ
 กิจกรรมพัฒนาห้องสมุดกลุ่มสาระภาษาไทย
ขั้นสรุป  สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน

6/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

6/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

นายสุชาตี จงเจริญไพสิฐ และคณะ





นายสุชาติ จงเจริญไพสิฐ และคณะ





ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้เรียนมีผลการทดสอบระดับชาติเป็นไปตามเกณฑ์
2. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียนให้เพิ่มขึ้น
3,4,5, เชิงปริมาณ
 ร้อยละ 55 ของผู้เรียนมีผลการทดสอบระดับชาติเป็นไปตามเกณฑ์
เชิงคุณภาพ
 ผู้เรียนมีผลการทดสอบระดับชาติเป็นไปตามเกณฑ์
วิธีการ
 - การทดสอบ
เครื่องมือ
 - การทดสอบ

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมสอนเสริมเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ขั้นเตรียม
 ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน
ขั้นดำเนินการ
 กิจกรรมสอนเสริมเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ขั้นสรุป  สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน

6/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

นายสุชาติ จงเจริญไพสิฐ และคณะ





พัฒนากระบวนการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21

วัตถุประสงค์
1.เพื่อเพิ่มพูนความรู้ และความเข้าใจให้กับครูผู้สอน เกี่ยวกับการศึกษาในศตวรรษที่ 21 และการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
2.เพื่อให้วิธีการเรียนรู้นวัตกรรมที่บูรณาการการใช้เทคโนโลยีสนับสนุนแนวทางเพิ่มเติมในการใช้ปัญหาเป็นฐาน และทักษะการคิดขั้นสูง
3.เพื่อส่งเสริมแนะแนวเพื่อการมีอาชีพ
4,6,7,10, เชิงปริมาณ
 1.ครูพัฒนาความสามารถในการใช้กลยุทธ์ต่างๆ (เช่นการประเมินผลการเรียนการสอน) ถึงนักเรียนที่มีความหลากหลายและสร้างสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนความแตกต่างการเรียนการสอนและการเรียนรู้ร้อยละ90
2นักเรียน.เรียนรู้การใช้เครื่องมือเทคโนโลยีและทรัพยากรอย่างมีคุณภาพ รู้จักการทำงานสำหรับการเรียนรู้เป็นกลุ่มทีมและรายบุคคลร้อยละ 90 3.นักเรียนมีความความเข้าใจรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ต้องใช้ประกอบอาชีพในชีวิตประจำวันร้อยละ 90
เชิงคุณภาพ
 1.นักเรียนมีทักษะ ทัศนคติ ค่านิยม และบุคลิกภาพส่วนบุคคล เพื่อเผชิญกับอนาคตด้วยภาพในทางบวก (optimism) ที่มีทั้งความสำเร็จและมีความสุข
วิธีการ
 โดยการสังเกต นิเทศติดตามผล สอบถาม
เครื่องมือ
 โดยการสังเกต นิเทศติดตามผล สอบถาม

เงิน
อุดหนุนฯ
50,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : ทวิศึกษา
ขั้นเตรียม
 ประชุมวางแผน การทำงาน
ขั้นดำเนินการ
 แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการการปฏิบัติการ โครงการ
ขั้นสรุป  ติดตามและประเมินผล

6/10/2559 ถึง
6/10/2560

 

 

นางดารารัตน์ ศรีธงไชยะ





ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (งบพัฒนาผู้เรียน)

วัตถุประสงค์
1. เพื่อเพิ่มยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้น
2. เพื่อพัฒนาผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) ให้คะแนนเฉลี่ยสูงขึ้น
5, เชิงปริมาณ
 1. ผู้เรียนอย่างน้อยร้อยละ 70 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เป็นไปตาม เกณฑ์
2. ข้ผู้เรียนอย่างน้อยร้อยละ 55 มีผลการทดสอบระดับชาติวิชาคณิตศาสตร์เป็นไปตามเกณฑ์

เชิงคุณภาพ
 คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) วิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนสูงกว่าหรือเท่ากับคะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัดและระดับเขตพื้นที่การศึกษา
วิธีการ
 พิจารณาจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เเละผลการทดสอบระดับชาติวิชาคณิตศาสตร์
เครื่องมือ
 พิจารณาจากคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) วิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมค่ายสอนเสริมเพื่อเติมเต็มและต่อยอดความรู้ทางคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
ขั้นเตรียม
 - จัดทำโครงการและขออนุมัติ
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
- ประชุมคณะกรรมการดำเนินการและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
- จัดทำหลักสูตรในการจัด กิจกรรมค่าย

ขั้นดำเนินการ
 - จัดทำเอกสารประกอบการทำกิจกรรม
- ประชาสัมพันธ์นักเรียนระดับชั้นม.3
- ดำเนินการจัดกิจกรรม
- ประเมินผลการจัดกิจกรรม

ขั้นสรุป  - ตรวจสอบรายงานการจัดกิจกรรมของกลุ่มสาระคณิตศาสตร์
– ประเมินผลและรายงานผลการปฏิบัติงาน

กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมค่ายสอนเสริมเพื่อเติมเต็มและต่อยอดความรู้ทางคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
ขั้นเตรียม
 - จัดทำโครงการและขออนุมัติ
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
- ประชุมคณะกรรมการดำเนินการและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
- จัดทำหลักสูตรในการจัด กิจกรรมค่าย

ขั้นดำเนินการ
 - จัดทำเอกสารประกอบการทำกิจกรรม
- ประชาสัมพันธ์นักเรียนระดับชั้นม.6
- ดำเนินการจัดกิจกรรม
- ประเมินผลการจัดกิจกรรม

ขั้นสรุป  - ตรวจสอบรายงานการจัดกิจกรรมของกลุ่มสาระคณิตศาสตร์
– ประเมินผลและรายงานผลการปฏิบัติงาน

6/10/2559 ถึง
30/3/2560

 

 

6/10/2559 ถึง
30/3/2560

 

 

นางสาวดิฐารัตน์ ลีวรางกุล





นางสาวดิฐารัตน์ ลีวรางกุล





ส่งเสริมการจัดทำงานวิจัยในชั้นเรียนเเละวิจัยระดับโรงเรียน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมให้ครูทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาศักยภาพและแก้ปัญหาในการเรียนรู้ของผู้เรียน
2. เพื่อให้ครูมีงานวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อย 1 เรื่องใน 1 ภาคการศึกษา
3. เพื่อให้โรงเรียนมีงานวิจัยระดับโรงเรียนอย่างน้อย 1 เรื่องใน 1 ภาคการศึกษา
7, เชิงปริมาณ
 1. ครูร้อยละ 98 มีการศึกษา วิจัย เเละพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในวิชาที่ตนรับผิดชอบ
2. ครูร้อยละ 98 มีการนำผลการวิจัยไปใช้ในการปรับการสอน
3. โรงเรียนมีงานวิจัยระดับโรงเรียนอย่างน้อย 1 เรื่องใน 1 ภาคการศึกษา
เชิงคุณภาพ
 1. ครูมีผลการประเมินงานวิจัยในชั้นเรียนอยู่ในระดับดีขึ้นไป
2. ครูมีการนำผลการวิจัยไปใช้ในการปรับการสอน
3. โรงเรียนมีงานวิจัยระดับโรงเรียนอย่างน้อย 1 เรื่องใน 1 ภาคการศึกษา
วิธีการ
 ประเมินรายงานผลการทำวิจัยในชั้นเรียนเเละการนำผลการวิจัยไปใช้
เครื่องมือ
 ประเมินรายงานผลการทำวิจัยในชั้นเรียนเเละการนำผลการวิจัยไปใช้

เงิน
อุดหนุนฯ
6,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : ส่งเสริมการจัดทำงานวิจัยในชั้นเรียน
ขั้นเตรียม
 จัดประชุมครูเพื่อชี้แจ้งรายละเอียดเเละวางแผนการทำวิจัยในชั้นเรียน
ขั้นดำเนินการ
 1) ครูแต่ละคนศึกษาปัญหา วิเคราะห์ปัญหาในชั้นเรียนที่ตนรับผิดชอบ
2) ครูทำการวิจัยในชั้นเรียนเเละเขียนรายงานการวิจัย
ขั้นสรุป  1) งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้รวบรวมรายงานการงานวิจัยในชั้นเรียน
2) ผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพของรายงานการงานวิจัยในชั้นเรียนเเละคัดเลือกงานวิจัยที่มีคุณภาพ
3) รายงานผลการประเมินคุณภาพของรายงานการงานวิจัยในชั้นเรียนให้ผู้บริหารทราบ ประกาศผลเเละมอบรางวัล

กิจกรรมที่ 2 : การจัดทำงายวิจัยระดับโรงเรียน
ขั้นเตรียม
 จัดประชุมครูเพื่อชี้แจงรายละเอียดเเละวางแผนการทำงานวิจัยระดับโรงเรียน
ขั้นดำเนินการ
 ครูผู้เกี่ยวข้องดำเนินการตามแผนการวิจัยเเละทีมงานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้เก็บรวบรวมข้อมูล
ขั้นสรุป  ทีมงานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้สรุปข้อมูลเเละเขียนรายงานการวิจัยระดับโรงเรียน

6/10/2559 ถึง
6/10/2560

 

 

6/10/2559 ถึง
6/10/2560

 

 

นางสาวดิฐารัตน์ ลีวรางกุล





นางสาวดิฐารัตน์ ลีวรางกุล





ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์(กลุ่มสาระคณิตศาสตร์)

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม
2. เพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
3. เพื่อให้ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน
4. เพื่อให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ
5. เพื่อส่งเสริมศักยภาพ และพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์นักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์
3,4, เชิงปริมาณ
 1. ผู้เรียนอย่างน้อยร้อยละ 96 มีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม
2. ผู้เรียนอย่างน้อยร้อยละ 95 เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
3.ผู้เรียนอย่างน้อยร้อยละ 95 ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน
4. ผู้เรียนอย่างน้อยร้อยละ 94 มีความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ
5. จัดกิจกรรม เพื่อส่งเสริมศักยภาพ และพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ จำนวน 1 ครั้ง
6. รายงานผลการประเมินการจัดกิจกรรม จำนวน 2 เล่ม
เชิงคุณภาพ
 1. ผู้เรียน มีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมในระดับดีเยี่ยม
2. ผู้เรียน เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกันในระดับดีเยี่ยม
3. ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงานในระดับดีเยี่ยม
4. ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจในระดับดีเยี่ยม
5. ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 อยู่ในระดับดีเยี่ยม
วิธีการ
 1.ประเมินผลทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมของนักเรียน
2.ประเมินผลการเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกันของนักเรียน
3.ประเมินผลการใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงานของนักเรียน
4.ประเมินผลการมีความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจของนักเรียน
เครื่องมือ
 1.ประเมินผลทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมของนักเรียน
2.ประเมินผลการเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกันของนักเรียน
3.ประเมินผลการใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงานของนักเรียน
4.ประเมินผลการมีความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจของนักเรียน
5.นักเรียนทำแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจ

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
37,000.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมส่งเสริมศักยภาพทางการเรียนคณิตศาสตร์นักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ระดับชั้น ม.1 และ ม. 4 (อบรมเพื่อพัฒนาทักษะการใช้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP))
ขั้นเตรียม
 ขั้นเตรียม (P)
- จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
- ขออนุมัติโครงการ
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
- ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
ขั้นดำเนินการ
 ขั้นดำเนินการ(D)
- บันทึกขอจัดกิจกรรม,ออกคำสั่งแต่งตั้ง,หนังสือเชิญวิทยากร,หนังสือขอเยี่ยมชมแหล่งเรียนรู้
- จัดเตรียมเอกสาร อุปกรณ์การอบรม
- จัดกิจกรรมการอบรมโปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP)
- ทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้
- ประเมินผลการจัดการอบรม
ขั้นสรุป  ขั้นนิเทศติดตามผล(C)
- ตรวจสอบรายงานการจัดกิจกรรมของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
- ตรวจสอบรายงานการนำนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ขั้นประเมินผล(A)
ประเมินผลและรายงานผลโครงการ

6/10/2559 ถึง
31/8/2560

 

 

นางสาวปานรวี ภูศรี





การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้นักเรียนมีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้และสื่อต่างๆ รอบตัว
2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนจัดนิทรรศการวันวิทยาศาสตร์และวันวิชาการ เข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันคิดเลขเร็วและเกมทางคณิตศาสตร์
3, เชิงปริมาณ
 1. ผู้เรียนอย่างน้อยร้อยละ 95 มีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง จากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้และสื่อต่าง ๆ รอบตัว
2. ดำเนินการจัดกิจกรรมการจัดแข่งขันคิดเลขเร็วและเกมทางคณิตศาสตร์ในวันวิชาการและสัปดาห์วิทยาศาสตร์ อย่างน้อย 1 ครั้ง
3. มีครูและนักเรียนใช้บริการห้องปฏิบัติการคณิตศาสตร์และคลินิกคณิตศาสตร์ ไม่ต่ำกว่า 500 คนต่อปีการศึกษา

เชิงคุณภาพ
 1. ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความพึงพอใจต่อ การจัดกิจกรรมการจัดแข่งขันคิดเลขเร็วและเกมทางคณิตศาสตร์ในวันวิชาการและสัปดาห์วิทยาศาสตร์ อยู่ในระดับดีเยี่ยม
2. ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความพึงพอใจต่อ ใช้บริการห้องปฏิบัติการคณิตศาสตร์และคลินิกคณิตศาสตร์ อยู่ในระดับดีเยี่ยม
วิธีการ
 - แบบบันทึกการใช้บริการห้องปฏิบัติการคณิตศาสตร์และคลินิกคณิตศาสตร์
- แบบประเมินผลการดำเนินงาน

เครื่องมือ
 การประเมินความพึงพอใจ

เงิน
อุดหนุนฯ
10,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมแข่งขันทักษะวันวิชาการ และวันวิทยาศาสตร์
ขั้นเตรียม
 - จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการ
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
- ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ

ขั้นดำเนินการ
 - บันทึกขอจัดกิจกรรมและออกคำสั่งแต่งตั้ง
- จัดเตรียมนิทรรศการ วัสดุอุปกรณ์การแข่งขัน
- จัดนิทรรศการ และการแข่งขัน
- ประเมินผลการจัดกิจกรรม

ขั้นสรุป  ประเมินผลและรายงานผลการปฏิบัติงาน
กิจกรรมที่ 2 : พัฒนาสื่อและแหล่งเรียนรู้
ขั้นเตรียม
 - จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการ
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
- ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ

ขั้นดำเนินการ
 - จัดเตรียมหาสื่อและแหล่งเรียนรู้ต่างๆ
- ให้บริการห้องปฏิบัติการคณิตศาสตร์และคลินิกคณิตศาสตร์
- จัดทำเอกสาร รายงานผลการใช้บริการห้องปฏิบัติการคณิตศาสตร์และคลินิกคณิตศาสตร์

ขั้นสรุป  ประเมินผลและรายงานผลการปฏิบัติงาน

6/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

6/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

นางวรรณี แก้วอุปการ





นางวรรณี แก้วอุปการ





คิดเป็นทำเป็น

วัตถุประสงค์
1. เพื่อเสริมสร้างให้ผู้เรียน เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
2. เพื่อเสริมสร้างให้ผู้เรียน นำเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหาด้วยภาษาหรือวิธีการของตนเอง
3. เพื่อเสริมสร้างให้ผู้เรียน มีความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ
4. เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนมีทักษะกระบวนการทางด้านคณิตศาสตร์เพิ่มเติมจากในบทเรียน
5. เพื่อให้นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
6. เพื่อสร้างเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
3,4, เชิงปริมาณ
 1. ผู้เรียนอย่างน้อยร้อยละ 95 เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
2. ผู้เรียนอย่างน้อยร้อยละ 93 นำเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหาด้วยภาษาหรือวิธีการของตนเอง
3. ผู้เรียนอย่างน้อยร้อยละ 94 มีความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ
4. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ จำนวน 150 คน

เชิงคุณภาพ
 1. ผู้เรียน เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกันในระดับ ดีเยี่ยม
2. ผู้เรียนนำเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหาด้วยภาษาหรือวิธีการของตนเองในระดับดีเยี่ยม
3. ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจในระดับดีเยี่ยม
4. นักเรียนมีความรู้ ทักษะและเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
5. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 อยู่ในระดับดีเยี่ยม
วิธีการ
 1.ให้นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมทำแบบประเมินผลการดำเนินงาน
2.ครูทำแบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียน

เครื่องมือ
 1.ให้นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมทำแบบประเมินผลการดำเนินงาน
2.ครูทำแบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียน

เงิน
อุดหนุนฯ
50,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : ค่ายคณิตศาสตร์
ขั้นเตรียม
 1. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
2. ขออนุมัติโครงการ
3. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
4. ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ

ขั้นดำเนินการ
 1. เสนอโครงการขออนุมัติต่อทางโรงเรียนและออกคำสั่งแต่งตั้ง
2. ประชุมครูในกลุ่มสาระฯ เพื่อวางแผนงาน
3. ติดต่อสำรวจสถานที่ตามความเหมาะสม
4. ประชาสัมพันธ์นักเรียนที่สนใจ
5. ประสานงานวิทยากรภายนอก
6. จัดเตรียมเอกสาร วัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์
7. ดำเนินการจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์

ขั้นสรุป  1. ตรวจสอบรายงานกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์
2. ประเมินผลและรายงานผลโครงการ

6/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

นางวิพาดา อินทวิชัย





พัฒนาผู้เรียนให้มีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม
2. เพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
3. เพื่อให้ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน
4. เพื่อให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ
5. เพื่อฝึกฝนทักษะทางคณิตศาสตร์และเกมกีฬาทางคณิตศาสตร์ (A-math ,Sudoku, GSP,โครงงานคณิตศาสตร์,คิดเลขเร็ว,อัฉริยภาพคณิตศาสตร์) และ ส่งนักเรียนแข่งขันกับหน่วยงานภายนอก
3,4, เชิงปริมาณ
 1. ผู้เรียนอย่างน้อยร้อยละ 96 มีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม
2. ผู้เรียนอย่างน้อยร้อยละ 95 เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
3. ผู้เรียนอย่างน้อยร้อยละ 95 ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน
4. ผู้เรียนอย่างน้อยร้อยละ 94 มีความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ
5. ผู้เรียนอย่างน้อยร้อยละ 80 เข้าร่วมกิจกรรม เพื่อส่งเสริมศักยภาพ และพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
5. นำนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันทักษะทางคณิตศาสตร์และเกมกีฬาทางคณิตศาสตร์ กับหน่วยงานภายนอก จำนวนอย่างน้อย 5 รายการ

เชิงคุณภาพ
 1. ผู้เรียน มีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมในระดับดีเยี่ยม
2. ผู้เรียน เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกันในระดับดีเยี่ยม
3. ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงานในระดับดีเยี่ยม
4. ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจในระดับดีเยี่ยม
5. ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 อยู่ในระดับดีเยี่ยม
วิธีการ
 1. ประเมินผลทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมของนักเรียน
2. ประเมินผลการเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน ของนักเรียน
3. ประเมินผลการใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงานของนักเรียน
4. ประเมินผลการมีความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจของนักเรียน

เครื่องมือ
 1. ประเมินผลทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมของนักเรียน
2. ประเมินผลการเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกันของนักเรียน
3. ประเมินผลการใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงานของนักเรียน
4. ประเมินผลการมีความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจของนักเรียน
5. นักเรียนทำแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจ

เงิน
อุดหนุนฯ
10,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : การฝึกฝนทักษะทางคณิตศาสตร์และเกมกีฬาทางคณิตศาสตร์ และส่งนักเรียนแข่งขันหน่วยงานภายนอก
ขั้นเตรียม
 - จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
- ขออนุมัติโครงการ
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
- ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่

ขั้นดำเนินการ
 - ฝึกฝนนักเรียน
- พานักเรียนเข้าแข่งขันกับหน่วยงานภายนอก

ขั้นสรุป  ประเมินผลและรายงานผลโครงการ
กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมวันคณิตศาสตร์สนุกคิด
ขั้นเตรียม
 - จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
- ขออนุมัติโครงการ
- ออกคำสั่งแต่งตั้คณะกรรมการดำเนินการ
- ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่

ขั้นดำเนินการ
 - จัดเตรียมเอกสาร อุปกรณ์การแข่งขัน
- จัดกิจกรรมการแข่งขันคณิตศาสตร์และเกมกีฬาทางคณิตศาสตร์ (A-math ,Sudoku, GSP,โครงงานคณิตศาสตร์,คิดเลขเร็ว)

ขั้นสรุป  ประเมินผลและรายงานผลโครงการ

1/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

1/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

นายก่อกิจ ธีราโมกข์





นายก่อกิจ ธีราโมกข์





กิจกรรมการพัฒนาสื่อและแหล่งเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้นักเรียนมีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้และสื่อต่างๆ รอบตัว
2. ข้อความ....
เชิงปริมาณ
 1. ผู้เรียนอย่างน้อยร้อยละ 95 มีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง จากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้และสื่อต่าง ๆ รอบตัว
2. มีครูและนักเรียนใช้บริการห้องปฏิบัติการคณิตศาสตร์และคลินิกคณิตศาสตร์ ไม่ต่ำกว่า 500 คนต่อปีการศึกษ.

เชิงคุณภาพ
 1. ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความพึงพอใจต่อ ใช้บริการห้องปฏิบัติการคณิตศาสตร์และคลินิกคณิตศาสตร์ อยู่ในระดับดีเยี่ยม
2. ข้อความ.......
วิธีการ
 
เครื่องมือ
 

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : พัฒนาสื่อและแหล่งเรียนรู้
ขั้นเตรียม
 - จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการ - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ - ประชุมหารือ ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบ
ขั้นดำเนินการ
 - จัดเตรียมหาสื่อและแหล่งเรียนรู้ต่างๆ - ให้บริการห้องปฏิบัติการคณิตศาสตร์ - จัดทำเอกสาร รายงานผลการใช้บริการห้องปฏิบัติการคณิตศาสตร์ -จัดซื้อ ซ่อมบำรุง ดูแลสื่อและอุปกรณ์การเรียน -จัดซื้อ ซ่อมบำรุง ดูแลอุปกรณ์ไฟฟ้าและอุปกรณ์ไอที -จัด ปรับปรุง ดูแลป้ายนิเทศประชาสัมพันธ์ และแหล่งเรียนรู้ของกลุ่มสาระฯ -จัดทำสื่อนำเสนอต่างๆของกลุ่มสาระฯ
ขั้นสรุป  ประเมินผลและรายงานผลการปฏิบัติงาน

1/10/2561 ถึง
31/3/2562

 

 

นายนรุตม์ รัชชประภาพรกุล





ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม

วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมความสามารถของนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ทั้งระดับมัธยมต้น มัธยมปลาย ให้มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น
2. เพื่อพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมความสามารถของนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ทั้งระดับมัธยมต้น มัธยมปลาย มีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบคิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล
3. เพื่อพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมความสามารถของนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ทั้งระดับมัธยมต้น มัธยมปลาย ให้มีความรู้และทักษะพื้นฐานที่จำเป็นตามหลักสูตร
4. เพื่อพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมความสามารถของนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ทั้งระดับมัธยมต้น มัธยมปลาย ให้มีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต
5. เพื่อให้ผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างโรงเรียนในกลุ่มภาคกลางตอนล่าง เข้าร่วมกิจกรรมปฐมนิเทศระหว่างโรงเรียนในกลุ่มภาคกลางตอนล่าง เข้าร่วมกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ในประเทศหรือต่างประเทศ
6. ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
3,4,5,6, เชิงปริมาณ
 1. ร้อยละ 90 ของผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีพื้นฐานความรู้เพิ่มมากขึ้นและมีความพร้อมในการเข้าเรียนห้องเรียนพิเศษ
2. ร้อยละ 90 ของผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ทุกรายวิชาในระดับดีขึ้นไปตามจุดเน้นของสถานศึกษา
3. ร้อยละ 90 ของผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจในกิจกรรมพิเศษของนักเรียนห้องเรียนพิเศษและทักษะทางวิทยาศาสตร์
4. ร้อยละ 90 ของผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมเผยแพร่นำเสนอผลงานโครงงานแข่งขันกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ทั้งในโรงเรียนและมหาวิทยาลัย
5. ร้อยละ 90 ของผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจและทักษะปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์จนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ทุกรายวิชาในระดับดีสูงขึ้น
6. ร้อยละ90 ของผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่เข้าค่ายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำวิจัยทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์จนสามารถทำวิจัยได้
7. ร้อยละ90 ของผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่เข้าค่ายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ GSP ในการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์จนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ทุกรายวิชาในระดับดีสูงขึ้น

เชิงคุณภาพ
 1. ผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีพื้นฐานความรู้เพิ่มมากขึ้นและมีความพร้อมในการเข้าเรียนห้องเรียนพิเศษ
2. ผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ทุกรายวิชาในระดับดีขึ้นไปตามจุดเน้นของสถานศึกษา
3. ผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจในกิจกรรมพิเศษของนักเรียนห้องเรียนพิเศษและทักษะทางวิทยาศาสตร์
4. ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมเผยแพร่นำเสนอผลงานโครงงานแข่งขันกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ทั้งในโรงเรียนและมหาวิทยาลัย
5. ผู้เรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจและทักษะปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์จนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ทุกรายวิชาในระดับดีสูงขึ้น
วิธีการ
 - การสังเกต การเข้าร่วมกิจกรรม - พิจารณาจากระดับผลการเรียนของนักเรียน ผลการสอบระดับชาติ - นักเรียน ผู้ปกครอง และครูมีความพึงพอใจเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน
- พิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมที่จัด/รางวัลที่ได้รับ
เครื่องมือ
 - ตรวจผลงาน/ชิ้นงานผู้เรียน
- การสังเกต
- ตรวจรายงานการปฏิบัติงานของผู้เรียน

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
832,500.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์และสารเคมีห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ปรึกษาการจัดกิจกรรม
2. สำรวจตรวจสอบวัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี ที่ต้องใช้ในแต่ละกิจกรรม
3. จัดงบประมาณในการดำเนินงานของแต่ละกิจกรรม
4. กำหนดผู้รับผิดชอบกิจกรรม

ขั้นดำเนินการ
 - จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ สารเคมี
- ตรวจรับ
- ครูนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนทุกรายวิชาทุกชั้นปี ทั้งภาคเรียนที่ 1 และ 2
- นักเรียนนำไปใช้ในการทำวิจัย

ขั้นสรุป  1. ครูบันทึกพฤติกรรมการเรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะ สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์หลังแผนการจัดการเรียนรู้
2. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายงานผลการจัดการเรียนการสอน ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ผลการพัฒนา
กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์เชิงปฏิบัติการแบบบูรณาการของนักเรียนห้องเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง / ติดต่อวิทยากร
ขั้นดำเนินการ
 ดำเนินการจัดค่ายวิทยาศาสตร์เชิงปฏิบัติการแบบบูรณาการของนักเรียนห้องเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
ขั้นสรุป  ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถาม
กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์เชิงปฏิบัติการแบบบูรณาการของนักเรียนห้องเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง / ติดต่อวิทยากร
ขั้นดำเนินการ
 ดำเนินการจัดค่ายวิทยาศาสตร์เชิงปฏิบัติการแบบบูรณาการของนักเรียนห้องเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
ขั้นสรุป  1. ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถาม
2. รายงานผลการดำเนินการจัดค่าย
กิจกรรมที่ 4 : กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ด้วยภาษาอังกฤษเสริมนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง / ติดต่อวิทยากร
ขั้นดำเนินการ
 ดำเนินการจัดค่ายวิทยาศาสตร์ด้วยภาษาอังกฤษเสริมนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
ขั้นสรุป  1. ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถาม
2. ประเมินผลสัมฤทธิ์ จากการสังเกตการปฏิบัติงาน คะแนนจากแบบฝึกและใบงาน
3. รายงานผลการดำเนินการจัดค่าย
กิจกรรมที่ 5 : กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ด้วยภาษาอังกฤษเสริมนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง / ติดต่อวิทยากร
ขั้นดำเนินการ
 ดำเนินการจัดค่ายวิทยาศาสตร์ด้วยภาษาอังกฤษเสริมนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
ขั้นสรุป  1. ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถาม
2. ประเมินผลสัมฤทธิ์ จากการสังเกตการปฏิบัติงาน คะแนนจากแบบฝึกและใบงาน
3. รายงานผลการดำเนินการจัดค่าย
กิจกรรมที่ 6 : กิจกรรมปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
ขั้นดำเนินการ
 ดำเนินการจัดกิจกรรม
ขั้นสรุป  1. ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถาม
2. ประเมินผลสัมฤทธิ์ จากการสังเกตการปฏิบัติงาน คะแนนจากแบบฝึกและใบงาน
3. รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม
กิจกรรมที่ 7 : กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์กลุ่มภาคกลางตอนล่าง
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
ขั้นดำเนินการ
 ดำเนินการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์กลุ่มภาคกลางตอนล่าง
ขั้นสรุป  1. ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถาม
2. รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม
กิจกรรมที่ 8 : กิจกรรมปฐมนิเทศนักเรียนชั้นมัธยมศึกาาปีที่ 4 ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
ขั้นดำเนินการ
 ดำเนินการจัดกิจกรรมปฐมนิเทศนักเรียนชั้นมัธยมศึกาาปีที่ 4 ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ขั้นสรุป  1. ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถาม
2. รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม
กิจกรรมที่ 9 : กิจกรรมปรับปรุงห้องปฏิบัติการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
ขั้นดำเนินการ
 ดำเนินการจัดกิจกรรมปรับปรุงห้องปฏิบัติการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ขั้นสรุป  1. ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถาม
2. รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม
กิจกรรมที่ 10 : กิจกรรมแข่งขันฟิสิกส์สัปประยุทธ์
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
ขั้นดำเนินการ
 ดำเนินการจัดกิจกรรมแข่งขันฟิสิกส์สัปประยุทธ์
ขั้นสรุป  1. ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถาม
2. รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม
กิจกรรมที่ 11 : กิจกรรมอบรมโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการสร้างสื่ออิเล้กทรอนิกส์
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินการ
2. ขออนุญาตดำเนินโครงการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
ขั้นดำเนินการ
 ดำเนินการจัดกิจกรรมกิจกรรมอบรมโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการสร้างสื่ออิเล้กทรอนิกส์
ขั้นสรุป  1. ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถาม
2. รายงานผลการดำเนินการจัดกิจกรรม
กิจกรรมที่ 12 : กิจกรรมค่ายส่งเสริมศักยภาพทางคณิตศาสตร์
ขั้นเตรียม
 -
ขั้นดำเนินการ
 -
ขั้นสรุป  -

5/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

5/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

5/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

5/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

5/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

5/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

5/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

5/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

5/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

5/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

5/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

5/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

ครูเกรียงไกร 1-13-08





ครูเกรียงไกร 1-13-11





ครูเกรียงไกร 1-13-12





ครูเกรียงไกร 1-13-09





ครูเกรียงไกร 1-13-10





ครูเกรียงไกร 1-13-06





ครูเกรียงไกร 1-13-05





ครูเกรียงไกร 1-13-03





ครูเกรียงไกร 1-13-07





ครูเกรียงไกร 1-13-04





ครูหงษ์หยก 1-13-01





ครูปานรวี 1-13-02





ประชุมอบรมปฏิบัติการเพื่อการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

วัตถุประสงค์
1. ให้ครูผู้สอนมีความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถในการพัฒนาหลักสูตรและสามารถนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษาที่เหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่นและเทียบเคียงกับมาตรฐานสากล
10, เชิงปริมาณ
 ครูร้อยละ 100 มีความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถในการพัฒนาหลักสูตรและสามารถ จัดทำหลักสูตรของกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่นและเทียบเคียงกับมาตรฐานสากล
เชิงคุณภาพ
 สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษาให้เหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่นและเทียบเคียงกับมาตรฐานสากล ในระดับดีเยี่ยม
วิธีการ
 - ทำแบบประเมิน
- ตรวจสอบรายละเอียดหลักสูตรของกลุ่มสาระการเรียนรู้
เครื่องมือ
 - ทำแบบประเมิน
- ตรวจสอบรายละเอียดหลักสูตรของกลุ่มสาระการเรียนรู้

เงิน
อุดหนุนฯ
18,500.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมพัฒนาและประเมินการใช้หลักสูตร
ขั้นเตรียม
  - ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
ขั้นดำเนินการ
 - ดำเนินการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
ขั้นสรุป  1. หัวหน้างานวิชาการ นิเทศติดตามการจัดทำหลักสูตร ของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้
2. รวบรวมหลักสูตรของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้และนำมาจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
3. ประเมินผลหลักสูตร
กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมพัฒนาหลักสูตรมาตรฐานสากล
ขั้นเตรียม
  -ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษา
ขั้นดำเนินการ
 - ดำเนินการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
ขั้นสรุป  1. หัวหน้างานวิชาการ นิเทศติดตามการจัดทำหลักสูตร ของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้
2. รวบรวมหลักสูตรของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้และนำมาจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
3. ประเมินผลหลักสูตร
กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและค่านิยม 12 ประการ
ขั้นเตรียม
 -ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษา
ขั้นดำเนินการ
 - ดำเนินการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
ขั้นสรุป  1. หัวหน้างานวิชาการ นิเทศติดตามการจัดทำหลักสูตร ของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้
2. รวบรวมหลักสูตรของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้และนำมาจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
3. ประเมินผลหลักสูตร
กิจกรรมที่ 4 : กิจกรรมการจัดทำหลักสูตรอาเซียน
ขั้นเตรียม
 -ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษา
ขั้นดำเนินการ
 - ดำเนินการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
ขั้นสรุป  1. หัวหน้างานวิชาการ นิเทศติดตามการจัดทำหลักสูตร ของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้
2. รวบรวมหลักสูตรของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้และนำมาจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
3. ประเมินผลหลักสูตร
กิจกรรมที่ 5 : กิจกรรมพัฒนาหลักสูตรในแนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ขั้นเตรียม
 ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษา
ขั้นดำเนินการ
 - ดำเนินการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
ขั้นสรุป  1. หัวหน้างานวิชาการ นิเทศติดตามการจัดทำหลักสูตร ของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้
2. รวบรวมหลักสูตรของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้และนำมาจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
3. ประเมินผลหลักสูตร

1/11/2559 ถึง
30/4/2560

 

 

1/11/2559 ถึง
30/4/2560

 

 

1/11/2559 ถึง
30/4/2560

 

 

1/11/2559 ถึง
30/4/2560

 

 

1/11/2559 ถึง
30/4/2560

 

 

รองวิชาการและคณะ





รองวิชาการและคณะ





องวิชาการและคณะ





รองวิชาการและคณะ





รองวิชาการและคณะ





งานส่งเสริมและพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา

วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้โรงเรียนมีการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอยู่ในระดับดีเยี่ยม
12, เชิงปริมาณ
 1)คณะครูและบุคลากรร้อยละ 95 มีส่วนร่วมในการประชุมเชิงปฏิบัติการการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2559 1 ครั้ง
2)คณะครูและบุคลากรร้อยละ 95 มีส่วนร่วมในการติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาจากหน่วยงานต้นสังกัดประจำปีการศึกษา 2559 1 ครั้ง
3)โรงเรียนมีรายงานการประเมินตนเองปีการศึกษา 2559 จำนวน 180 เล่ม
เชิงคุณภาพ
 1)โรงเรียนมีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาอยู่ในระดับดีเยี่ยม
2)โรงเรียนมีการติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาอยู่ในระดับดีเยี่ยม
3)โรงเรียนนำผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใช้วางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนืองอยู่ในระดับดีเยี่ยม
4)โรงเรียนจัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายในอยู่ในระดับดีเยี่ยม
5)ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่าย มีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 อยู่ในระดับดีเยี่ยม
วิธีการ
 สอบถาม
สังเกต
เครื่องมือ
 สอบถาม
สังเกต

เงิน
อุดหนุนฯ
24,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมประชุมปฏิบัติการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
ขั้นเตรียม
 ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน
ขั้นดำเนินการ
 ประชุมปฏิบัติการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
ขั้นสรุป  สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน
กิจกรรมที่ 2 : จัดทำรายงานการประเมินตนเอง ประจำปีการศึกษา 2559
ขั้นเตรียม
 ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน
ขั้นดำเนินการ
 จัดทำรายงานการประเมินตนเอง ประจำปีการศึกษา 2559
ขั้นสรุป  สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน
กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมวางแผนการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน
ขั้นเตรียม
 ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน
ขั้นดำเนินการ
 วางแผนการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน
ขั้นสรุป  สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน
กิจกรรมที่ 4 : กิจกรรมเตรียมรับการประเมินจากต้นสังกัด
ขั้นเตรียม
 ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน
ขั้นดำเนินการ
 เตรียมรับการประเมินจากต้นสังกัดและบุคคลภายนอก
ขั้นสรุป  สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน

6/10/2559 ถึง
6/10/2560

 

 

6/10/2559 ถึง
6/10/2560

 

 

6/10/2559 ถึง
6/10/2560

 

 

6/10/2559 ถึง
6/10/2560

 

 

ครูสรินยา พรหมมา





ครูสรินยา พรหมมา





ครูสรินยา พรหมมา





ครูสรินยา พรหมมา





พัฒนาคุณภาพโรงเรียนมาตรฐานสากล

วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาโรงเรียนมาตรฐานสากล
2. เพื่อส่งเสริมทักษะในการสื่อสารและนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าของนักเรียน
3, เชิงปริมาณ
 1.นักเรียนที่เรียนวิชา IS ทุกคนได้การส่งเสริมทักษะในการสื่อสารและนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
2.นักเรียนร้อยละ 85 มีทักษะในการสื่อสารและนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าได้ดีขึ้น
เชิงคุณภาพ
 1. นักเรียนที่เรียนวิชา IS ทุกคนได้การส่งเสริมให้มีทักษะในการสื่อสารและนำเสนอผลการศึกษา ค้นคว้าและสามารถนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าได้ดีขึ้น
วิธีการ
 ทักษะในการสื่อสารและนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
เครื่องมือ
 ประเมินผลการดำเนินงาน

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมการจัดเวทีนำเสนอ
ขั้นเตรียม
 - ประชุมคณะทำงาน
- จัดทำแผนปฏิบัติงาน
ขั้นดำเนินการ
 -จัดกิจกรรมตามแผนปฏิบัติงานที่กำหนด
-นิเทศติดตามการปฏิบัติงานในทุกกิจกรรมตามแผนปฏิบัติงานที่กำหนด
ขั้นสรุป  ประเมินผลการปฏิบัติงานโดยใช้แบบสอบถามและแบบประเมิน
- รายงานผลการปฏิบัติงานและนำข้อมูลมาปรับปรุงพัฒนางานต่อไป

6/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

นายธวัชชัย วิเศษสิงห์





โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน O-NET

วัตถุประสงค์
1. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน O-NET ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ของนักเรียนให้มีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น
2. เพื่อสนองมาตรฐานการศึกษาด้านผู้เรียนในเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
4, เชิงปริมาณ
 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ทุกคนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน O-NET สูงขึ้น

เชิงคุณภาพ
 1. นักเรียนมีความรู้ ทักษะและเจตคติที่ดีในการเรียนรู้ทุกกลุ่มสารระการเรียนรู้
วิธีการ
 1. การวัดผลประเมินผลจากทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
2. การวัดผลประเมินจาก สทศ.

เครื่องมือ
 1. การวัดผลประเมินผลจากทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : การวิเคราะห์ผลการทดสอบ O-NET ปีการศึกษา 2558
ขั้นเตรียม
 1. เสนอโครงการ
ขั้นดำเนินการ
 2. แต่งตั้งคณะทำงาน
3. ประชุมชี้แจง วิเคราะห์ผลการสอบ O-NET ปีการศึกษา 2558
4. ครูที่รับผิดชอบแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ นำผลการสอบไปพิจารณา หาแนวทางการปรับปรุงผลการสอบให้ดีขึ้น
5. จัดทำแบบทดสอบตามแนวแบบทดสอบ O-NET
6. นำแบบทดสอบที่จัดทำไปทดสอบกับนักเรียนชั้น ม.3 และ ม.6
7. ตรวจแบบทดสอบ และวิเคราะห์ผลสอบ

ขั้นสรุป  8. สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ
กิจกรรมที่ 2 : ติวสอบ O-NET
ขั้นเตรียม
 1. เสนอโครงการ

ขั้นดำเนินการ
 2. ติดต่อวิทยากร นัดหมาย
3. นัดหมายนักเรียน
4. ติว O-NET ตามกำหนดการนัดหมาย

ขั้นสรุป  5. สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ

1/10/2559 ถึง
31/3/2560

 

 

1/10/2559 ถึง
31/3/2560

 

 

นายเชลงศักดิ์ ศักดิ์สิทธิวงศ์





นายเชลงศักดิ์ ศักดิ์สิทธิวงศ์





พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย ตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถทางเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้

วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้เป็นไปตามเกณฑ์
2.เพื่อให้ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตรเป็นไปตามเกณฑ์
3.เพื่อให้ผลการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนเป็นไปตามเกณฑ์
4.เพื่อให้ผลการทดสอบระดับชาติเป็นไปตามเกณฑ์
5.เพื่อให้ครูมีการวัดและประเมินผลที่มุ่งเน้นการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย
5, เชิงปริมาณ
 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ร้อยละ 70 ได้ระดับพอใช้
2. ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตรเป็นไปตามเกณฑ์ร้อยละ 87 ได้ระดับดีขึ้นไป
3. ผลการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนเป็นไปตามเกณฑ์ร้อยละ 90 ได้ระดับดีขึ้นไป
4. ผลการทดสอบระดับชาติเป็นไปตามเกณฑ์ร้อยละ 55 ได้ระดับดีขึ้นไป
5. ครูมีการวัดและประเมินผลที่มุ่งเน้นการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลายร้อยละ 70 ได้ ระดับพอใช้
6. รายงานผลการประเมินโครงการ จำนวน 3 เล่ม

เชิงคุณภาพ
 1. มีเครื่องมือวัดและประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนครบทุกรายวิชา
2. ผู้เกี่ยวข้องมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 อยู่ในระดับดีมาก
วิธีการ
 การตรวจสอบรายการ
เครื่องมือ
 การตรวจสอบรายการ

เงิน
อุดหนุนฯ
27,300.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : จัดซื้อเอกสารการวัดผลประเมินผล
ขั้นเตรียม
 1. เสนอโครงการ

ขั้นดำเนินการ
 2. จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์จัดทำเอกสารในการวัดและประเมินผลการเรียน
3. มอบให้ครูที่ต้องการใช้เบิกไปใช้

ขั้นสรุป  4. สรุปรายงานผลการประเมินโครงการ
กิจกรรมที่ 2 : จัดซื้อแฟ้มการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน (ปพ.5)
ขั้นเตรียม
 เสนอโครงการ
ขั้นดำเนินการ
 จัดซื้อแฟ้มการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน (ปพ.5)
ขั้นสรุป  สรุปผลการดำเนินโครงการ
กิจกรรมที่ 3 : จัดซื้อสมุดรายงานผลการเรียนนักเรียน
ขั้นเตรียม
 เสนอโครงการ
ขั้นดำเนินการ
 จัดซื้อสมุดรายงานผลการเรียนนักเรียน
ขั้นสรุป  สรุปผลการดำเนินโครงการ

1/10/2559 ถึง
31/3/2560

 

 

1/10/2559 ถึง
31/3/2560

 

 

1/10/2559 ถึง
31/3/2560

 

 

นายเชลงศักดิ์ ศักดิ์สิทธิวงศ์





นายเชลงศักดิ์ ศักดิ์สิทธิวงศ์





นายเชลงศักดิ์ ศักดิ์สิทธิวงศ์





ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ให้สูงขึ้น
2.เพื่อให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3 และ มัธยมศึกษาปีที่ 6มีผลการทดสอบระดับชาติ (O-net) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานระดับชาติ
เชิงปริมาณ
 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ร้อยละ 65 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ผ่านเกณฑ์ในระดับดี
2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ร้อยละ 50 มีผลการทดสอบระดับชาติ (O-net) เป็นไปตามเกณฑ์

เชิงคุณภาพ
 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา วิทยาศาสตร์สูงขึ้น
2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีผลการทดสอบระดับชาติ (O-net) วิชาวิทยาศาสตร์ผ่านเกณฑ์ระดับประเทศ
วิธีการ
 - การสังเกต

เครื่องมือ
 - ตรวจแบบทดสอบ
- การสังเกต
- ผลสัมฤทธิ์การทดสอบระดับชาติ(O-NET)

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมติวเพิ่มศักยภาพนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ขั้นเตรียม
 1.ประชุมกลุ่มสาระฯ แจ้งนโยบาย ร่วมกันแลกเปลี่ยน เรียนรู้ เสนอแนะ วิธีการติว และวิธีการสร้างสื่อ นวัตกรรม หลักเกณฑ์การฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์
2.ครูในกลุ่มสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร์วางแผนและจัดทำเอกสารประกอบการติวผลิตสื่อ

ขั้นดำเนินการ
 1.เปิดโครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ศักยภาพครูผู้รับผิดชอบดำเนินการพัฒนาตามแผน
2.ดำเนินการติวพัฒนาศักยภาพนักเรียน

ขั้นสรุป  นำผลการประเมิน การติวเพิ่มศักยภาพด้วยแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนักเรียนชั้มมัธยมศึกษาปีที่ 3 และมัธยมศึกษาปีที่ 6 และผลการทดสอบระดับชาติ (O-net) นักเรียนชั้มมัธยมศึกษาปีที่ 3 และมัธยมศึกษาปีที่ 6 มาปรับปรุงกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมประเมินแบบเพิ่มค่า
ขั้นเตรียม
 1.1ประชุมกลุ่มสาระฯ แจ้งนโยบาย ร่วมกันแลกเปลี่ยน เรียนรู้ เสนอแนะ วิธีการติว และวิธีการสร้างสื่อ นวัตกรรม หลักเกณฑ์การฝึกทักษะทาง วิทยาศาสตร์
2.ครูในกลุ่มสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร์วางแผนและจัดทำเอกสารประกอบการประเมิน
3.หัวหน้ากลุ่มสาระฯ เสนอโครงการ

ขั้นดำเนินการ
 ครูผู้สอนดำเนินการประเมิน แบบเพิ่มค่า
ขั้นสรุป  นำกิจกรรมที่ปรับปรุงแล้วใช้เป็นต้นแบบของโครงการต่อไป

5/10/2559 ถึง
5/10/2560

 

 

5/10/2559 ถึง
5/10/2560

 

 

ครูเกรียงไกร จันหอม





ครูเกรียงไกร จันหอม





การพัฒนาผู้เรียนให้มีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง

วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อพัฒนาผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตัวเอง จากป้ายนิเทศ แหล่งเรียนรู้ และสื่อต่างๆ รอบตัว
2.2 เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม
2.3 เพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้และทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
2.4 เพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน
3, เชิงปริมาณ
 1.ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตัวเอง จากป้ายนิเทศ แหล่งเรียนรู้ และสื่อต่างๆ รอบตัว ร้อยละ 93
2.ผู้เรียน มีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม ร้อยละ 94
3.ผู้เรียนเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน ร้อยละ 93
4.ผู้เรียนเรียนรู้ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน ร้อยละ 93

เชิงคุณภาพ
 1.ผู้เรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตัวเอง จากป้ายนิเทศ แหล่งเรียนรู้ และสื่อต่างๆ รอบตัวได้ ทั้งในและนอกสถานศึกษา มีวิธีการเรียนรู้ของตนเอง เรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นได้ สนใจที่จะเรียนรู้อยู่สม่ำเสมอ
วิธีการ
 การตรวจแบบสอบถาม แบบบันทึกกิจกรรม รายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายงานผลการดำเนินงาน
เครื่องมือ
 การตรวจแบบสอบถาม แบบบันทึกกิจกรรม รายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายงานผลการดำเนินงาน

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมการจัดป้ายนิเทศ
ขั้นเตรียม
 1.ศึกษานโยบายของโรงเรียนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับโครงการฯ
2.ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯในปีที่ผ่านมา
3.ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการฯ
4.ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการฯและมอบหมายภาระงาน
5.จัดทำโครงการฯนำเสนอต่อฝ่าย บริหาร
ขั้นดำเนินการ
 2.1 กิจกรรมการจัดป้ายนิเทศ
- สำรวจข้อมูล แหล่งสืบค้น
- จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
- ตรวจรับ ครูนำไปใช้ในการจัดป้ายนิเทศทุกสัปดาห์
2.2 กิจกรรมการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน
- สำรวจข้อมูล แหล่งสืบค้น
- จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
- ตรวจรับ นำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน
- มอบหมายภาระงานให้นักเรียน
- จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
- ตรวจรับ นำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน
- มอบหมายภาระงานให้นักเรียน
2.3 กิจกรรมหนังสือใกล้มือ
- จัดหาชั้นวางหนังสือวางตามบริเวณหน้าอาคารวิทยาศาสตร์
- จัดซื้อหนังสือ สมัครเป็นสมาชิกหนังสือประเภทต่าง ๆ นำหนังสือ ประเภทวารสาร บทความ การ์ตูนทางวิทยาศาสตร์ วางที่ชั้นให้นักเรียนได้หยิบอ่าน
2.4 ค่ายศึกษาแหล่งเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย(ดาราศาสตร์และธรณี)
- สำรวจสถานที่ ติดต่อสถานที่ ติดต่อ วิทยากร
- ประชาสัมพันธ์ผู้เรียน รับสมัคร
- จัดทำเอกสาร แบบบันทึกกิจกรรมจัดค่ายศึกษาแหล่งเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6

ขั้นสรุป  1.สรุปประเมินโครงการฯ
2.จัดทำรายงานโครงการฯนำเสนอฝ่ายบริหาร

6/10/2559 ถึง
6/10/2560

 

 

นายเกรียงไกร จันหอม





พัฒนาโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ครูได้ปรับปรุงพัฒนากระบวนการทำงานของตนให้ถูกต้องและเป็นผลดี
2. เพื่อให้ครูได้ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการปฏิบัติงาน
3. เพื่อให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทุกชั้นเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนด
4. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนแสดงออกความสามารถทางวิทยาศาสตร์ต่างๆ ที่นักเรียนสนใจ
5. เพื่อเตรียมความพร้อมนักเรียนในการเข้าร่วมการแข่งขันในกิจกรรมวิทยาศาสตร์ในระดับต่างๆ
ุ6. เพื่อให้นักเรียนได้มีการทำงาน แก้ปัญหาต่างๆ ในการทำงาน
9,10, เชิงปริมาณ
 1. คณะกรรมการสถานศึกษากำกับติดตาม ดูแล และขับเคลื่อนการดำเนินงานจัดกิจกรรมของสถานศึกษาให้บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย ร้อยละ 90 ของจำนวนครั้งที่จัดกิจกรรม
2. ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษาร้อยละ 90 ของจำนวนครั้งที่จัดกิจกรรม
3. หลักสูตรสถานศึกษาเหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่น
4. ผู้เรียนร้อยละ 93 พึงพอใจในการจัดรายวิชาเพิ่มเติมที่หลากหลายให้ผู้เรียนเลือกเรียนตามความถนัด ความสามารถและความสนใจทุกชั้นปี
5. สนับสนุนให้ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ร้อยละ 100 จัดกระบวนการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง
ุ6. มีการนิเทศภายใน กำกับ ติดตามตรวจสอบ ของครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยได้รับนิเทศการจัดการเรียนการสอนไม่ต่ำกว่าร้อยละ90 และนำผลไปปรับปรุงการเรียนการสอนอย่างสม่ำเสมอ

เชิงคุณภาพ
 1. คณะกรรมการสถานศึกษากำกับติดตาม ดูแล และขับเคลื่อนการดำเนินงานจัดกิจกรรมของสถานศึกษาให้บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย ในระดับดีเยี่ยม
2. ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษาในระดับดีเยี่ยม
3. หลักสูตรสถานศึกษาเหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่นในระดับดีเยี่ยม
4. ผู้เรียนมีความพึงพอใจในการจัดรายวิชาเพิ่มเติมที่หลากหลายให้ผู้เรียนเลือกเรียนตามความถนัด ความสามารถและความสนใจทุกชั้นปีในระดับดีเยี่ยม
5. สนับสนุนให้ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ทุกคนจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรู้ได้ด้วยตนเองในระดับดีเยี่ยม
6. มีการนิเทศภายใน กำกับ ติดตามตรวจสอบ ของครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยได้รับนิเทศการจัดการเรียนการสอน และนำผลไปปรับปรุงการเรียนการสอนอย่างสม่ำเสมอในระดับดีเยี่ยม
วิธีการ
 1. การตรวจแบบประเมินความพึงพอใจ
2. การตรวจแบบแบบบันทึกกิจกรรม
3. การตรวจแบบประเมินผลการนิเทศ
เครื่องมือ
 1. การตรวจแบบประเมินความพึงพอใจ
2. การตรวจแบบแบบบันทึกกิจกรรม
3. การตรวจแบบประเมินผลการนิเทศ

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมพัฒนาหลักสูตรมาตรฐานสากลกลุ่มสาระการเรียนรู้
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อชี้แจงความสำคัญและความจำเป็นในการจัดทำกิจกรรม
2. สำรวจสภาพปัญหาของการใช้หลักสูตรของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์จากครูผ็สอน
3. ศึกษาโครงสร้างหลักสูตรมาตรฐานสากล

ขั้นดำเนินการ
 ปรับโครงสร้างตามความจำเป็นและบริบทของหลักสูตรโรงเรียน
ขั้นสรุป  1. รายงานผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
2. แก้ไข คำอธิบายรายวิชา
กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมนิเทศภายใน
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมคณะกรรมการนิเทศภายในโรงเรียน เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการ จัดทำโครงการและกำหนดกิจกรรมการนิเทศ และกำหนดแผนการนิเทศ
ขั้นดำเนินการ
 1. ดำเนินการนิเทศภายในตามปฏิทินการนิเทศภายใน
ขั้นสรุป  1. ประเมินผลการนิเทศ
2. สรุปผลการดำเนินการนิเทศภายในโรงเรียน
กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมส่งเสริมความรู้ ความสามารถ และทักษะของนักเรียนเพื่อการแข่งขัน
ขั้นเตรียม
 1. จัดเตรียมเอกสาร สื่อวัสดุ 2. จัดตั้งกรรมการฝึกสอนนักเรียน
ขั้นดำเนินการ
 1. ดำเนินการฝึกซ้อมนักเรียน 2. ส่งนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมทั้งภาครัฐและเอกชน ระดับโรงเรียน ระดับจังหวัด ระดับภาคและระดับประเทศ
ขั้นสรุป  ผลการแข่งขัน

5/10/2559 ถึง
5/10/2560

 

 

5/10/2559 ถึง
5/10/2560

 

 

5/10/2559 ถึง
5/10/2560

 

 

นายเกรียงไกร จันหอม





นายเกรียงไกร จันหอม





นายเกรียงไกร จันหอม





นิเทศภายในสถานศึกษา

วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาโรงเรียนให้มีการนิเทศ ติดตาม โดยใช้วิธีการที่หลากหลาย มีแผนการนิเทศ ติดตามกำกับอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง
2. เพื่อนำผลการนิเทศมาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน
10, เชิงปริมาณ
 1. ครูทุกคนไดรับการนิเทศร้อยละ 100
2. ครูร้อยละ 85 พัฒนาการสอนได้ดีขึ้น
เชิงคุณภาพ
 1. โรงเรียนมีการนิเทศ ติดตาม โดยใช้วิธีการที่หลากหลาย มีแผนการนิเทศ ติดตามกำกับอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง นำผลการนิเทศมาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน
วิธีการ
 ตรวจแบบบันทึกการนิเทศ / แบบสอบถาม
เครื่องมือ
 ตรวจแบบประเมิน

เงิน
อุดหนุนฯ
4,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : นิเทศแบบกัลยาณมิตร
ขั้นเตรียม
 - ประชุมคณะทำงาน
- จัดทำแผนปฏิบัติงาน
ขั้นดำเนินการ
 - นิเทศติดตามการปฏิบัติงานในทุกกิจกรรมตามแผนปฏิบัติงานที่กำหนด
ขั้นสรุป  - ประเมินผลการปฏิบัติงานโดยใช้แบบสอบถามและแบบประเมิน
- รายงานผลการปฏิบัติงานและนำข้อมูลมาปรับปรุงพัฒนางานต่อไป

6/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

นางนิชนันท์ จันหอม





จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

วัตถุประสงค์
6.1 เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
6.2 เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบคิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล
6.3 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะพื้นฐานที่จำเป็นตามหลักสูตร
6.4เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต
6.5ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
1,2,3,4,5,6, เชิงปริมาณ
 1.ผู้เรียนร้อยละ 94มีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้และสื่อต่างๆ รอบตัว
2.ผู้เรียนร้อยละ 95ทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม
3.ผู้เรียนร้อยละ 94เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
4.ผู้เรียนร้อยละ 94ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน
5.ผู้เรียนร้อยละ 91สรุปความคิดจากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู และสื่อสารโดยการพูดหรือเขียนตามความคิดของตนเอง
6.ผู้เรียนร้อยละ 92นำเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหาด้วยภาษาหรือวิธีการของตนเอง
7.ผู้เรียนร้อยละ 93กำหนดเป้าหมายคาดการณ์ ตัดสินใจแก้ปัญหาโดยมีเหตุผลประกอบ
8.ผู้เรียนร้อยละ 93มีความคิดริเริ่ม และสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิ
9.ผู้เรียนร้อยละ 70 มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยแต่ละกลุ่มสาระเป็นไปตามเกณฑ์
10.ผู้เรียนร้อยละ 86มีผลการประเมินสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตรเป็นไปตามเกณฑ์
11.ผู้เรียนร้อยละ 89มีผลการคิดวิเคราะห์ และเขียนเป็นไปตามเกณฑ์
12.ผู้เรียนร้อยละ 50 มีผลการทดสอบระดับชาติเป็นไปตามเกณฑ์
13.ผู้เรียนร้อยละ 92 สามารถวางแผนการทำงานและดำเนินการจนสำเร็จ
14. ผู้เรียนร้อยละ 92มีการทำงานอย่างมีความสุข มุ่งมั่นพัฒนางาน และภูมิใจในผลงานของตนเอง
15.ผู้เรียนร้อยละ91ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
16.ผู้เรียนร้อยละ 97มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริตและหาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองสนใจ
17.ครูร้อยละ 100มีการกำหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ สมรรถนะ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์
18.ครูร้อยละ 97มีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล และใช้ข้อมูลในการวางแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน
19.ครูร้อยละ94ออกแบบและการจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญา
20. ครูร้อยละ 93ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมผนวกกับการนำบริบทและภูมิปัญญาของท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้
21.ครูร้อยละ 100มีการวัดและประเมินผลที่มุ่งเน้นการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ด้วยวิธีการที่หลากหลาย
22. ครูร้อยละ 100ให้คำแนะนำ คำปรึกษา และแก้ไขปัญหาให้แก่ผู้เรียนทั้งด้านการเรียนและคุณภาพชีวิตด้วยความเสมอภาค
23.ครูร้อยละ 97มีการศึกษา วิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในวิชาที่ตนรับผิดชอบและใช้ผลในการปรับการสอน
24. ครูร้อยละ 96ประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี และเป็นสมาชิกที่ดีของสถานศึกษา
25. ครูร้อยละ 95จัดการเรียนการสอนตามวิชาที่ได้รับมอบหมายเต็มเวลา เต็มความสามารถ

เชิงคุณภาพ
 1.ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องในระดับดีเยี่ยม
2.ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบคิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล ในระดับ ดีเยี่ยม
3. ผู้เรียนมีความรู้และทักษะพื้นฐานที่จำเป็นตามหลักสูตรในระดับดีมาก
4. ผู้เรียนมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริตในระดับดีเยี่ยม
5. ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลในระดับดีเยี่ยม
วิธีการ
 - การสังเกต -การสัมภาษณ์ แบบทดสอบ - ผลสัมฤทธิ์การทดสอบระดับชาติ(O-NET ) - ตรวจแผนการจัดการเรียนรู้
เครื่องมือ
 - การสังเกต -การสัมภาษณ์ - ตรวจผลงาน/ชิ้นงานผู้เรียน - ตรวจรายงานการปฏิบัติงานของครู - นิเทศภายใน

เงิน
อุดหนุนฯ
104,500.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามหลักสูตรมาตรฐานสากล
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2.สำรวจตรวจสอบวัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี ทุกห้องปฏิบัติการ

ขั้นดำเนินการ
 1.หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายนิเทศติดตามการจัดการเรียนการสอนของครู การใช้สื่อวัสดุ อุปกรณ์ สารเคมี ในการจัดการเรียนการสอน ตรวจแผนการจัดการเรียนรู้
2.ตรวจสอบทะเบียนการใช้สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ สารเคมี
3.หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ตรวจสอบ รายงานการจัดการเรียนการสอน รายงานการใช้สื่อ แผนการจัดการเรียนรู้ ของครูกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์

ขั้นสรุป  1. ครูบันทึกพฤติกรรมการเรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะ สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์หลังแผนการจัดการเรียนรู้
2. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์รายงานผลการจัดการเรียนการสอน ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ผลการพัฒนา
3. ผลคะแนนทดสอบระดับชาติ ( O-NET )

กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ และสารเคมี
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2.สำรวจตรวจสอบวัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี ทุกห้องปฏิบัติการ

ขั้นดำเนินการ
 1. หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายนิเทศติดตามการจัดการเรียนการสอนของครู การใช้สื่อวัสดุ อุปกรณ์ สารเคมี ในการจัดการเรียนการสอน ตรวจแผนการจัดการเรียนรู้
2. ตรวจสอบทะเบียนการใช้สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ สารเคมี
3. หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ตรวจสอบ รายงานการจัดการเรียนการสอน รายงานการใช้สื่อ แผนการจัดการเรียนรู้ ของครูกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์

ขั้นสรุป  1. ครูบันทึกพฤติกรรมการเรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะ สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์หลังแผนการจัดการเรียนรู้
2. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายงานผลการจัดการเรียนการสอน ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ผลการพัฒนา
3. ผลคะแนนทดสอบระดับชาติ ( O-NET )

กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมผลิตสื่อการสอนของครู
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2.สำรวจตรวจสอบวัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี ทุกห้องปฏิบัติการ

ขั้นดำเนินการ
 1.หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายนิเทศติดตามการจัดการเรียนการสอนของครู การใช้สื่อวัสดุ อุปกรณ์ สารเคมี ในการจัดการเรียนการสอน ตรวจแผนการจัดการเรียนรู้
2. ตรวจสอบทะเบียนการใช้สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ สารเคมี
3. หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ตรวจสอบ รายงานการจัดการเรียนการสอน รายงานการใช้สื่อ แผนการจัดการเรียนรู้ ของครูกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์

ขั้นสรุป  1. ครูบันทึกพฤติกรรมการเรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะ สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์หลังแผนการจัดการเรียนรู้
2. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายงานผลการจัดการเรียนการสอน ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ผลการพัฒนา
3. ผลคะแนนทดสอบระดับชาติ ( O-NET )

6/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

6/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

6/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

นายเกรียงไกร จันหอม





นายเกรียงไกร จันหอม





นายเกรียงไกร จันหอม





พัฒนาผู้เรียนคิดเป็นทำเป็น

วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถด้านการคิด รู้จักการนำเสนอวิธีคิด วิธีการแก้ปัญหา ด้วยภาษาหรือวิธีการของตนเอง
2. เพื่อให้ผู้เรียนได้กำหนดเป้าหมาย คาดการณ์ ตัดสินใจแก้ปัญหาโดยมีเหตุผลประกอบ มีความคิดริเริ่ม และสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ
4, เชิงปริมาณ
 1. ผู้เรียนร้อยละ 91 นำเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหาด้วยภาษาหรือวิธีการของตนเอง จากการนำเสนอผลงานในงานสัปดาห์วิชาการ หรือสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
2. ผู้เรียนร้อยละ 92 กำหนดเป้าหมาย คาดการณ์ ตัดสินใจแก้ปัญหาโดยมีเหตุผลประกอบ
3. ผู้เรียนร้อยละ 92 มีความคิดริเริ่ม และสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ

เชิงคุณภาพ
 1. ผู้เรียนสามารถ นำเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหาด้วยภาษาหรือวิธีการของตนเอง จากการนำเสนอผลงานในสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติได้ในระดับดีเยี่ยม
2. ผู้เรียนสามารถ กำหนดเป้าหมาย คาดการณ์ ตัดสินใจแก้ปัญหาโดยมีเหตุผลประกอบได้ในระดับดีเยี่ยม
3. ผู้เรียนมีความคิดริเริ่ม และสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจได้ในระดับดีเยี่ยม
วิธีการ
 1. การตรวจบันทึกสรุปการเข้าร่วมกิจกรรมของนักเรียน
2. การตรวจแบบรายงานผลการจัดกิจกรรม

เครื่องมือ
 1. การตรวจบันทึกสรุปการเข้าร่วมกิจกรรมของนักเรียน
2. การตรวจแบบรายงานผลการจัดกิจกรรม

เงิน
อุดหนุนฯ
15,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : นิทรรศการสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แจ้งโครงการที่ต้องทำในปีงบประมาณ 2560
2. ปรึกษา เลือกกิจกรรมที่สอดคล้อง
3. วางแผนและแต่งตั้งคณะทำงานในโครงการที่รับผิดชอบ

ขั้นดำเนินการ
 1. นิทรรศการสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
- ประชุมวางแผนงานและชี้แจงครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
- จัดเตรียมเอกสาร สื่อวัสดุ และอุปกรณ์
- ดำเนินการปฏิบัติตามกิจกรรม
2. ผู้รับผิดชอบนิเทศติดตามการดำเนินงาน
3. อำนวยความสะดวก อำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้อง

ขั้นสรุป  1. ประเมินกิจกรรมสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
2. รายงานผลของกิจกรรมสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ

5/10/2559 ถึง
5/10/2560

 

 

ครูเกรียงไกร จันหอม





พัฒนาคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในการเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร 3. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีความเอื้ออาทรผู้อื่นและกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ 4. เพื่อให้นักเรียนยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่าง 5. เพื่อให้นักเรียนตระหนัก รู้คุณค่า ร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
2, เชิงปริมาณ
 1 นักเรียนระดับชั้น ม.4 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมร้อยละ 95 ได้รับการอบรมคุณธรรม "ค่ายพุทธบุตร” 2 นักเรียนระดับชั้น ม.4 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมร้อยละ 92 มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร 3 นักเรียนในระดับ ม.4 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ร้อยละ 94 มีความเอื้ออาทรผู้อื่นและกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ 4 นักเรียนระดับชั้น ม.4 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมร้อยละ 92 ขึ้นไป เห็นคุณค่าในตนเอง มีวินัย ปฏิบัติตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ มีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เชิงคุณภาพ
 1 นักเรียนระดับชั้น ม.4 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 นำความรู้จากการอบรมคุณธรรม "ค่ายพุทธบุตร ไปใช้ในการพัฒนาตนเองได้ 2 นักเรียนระดับชั้น ม.4 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 92 มีความพึงพอใจในการเข้าอบรมคุณธรรม “ ค่ายพุทธบุตร” อยู่ในระดับดี
วิธีการ
 สังเกตจากการประเมิน
เครื่องมือ
 สังเกตจากการประเมิน

เงิน
อุดหนุนฯ
77,440.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : ค่ายพุทธบุตร ม.4
ขั้นเตรียม
 1.1 ประชุมปรึกษาหารือ 1.2 สำรวจสถานที่
ขั้นดำเนินการ
 2.1 ติดต่อสถานที่ พระวิทยากร 2.2 ขออนุญาตดำเนินการตามโครงการ 2.3 แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ 2.4 จัดทำหนังสือขออนุญาตผู้ปกครองนักเรียน 2.5 เตรียมเอกสารอุปกรณ์ 2.6 จัดกิจกรรมเข้าค่าย
ขั้นสรุป  3.1 รายงานผลการเข้าค่ายพุทธบุตร 3.2 รายงานสรุปการประเมินการจัดกิจกรรม

15/5/2560 ถึง
30/8/2560

 

 

นางศิริกุล มูลทองทิพย์





พัฒนาคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในการเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร
3. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีความเอื้ออาทรผู้อื่นและกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ
4. เพื่อให้นักเรียนยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่าง
5. เพื่อให้นักเรียนตระหนัก รู้คุณค่า ร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
2, เชิงปริมาณ
 1. นักเรียนระดับชั้น ม.1 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 นำความรู้จากการอบรมคุณธรรม "ค่ายพุทธบุตร" ไปใช้ในการพัฒนาตนเองได้
2. นักเรียนระดับชั้น ม.1 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 92 มีความพึงพอใจในการเข้าอบรมคุณธรรม “ค่ายพุทธบุตร” อยู่ในระดับดี

เชิงคุณภาพ
 1. นักเรียนระดับชั้น ม.1 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 นำความรู้จากการอบรมคุณธรรม "ค่ายพุทธบุตร" ไปใช้ในการพัฒนาตนเองได้
2. นักเรียนระดับชั้น ม.4 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 92 มีความพึงพอใจในการเข้าอบรมคุณธรรม “ค่ายพุทธบุตร” อยู่ในระดับดี
วิธีการ
 สังเกตจากการประเมิน
เครื่องมือ
 สังเกตจากการประเมิน

เงิน
อุดหนุนฯ
78,540.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : ค่ายพุทธบุตร ม.1
ขั้นเตรียม
 - ประชุมปรึกษาหารือ
- สำรวจสถานที่
ขั้นดำเนินการ
 - ติดต่อสถานที่ พระวิทยากร
- ขออนุญาตดำเนินการตามโครงการ
- แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ
- จัดทำหนังสือขออนุญาตผู้ปกครองนักเรียน
- เตรียมเอกสารอุปกรณ์
- จัดกิจกรรมเข้าค่าย
ขั้นสรุป  - รายงานผลการเข้าค่ายพุทธบุตร
- รายงานสรุปการประเมินการจัดกิจกรรม

11/10/2559 ถึง
11/10/2560

 

 

ครูนางนาคน้อย บุตรประเสริฐ





การจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ

วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมให้ครูมีวัสดุอุปกรณ์ เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการจัดการเรียนการสอน 2. เพื่อให้กลุ่มสาระสังคมศึกษาฯ มีตารางเรียนที่เหมาะสมกับจำนวนและความสามารถของบุคลากร
7, เชิงปริมาณ
 1. ครูร้อยละ 95 สามารถปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล 2. นักเรียนร้อยละ 70 ได้ระดับผลการเรียน 3-4
เชิงคุณภาพ
 1.ครูมีวัสดุอุปกรณ์ สื่อเทคโนโลยีที่เพียงพอและพร้อมใช้งาน
วิธีการ
 สอบถาม สถิติข้อมูลผลการเรียน
เครื่องมือ
 สอบถาม

เงิน
อุดหนุนฯ
6,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์เพื่อใช้จัดการเรียนการสอน
ขั้นเตรียม
 ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผน
ขั้นดำเนินการ
 - สำรวจความต้องการใช้สื่อ วัสดุ-อุปกรณ์ - ประสานงานพัสดุเพื่อจัดซื้อ - ทำบัญชีวัสดุ และเบิกจ่าย
ขั้นสรุป  รายงานผลการดำเนินงาน
กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมจัดตารางสอนกลุ่มสาระฯสังคม
ขั้นเตรียม
 ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผน
ขั้นดำเนินการ
  - สำรวจความถนัดของครู - คำนวณคาบสอนเพื่อหาค่าเฉลี่ย - จัดตารางสอนของกลุ่มสาระตามข้อมูลที่ได้มา
ขั้นสรุป  -รายงานผลดำเนินโครงการ
กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมนิเทศการสอน
ขั้นเตรียม
  -ศึกษาข้อมูลเพื่อเขียนกิจกรรม
ขั้นดำเนินการ
  - ประชุมครูกลุ่มสาระฯ เพื่อวางแผนการนิเทศการสอน - นิเทศการสอนเพื่อการพัฒนา
ขั้นสรุป  -สรุปรายงานผล
กิจกรรมที่ 4 : กิจกรรมประเมินผลโครงการ/กิจกรรมกลุ่มสาระฯ
ขั้นเตรียม
 รวบรวมกิจกรรมโครงการของกลุ่มสาระฯ
ขั้นดำเนินการ
  - รวบรวมติดตามการประเมินผลแต่ละกิจกรรม - ประเมินผลโครงการของกลุ่มสาระ และรายงายผู้บริหาร - ให้ข้อมูลฝ่ายแผนงานในการติดตามโครงการ
ขั้นสรุป  -สรุปรายงานผลการดำเนินโครงการ

6/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

6/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

6/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

6/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

นางสาววราพร น้อยเกตุ





นางสาวขวัญจิตร ยิ่งยวด





นางสาวขวัญจิตร ยิ่งยวด





นางสาวขวัญจิตร ยิ่งยวด





พัฒนาผู้เรียนคิดเป็นทำเป็น

วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเข้าร่วมแข่งขันทักษะวิชาการของกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ
4, เชิงปริมาณ
 1. ผู้เรียนร้อยละ 92 มีความคิดริเริ่ม และสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ 2. ผู้เรียนร้อยละ 91 ที่สามารถสรุปความคิดจากเรื่องที่อ่าน ฟัง ดู
เชิงคุณภาพ
 1. ผู้เรียนได้รับรางวัลในการเข้าร่วมการแข่งขันทักษะวิชาการของกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ
วิธีการ
 รายงานผลการแข่งขัน
เครื่องมือ
 รายงานผลการแข่งขัน

เงิน
อุดหนุนฯ
6,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมแข่งขันตอบปัญหากฎหมาย
ขั้นเตรียม
 ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผน
ขั้นดำเนินการ
  - แจ้งรายการการแข่งขันและกำหนดการแข่งขัน - ฝึกซ้อม - เข้าร่วมการแข่งขัน
ขั้นสรุป  -รายงานผลการแข่งขัน -รายงานผลการดำเนินงาน
กิจกรรมที่ 2 : ประกวดมารยาทไทย
ขั้นเตรียม
 ประชุมวางแผนเขียนกิจกรรมเพื่อของบประมาณ
ขั้นดำเนินการ
 - ประชุมกลุ่มสาระฯเพื่อมอบหมายหน้าที่ - ออกคำสั่ง/ออกหนังสือราชการ - ประสานงานกับฝ่ายต่างๆที่เกี่ยวข้อง - ดำเนินกิจกรรมประกวดมารยาท
ขั้นสรุป  สรุปรายงานประเมินผลการดำเนินงาน

6/10/2560 ถึง
30/9/2561

 

 

6/10/2560 ถึง
30/9/2561

 

 

นางสาวสุกานดา สุทธิวิวัฒน์





นางนาคน้อย บุตรประเสริฐ





พัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
2, เชิงปริมาณ
 1. ผู้เรียนร้อยละ 92 ที่ยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่าง
เชิงคุณภาพ
 1. ผู้เรียนที่ร่วมจัดกิจกรรมพิเศษเพื่อสนองจุดเน้นตามแนวทางปฏิรูปการศึกษาด้วยความเต็มใจ
วิธีการ
 สำรวจความคิดเห็น
เครื่องมือ
 สำรวจความคิดเห็น

เงิน
อุดหนุนฯ
5,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมนิทรรศการอาเซียน
ขั้นเตรียม
 ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผน การปฏิบัติงาน
ขั้นดำเนินการ
 - ประสานงานกับฝ่ายที่เกี่ยวข้อง - ตรวจสอบความพร้อมของศูนย์การเรียนรู้อาเซียน - ปรับปรุงข้อมูลและจัดแสดงข้อมูลเกี่ยวกับอาเซียน ณ ห้องศูนย์การเรียนรู้อาเซียน กลุ่มสาระสังคมศึกษาฯ - จัดการแข่งขันตอบปัญหาอาเซียน และแข่งขันนอกสถานที่
ขั้นสรุป  -รายงานผลการแข่งขัน -รายงานผลการดำเนิน

1/8/2560 ถึง
30/9/2560

 

 

นางศิริกุล มูลทองทิพย์





ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้เพิ่มขึ้น
5, เชิงปริมาณ
 ผู้เรียนมีคะแนนเฉลี่ยสูงขึ้นจากการทดสอบระดับชาติ
เชิงคุณภาพ
 ผู้เรียนมีผลการทดสอบระดับชาติโดยมีคะแนนเฉลี่ยในระดับพอใช้
วิธีการ
 ผลการทดสอบระดับชาติ
เครื่องมือ
 ผลการทดสอบระดับชาติ

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมสอนเสริมและติวข้อสอบ
ขั้นเตรียม
 ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง
ขั้นดำเนินการ
  -ประชุมครูผู้สอน ม.3 และ ม.6 เพื่อมอบหมายรายวิชาที่ต้องให้ครูสอนเสริมและติวข้อสอบ -ครูสอนเสริมและติวข้อสอบในชั่วโมงเรียน และทบทวนเป็นเวลา 2 สัปดาห์ ก่อนสอบ -เชิญวิทยากรมาบรรยายสรุป สอนเสริม ก่อนสอบ
ขั้นสรุป  รายงานผลการดำเนินงาน

15/1/2560 ถึง
15/2/2560

 

 

นางสาวขวัญจิตร ยิ่งยวด





พัฒนาห้องศูนย์การเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา

วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาห้องศูนย์การเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ 2. เพื่อให้นักเรียนได้มีแหล่งเรียนรู้ในการศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มมากขึ้น
11, เชิงปริมาณ
 1. มีห้องศูนย์การเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ 1 ห้องเรียน
เชิงคุณภาพ
 1. มีแหล่งเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ที่พร้อมให้บริการนักเรียน
วิธีการ
 สอบถาม
เครื่องมือ
 สอบถาม

เงิน
อุดหนุนฯ
4,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมพัฒนาห้องศูนย์การเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์
ขั้นเตรียม
 ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผน การปฏิบัติงาน
ขั้นดำเนินการ
 - สำรวจความต้องการใช้สื่อ วัสดุ-อุปกรณ์ - ประสานงานพัสดุเพื่อจัดซื้อ - ติดตั้งสื่อ จัดตบแต่งห้องศูนย์การเรียนรู้
ขั้นสรุป  รายงานผลการดำเนินงาน

6/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

นางสาวอลิสา ป่วนเดช และนางสาววราพร น้อยเกต





วิถีธรรมวิถีไทย

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้เรียนมีจิตสำนึกรักษ์ความเป็นไทยเห็นความสำคัญของสถาบัน มีความกตัญญู
2.2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีนิสัยประหยัดอดออม
2.3 เพื่อส่งเสริมให้ครู ผู้เรียนและบุคลากร งดเว้นการประพฤติมิชอบ
2.4 เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักวางแผนการทำงาน ทำงานเป็นทีม มีทักษะชีวิตโดยเน้นหลักของเศรษฐกิจพอเพียง
2.5 เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ใฝ่รู้ใฝ่เรียน
2.6 เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร
2.7 เพื่อให้ผู้เรียนเอื้ออาทรผู้อื่นและกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ
2,6, เชิงปริมาณ
 3.1 ด้านปริมาณ
-ผู้เรียนร้อยละ 93 มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร
เชิงคุณภาพ
 ผู้เรียน ครู และบุคลากรประพฤติตนเป็นคนดีตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับดีเยี่ยม
วิธีการ
 สอบถามความคิดเห็น
เครื่องมือ
 สอบถามความคิดเห็น

เงิน
อุดหนุนฯ
23,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมธรรมศึกษา
ขั้นเตรียม
 -ประสานงานกับ ธสร.
-ประกาศรับสมัคร นร.เข้าสอบธรรมศึกษา
-จัดทำบัญชีรายชื่อ
ขั้นดำเนินการ
  -ออกคำสั่งคณะกรรมการดำเนินงาน
-จัดสอนธรรมศึกษา
-จัดสอบธรรมศึกษา
ขั้นสรุป  ประเมินผลการจัดกิจกรรม
รายงานผลการดำเนินงาน
กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมวันสำคัญของชาติและศาสนากิจกรรมวันสำคัญของชาติและศาสนา
ขั้นเตรียม
 -ประสานงานกับครูสังคมระดับชั้นต่างๆ เพื่อมอบหมายงาน
ขั้นดำเนินการ
 -จัดนิทรรศการวันสำคัญต่างๆ ตามลำดับ
ขั้นสรุป  รายงานผลการดำเนินงาน
กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมส่งเสริมการออม
ขั้นเตรียม
 -ประชุมครูกลุ่มสาระฯ มอบหมายงาน
ขั้นดำเนินการ
 -ครูกลุ่มสาระฯ ส่งเสริมให้นักเรียนฝากเงินกับธนาคารโรงเรียนอย่างสม่ำเสมอ
ขั้นสรุป  -รายงานผลการดำเนินงาน
กิจกรรมที่ 4 : กิจกรรมโครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
ขั้นเตรียม
 -ครูผู้สอน ม. 5 ประชุมชั้นเรียนเพื่อมอบหมายงาน
ขั้นดำเนินการ
 -จัดแสดงโครงงานเศรษฐกิจพอเพียงของนักเรียน ในงานสัปดาห์วิชาการ
ขั้นสรุป  รายงานผลการดำเนินงาน

1/10/2559 ถึง
30/10/2560

 

 

1/10/2559 ถึง
30/10/2560

 

 

1/10/2559 ถึง
30/10/2560

 

 

1/10/2559 ถึง
30/10/2560

 

 

นางจันทนา ศรีบูจันดี และคณะ





ครูขวัญจิตร ยิ่งยวด และคณะ





ครูขวัญจิตร ยิ่งยวด และคณะ





ครูปัทวรรณ เชื้อชายและคณะ





โครงการโรงเรียนเศรษฐกิจพอเพียง

วัตถุประสงค์
1. ผู้เรียน มีความสามารถในการแสวงหาความรู้ ใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ในการหาคำตอบและสร้างองค์ความรู้ใหม่ สามารถเชื่อมโยง สู่การดำรงชีวิตได้อย่างพอเพียงและยั่งยืน 2. ผู้เรียนรู้จักวิธีการทำงานและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 3. ครูโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม มีแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ไม่น้อยกว่าร้อยละ90 4. โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติจริงและเป็นแหล่งเรียนรู้ให้ชุมชน
2,3,4,5,6,7,8,10,13, เชิงปริมาณ
 1 ผู้เรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ร้อยละ 90 มีความสามารถในการแสวงหาความรู้ ใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ในการหาคำตอบและสร้างองค์ความรู้ใหม่ สามารถเชื่อมโยงสู่การดำรงชีวิตได้อย่างพอเพียง และยั่งยืน 2 ผู้เรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ร้อยละ 90 รู้จักวิธีการทำงานและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น เข้าร่วมกิจกรรมทุกกิจกรรมอย่างมีความสุข 3 ครูเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ร้อยละ 90 มีแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ 4 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ร้อยละ 90 มีแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติจริงและเป็นแหล่งเรียนรู้ให้ชุมชน
เชิงคุณภาพ
 2 เชิงคุณภาพผู้เรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ร้อยละ 90 เป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรู้ตามมาตรฐาน การเรียนรู้ สามารถเชื่อมโยงสู่การดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุขอย่างพอเพียงและยั่งยืน
วิธีการ
 -สังเกตพฤติกรรม -สถิติการส่งแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ -แบบรายงานโครงการของโรงเรียน -สถิติการใช้แหล่งเรียนรู้ เช่น ห้องสมุด ฯลฯ -สถิติการออมทรัพย์ของบุคลากรในโรงเรียน ของธนาคารโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม -แบบประเมินความพึงพอใจ
เครื่องมือ
 -สังเกตพฤติกรรม -สถิติการส่งแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ -แบบรายงานโครงการของโรงเรียน -สถิติการใช้แหล่งเรียนรู้ เช่น ห้องสมุด ฯลฯ -สถิติการออมทรัพย์ของบุคลากรในโรงเรียน ของธนาคารโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม -แบบประเมินความพึงพอใจ

เงิน
อุดหนุนฯ
20,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : โรงเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ขั้นเตรียม
 - เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ - แต่งตั้งคณะกรรมการ - ประสานงานหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง
ขั้นดำเนินการ
 -สังเกตพฤติกรรม รวบรวมและเก็บสถิติ ในงานต่างๆ ดังนี้ -สถิติการส่งแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ -แบบรายงานโครงการของโรงเรียน -สถิติการใช้แหล่งเรียนรู้ เช่น ห้องสมุด ฯลฯ -สถิติการออมทรัพย์ของบุคลากรในโรงเรียน ของธนาคารโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม -แบบประเมินความพึงพอใจ
ขั้นสรุป  -ประเมินผล -สรุปผลการดำเนินงาน

26/12/2559 ถึง
30/10/2560

 

 

นางกันหา อินจีน





จัดซื้ออุปกรณ์การเรียนการสอน และปรับปรุงสนามกีฬากลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา

วัตถุประสงค์
1.เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ในกลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษาเฉลี่ยตามเกณฑ์ 2.เพื่อจัดหาอุปกรณ์การเรียนการสอนให้เพียงพอต่อการจัดการเรียนรู้
11, เชิงปริมาณ
 1. -นักเรียนของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมทุกคน
เชิงคุณภาพ
 - นักเรียนของโรงเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ในกลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษาเฉลี่ยตามเกณฑ์ -นักเรียนมีอุปกรณ์เพียงพอต่อการเรียนรู้
วิธีการ
 แบบประเมิน
เครื่องมือ
 แบบประเมิน

เงิน
อุดหนุนฯ
70,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : จัดซื้ออุปกรณ์การเรียนการสอน กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา
ขั้นเตรียม
 - เสนอโครงการต่อผู้บริหารสถานศึกษาเพื่อขออนุมัติ
ขั้นดำเนินการ
 จัดซื้อหาอุปกรณ์ร่วมกับเจ้าหน้าที่การเงินและพัสดุ
ขั้นสรุป   รายงานการดำเนินการตามโครงการให้ฝ่ายบริหารทราบ
กิจกรรมที่ 2 : ซ่อม บำรุง ปรับปรุง อุปกรณ์ สนามกีฬา กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา
ขั้นเตรียม
 ประชุมวางแผนคณะครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
ขั้นดำเนินการ
 จัดซ่อมอุปกรณ์ร่วมกับเจ้าหน้าที่การเงินและพัสดุ
ขั้นสรุป   รายงานการดำเนินการตามโครงการให้ฝ่ายบริหารทราบ

1/11/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

1/11/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

นายอุทัย อินทจักร์





นายอุทัย อินทจักร์





ส่งเสริมและพัฒนาสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยนักเรียนด้านกีฬา

วัตถุประสงค์
1.เพื่อสร้างเสริมนักเรียนได้แสดงออกด้านกีฬา ในทางที่ถูกต้องbr 2.เพื่อส่งเสริมนักเรียนที่มีความเป็นเลิศด้านกีฬา ในระดับที่สูงขึ้นbr 3.เพื่อสร้างเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีให้กับนักเรียนbr 4.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมตามความถนัดและความสนใจตามจุดประสงค์ด้านวิชาการตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานbr 5.เตรียมสร้างนักกีฬาเป็นตัวแทนของโรงเรียนเข้าร่วมการแข่งขันในระดับต่างๆbr
เชิงปริมาณ
 นักเรียนของโรงเรียน 100 คนเข้าร่วมกิจกรรมในการสร้างเสริมความเป็นเลิศโรงเรียนได้ตัวแทนนักกีฬา
เชิงคุณภาพ
 1.นักเรียนของโรงเรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีขึ้น 2.นักเรียนมีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม 3.ส่งเสริมกิจกรรมด้านวิชาการ
วิธีการ
 แบบประเมิน
เครื่องมือ
 แบบประเมิน

เงิน
อุดหนุนฯ
105,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : การแข่งขันกีฬาระหว่างห้อง
ขั้นเตรียม
 - เสนอโครงการต่อผู้บริหารสถานศึกษา - รับสมัครนักกีฬา เข้าร่วมกิจกรรม - เตรียมวัสดุ/อุปกรณ์ในส่วนที่เกี่ยวข้อง
ขั้นดำเนินการ
 - จัดสถานที่/กิจกรรม/การประสานงานในลักษณะต่างๆกับบุคคลที่เกี่ยวข้องกับโครงการ/กิจกรรม - ประมวลผลของกิจกรรมต่างๆเพื่อนำไปสรุป - นำนักเรียนที่สมัครเข้าร่วมโครงการ
ขั้นสรุป  - รายงานการดำเนินการตามโครงการให้ฝ่ายบริหารทราบ
กิจกรรมที่ 2 : นำนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาภายนอก
ขั้นเตรียม
 เสนอโครงการต่อผู้บริหารสถานศึกษาเพื่อขออนุมัติ
ขั้นดำเนินการ
 เตรียมนักกีฬาต่างๆเพื่อเข้าร่วมกิจกรรม
ขั้นสรุป   รายงานการดำเนินการตามโครงการให้ฝ่ายบริหารทราบ
กิจกรรมที่ 3 : จัดกิจกรรมกีฬาภายใน ประจำปีการศึกษา 2560
ขั้นเตรียม
 - เสนอโครงการต่อผู้บริหารสถานศึกษาเพื่อขออนุมัติ
ขั้นดำเนินการ
 เตรียมงานและกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้อง
ขั้นสรุป  รายงานการดำเนินการตามโครงการให้ฝ่ายบริหารทราบ

1/11/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

1/11/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

1/11/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

นายอุทัย อินทจักร์





นายอุทัย อินทจักร์





นางสาวปวีณา ปูชะพันธ์





พัฒนาศักยภาพทางการกีฬา (ฝึกซ้อมกีฬา)

วัตถุประสงค์
1.เพื่อสร้างเสริมนักเรียนได้แสดงออกด้านกีฬา ในทางที่ถูกต้องbr 2.เพื่อส่งเสริมนักเรียนที่มีความเป็นเลิศด้านกีฬา ในระดับที่สูงขึ้นbr 3.เพื่อสร้างเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีให้กับนักเรียนbr 4.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมตามความถนัดและความสนใจตามจุดประสงค์ด้านวิชาการตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานbr 5.เตรียมสร้างนักกีฬาเป็นตัวแทนของโรงเรียนเข้าร่วมการแข่งขันในระดับต่างๆbr
1, เชิงปริมาณ
 นักเรียนของโรงเรียน 100 คนเข้าร่วมกิจกรรมในการสร้างเสริมความเป็นเลิศทางด้านกีฬาเฉพาะด้าน
เชิงคุณภาพ
 1.นักเรียนของโรงเรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีขึ้นbr 2.นักเรียนมีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมbr 3.ส่งเสริมกิจกรรมด้านวิชาการbr
วิธีการ
 แบบประเมิน
เครื่องมือ
 แบบประเมิน

เงิน
อุดหนุนฯ
10,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : ฝึกซ้อมกีฬาในแต่ละชนิดกีฬา
ขั้นเตรียม
 1. เสนอโครงการต่อผู้บริหารสถานศึกษา 2.รับสมัครนักกีฬารุ่นใหม่ปีการศึกษา 2560 เข้าร่วมกิจกรรม
ขั้นดำเนินการ
 1.จัดสถานที่/กิจกรรม/การประสานงานในลักษณะต่างๆกับบุคคลที่เกี่ยวข้องกับโครงการ/กิจกรรม 2.ประมวลผลของกิจกรรมต่างๆเพื่อนำไปสรุป 3.นำนักเรียนที่สมัครเข้าร่วมโครงการฝึกสอน/ซ้อมในปีการศึกษา 2560
ขั้นสรุป  รายงานการดำเนินการตามโครงการให้ฝ่ายบริหารทราบ

1/11/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

คณะครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา





การจัดกระบวนการเรียนรู้วิชาศิลปะ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมุ่งสู่ศตวรรษที่ 21

วัตถุประสงค์
1. ข้อความ....
2. ข้อความ....
1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ 2. เพื่อส่งเสริมให้ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 3. เพื่อส่งเสริมให้สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร และกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 4. เพื่อส่งเสริมให้สถานศึกษามีการจัดกิจกรรม ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลาย 5. เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 6. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถปฏิบัติตนได้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
5, เชิงปริมาณ
 1. ข้อความ.......
2. ข้อความ.......
3.1.1 ร้อยละ 95 ของผู้เรียนสร้างผลงานจากการเข้าร่วมกิจกรรม ด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ ตาม จินตนาการ 3.1.2 ร้อยละ 95 ของครูจัดการเรียนการสอนตามวิชาที่ได้รับมอบหมายเต็มเวลา เต็มความสามารถ 3.1.3 ร้อยละ 95 ครูมีการศึกษา วิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในวิชาที่ตนรับผิดชอบและใช้ผลในการปรับการสอน
เชิงคุณภาพ
 1. ข้อความ.......
2. ข้อความ.......
3.2.1 ผู้เรียนชื่นชม ร่วมกิจกรรม และมีผลงานด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ อยู่ในระดับดีเยี่ยม 3.2.2 ครูมีความรู้ ความเข้าใจ เป้าหมายการจัดการศึกษาและหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน อยู่ใน ระดับดีเยี่ยม 3.2.3 ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญอยู่ในระดับดีเยี่ยม
วิธีการ
 - แบบประเมินผลการดำเนินงาน - บันทึกการประชุม
เครื่องมือ
 แบบประเมินผลการดำเนินงาน แบบประเมินความพึงพอใจ

เงิน
อุดหนุนฯ
63,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : จัดทำจัดหาสื่อการเรียนการสอนทัศนศิลป์ และดนตรีไทย
ขั้นเตรียม
 ประชุมชี้แจงในกลุ่มสาระการเรียนรู้
ขั้นดำเนินการ
 ดำเนินการจัดซื้อตามระเบียบพัสดุ
ขั้นสรุป  ตรวจรับพัสดุ และรายงานผลการดำเนินงาน
กิจกรรมที่ 2 : . กิจกรรม นิเทศภายในกลุ่มสาระ ( ไม่ใช้งบประมาณ)
ขั้นเตรียม
 ประชุมชี้แจงในกลุ่มสาระ
ขั้นดำเนินการ
 1.ตั้งกรรมการประเมินภายในกลุ่มสาระ
2.ดำเนินการนิเทศ
ขั้นสรุป  สรุปรายงานผลการนิเทศ
กิจกรรมที่ 3 : จัดหาสื่อการเรียนการสอนดนตรีสากลและซ่อมบำรุง
ขั้นเตรียม
 ประชุมชี้แจง
ขั้นดำเนินการ
 1.สอบราคา
2.ดำเนินการจัดซื้อจัดซ่อมตามระเบียบพัสดุ
ขั้นสรุป  รายงานผลการดำเนินการ
กิจกรรมที่ 4 : เพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสาระศิลปะ
ขั้นเตรียม
 ประชุุมชี้แจงในกลุ่มสาระฯ
ขั้นดำเนินการ
 แบ่งเนื้อหาตามตัวชี้วัด/ออกแบบข้อทดสอบ/วัดผลประเมินผล
ขั้นสรุป  สรุปและรายงานผล

1/11/2559 ถึง
1/3/2560

 

 

1/11/2559 ถึง
1/3/2560

 

 

1/11/2559 ถึง
1/3/2560

 

 

1/11/2559 ถึง
1/3/2560

 

 

นายพีรพงศ์ ปลาสกุล และครูธนนันท์ กลั่นบุศย์





นายพีรพงศ์ ปลาสกุล และคณะครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ





ครูไพฑูรย์ มีอินทร์





ครูพีรพงศ์ ปลาสกุล และคณะครูกลุ่มสาระศิลปะ





นาฏศิลป์สร้างสรรค์ชุดอารยธรรมไททรงดำ

วัตถุประสงค์
1. เตรียมความพร้อมในการแสดง 2. ความมีวินัยในการฝึกซ้อมการแสดง
1,6, เชิงปริมาณ
 นักเรียนนาฏศิลป์ 10 คน
เชิงคุณภาพ
 1. นักเรียนมีวินัยในการฝึกซ้อม 2. นักเรียนสามารถปฏิบัติท่ารำอารยธรรมไทยทรงดำได้ถูกต้อง
วิธีการ
 
เครื่องมือ
 สังเกตจากการปฏิบัติ

เงิน
อุดหนุนฯ
20,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : จัดซื้อชุดการแสดงนาฏศิลป์สร้างสรรค์ ชุดอารยธรรมไททรงดำ
ขั้นเตรียม
 ประชุมวางแผนการสร้างสรรค์การแสดง ชุดอารยธรรมไททรงดำ
ขั้นดำเนินการ
 จัดซื้อชุดในการแสดง ชุดอารยธรรมไททรงดำ 10 ชุด
ขั้นสรุป  เพื่อใช้ประโยชน์ในการแสดงให้เกิดความสบูรณ์และความสวยงามของชุดการแสดง
กิจกรรมที่ 2 : การฝึกซ้อมการแสดงนาฏศิลป์
ขั้นเตรียม
 ประชุมวางแผนการสร้างสรรค์การแสดง ชุดอารยธรรมไททรงดำ และเตรียมฝึกซ้อม
ขั้นดำเนินการ
 ฝึกซ้อมและเพิ่มทักษะในการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์การแสดง ชุดอารยธรรมไททรงดำ
ขั้นสรุป  เพื่อเพิ่มทักษะในการแสดงให้เกิดความพร้อมเพรียงมากขึ้น

6/10/2559 ถึง
6/10/2560

 

 

6/10/2559 ถึง
6/10/2560

 

 

นางกฤษณา อารีย์ชน นางสาววิไลลักษณ์ ชิดปลัด





นางกฤษณา อารีย์ชน นางสาววิไลลักษณ์ ชิดปลัด





พิเศษส่งเสริมบทบาทของโรงเรียน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนและสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างโรงเรียนกับชุมชน 2. เพื่อให้ผู้ที่เข้ารับการอบรมได้รับความรู้และนำไปเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพได้
13, เชิงปริมาณ
 ผู้เข้ารับการอบรมจำนวน 30 คน
เชิงคุณภาพ
  ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้และสามารถนำไปเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพ และอยู่ในระดับดีเยี่ยม
วิธีการ
 สอบถาม
เครื่องมือ
 สอบถาม

เงิน
อุดหนุนฯ
5,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : ส่งเสริมอาชีพสู่ชุมชน
ขั้นเตรียม
 ประชุมคณะกรรมการ วางแผน ชี้แจง เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ
ขั้นดำเนินการ
 -ประชาสัมพันธ์ รับสมัครผู้ที่สนใจเข้ารับการอบรม
ขั้นสรุป  - ประเมินผลและรายงานผล การปฏิบัติงาน

1/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

นางสาวไพเราะ กาฬภักดี





พัฒนาคุณภาพการเศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน

วัตถุประสงค์
เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน
13, เชิงปริมาณ
 ร้อยละ 90เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน
เชิงคุณภาพ
 เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน
วิธีการ
 สอบถาม
เครื่องมือ
 สอบถาม

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : งานอาชีพสู่ประชาคมอาเซียน
ขั้นเตรียม
 ประชุมคณะกรรมการ วางแผน ชี้แจง เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ
ขั้นดำเนินการ
 -จัดบอร์ดความรู้เกี่ยวกับอาเซียน - ศึกษาค้นคว้า
ขั้นสรุป  - ประเมินผลและรายงานผลการปฏิบัติงาน

1/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

นางสาวไพเราะ กาฬภักดี





ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยแต่ละกลุ่มสาระเป็นไปตามเกณฑ์ 2. เพื่อพัฒนาผลการประเมินสมรรถนะตามหลักสูตรเป็นไปตามเกณฑ์ 3. เพื่อพัฒนาผลการประเมินอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียนเป็นไปตามเกณฑ์ 4. เพื่อพัฒนา ผลการทดสอบระดับชาติเป็นไปตามเกณฑ์ 2. ข้อความ....
5, เชิงปริมาณ
  ร้อยละ 80 ของนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยเป็นไปตามเกณฑ์ 2. ข้อความ.......

เชิงคุณภาพ
  นักเรียนกลุ่มสาระการงานอาชีพฯ คหกรรม มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อยู่ในระดับดี 1. ผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น.......
2. ข้อความ.......
วิธีการ
 สอบถาม
เครื่องมือ
 สอบถาม

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : เพิ่มคะแนนการงานอาชีพ
ขั้นเตรียม
 ประชุมคณะกรรมการ วางแผน ชี้แจง เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ
ขั้นดำเนินการ
 - สำรวจคะแนนของนักเรียนที่อยู่ ในระดับต่ำ -จัดกิจกรรมเพื่อเพิ่มคะแนนให้มากขึ้น
ขั้นสรุป  - ประเมินผลและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประเมินผล

1/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

นางสาวไพเราะ กาฬภักดี





คิดเป็นทำเป็น

วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการคิด วิเคราะห์ มีทักษะการทำงาน และแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม 2. เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความคิด วิเคราะห์ และสร้างสรรค์ผลงานได้
4, เชิงปริมาณ
  ร้อยละ 92 ของผู้เรียนมีทักษะการคิด วิเคราะห์ มีทักษะการทำงานและสร้างสรรค์ผลงานได้
เชิงคุณภาพ
  ผู้เรียนมีความคิดวิเคราะห์ ทักษะการทำงานและสร้างสรรค์ผลงาน อยู่ในระดับดีเยี่ยม
วิธีการ
 สอบถาม
เครื่องมือ
 สอบถาม

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : การเรียนรู้สู่โครงงาน
ขั้นเตรียม
 ประชุมคณะกรรมการ วางแผน ชี้แจง เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ
ขั้นดำเนินการ
 -กำหนดโครงงานให้นักเรียนศึกษาค้นคว้า -นักเรียนจัดทำโครงงานตามหัวข้อที่นักเรียนเลือกและนำเสนอโครงงาน
ขั้นสรุป  - ประเมินผลและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประเมินผล

1/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

นางสาวไพเราะ กาฬภักดี





พัฒนาผู้เรียนให้มีความใฝ่รู้และเรียนรู้

วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุดแหล่งเรียนรู้และสื่อต่างๆ รอบตัว 2.เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู เขียน พูด เขียนและตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม 3. เพื่อให้ผู้เรียน เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน 4. เพื่อให้ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน
3, เชิงปริมาณ
  ร้อยละ 95 ของผู้เรียนศึกษาผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
เชิงคุณภาพ
  ผู้เรียนศึกษาผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง อยู่ในระดับดีเยี่ยม
วิธีการ
 สอบถาม/สังเกต
เครื่องมือ
 สอบถาม/สังเกต

เงิน
อุดหนุนฯ
2,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมศึกษาแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ขั้นเตรียม
 ประชุมคณะกรรมการ วางแผน ชี้แจง เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ
ขั้นดำเนินการ
 - ติดต่อสถานที่และวิทยากร - ดำเนินการจัดกิจกรรม
ขั้นสรุป  - ประเมินผลและรายงานผลการปฏิบัติงาน

1/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

นางสาวไพเราะ กาฬภักดี





พัฒนาโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

วัตถุประสงค์
เพื่อส่งเสริมความรู้ความสามารถและทักษะด้านการงานอาชีพฯ
10, เชิงปริมาณ
 นักเรียนจำนวน 12 คน เข้าร่วมกิจกรรมแข่งขันทักษะทางวิชาการ
เชิงคุณภาพ
  นักเรียนร้อยละ 90 ได้รับรางวัลแข่งขันทักษะทางวิชาการในระดับเขตพื้นที่ ระดับภาค
วิธีการ
 สอบถาม
เครื่องมือ
 สอบถาม

เงิน
อุดหนุนฯ
10,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : พัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศทางการงานอาชีพ
ขั้นเตรียม
 ประชุมคณะกรรมการ วางแผน ชี้แจง เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ
ขั้นดำเนินการ
 -คัดเลือกนักเรียน -ฝึกซ้อม -ส่งนักเรียนแข่งขันทักษะ
ขั้นสรุป  - ประเมินผลและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประเมินผล

1/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

นางสาวไพเราะ กาฬภักดี





พัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถในการเรียนรู้ และทำงานร่วมกัน 2. เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน 3. เพื่อผลิตสื่อเทคโนโลยี นวัตกรรมและจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอน
3, เชิงปริมาณ
  ร้อยละ 95 ของนักเรียนที่สามารถเรียนรู้ร่วมกัน ใช้เทคโนโลยีนำเสนองานและมีวัสดุอุปกรณ์ในการเรียนรู้ที่เหมาะสม
เชิงคุณภาพ
  นักเรียนมีสื่อเทคโนโลยี นวัตกรรม และวัสดุอุปกรณ์ในการเรียนรู้ที่เหมาะสมอยู่ในระดับดีเยี่ยม
วิธีการ
 สอบถาม
เครื่องมือ
 สอบถาม

เงิน
อุดหนุนฯ
30,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : จัดซื้ออุปกรณ์การเรียนการสอน
ขั้นเตรียม
 ประชุมคณะกรรมการ วางแผน ชี้แจง และจัดทำรายการวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็น เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ
ขั้นดำเนินการ
 จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์จัดการเรียนการสอน
ขั้นสรุป  - ประเมินผลและรายงานผลการปฏิบัติงาน

1/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

นางสาวไพเราะ กาฬภักดี





จัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี(เกษตร)

วัตถุประสงค์
1 เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
2 เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล
3 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะพื้นฐานที่จำเป็นตามหลักสูตร
4 เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต
5 ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
เชิงปริมาณ
 3.1.1 ผู้เรียนร้อยละ 95 มีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้และสื่อต่างๆ รอบตัว 3.1.2 ผู้เรียนร้อยละ 92 สรุปความคิดจากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู และสื่อสารโดยการพูดหรือเขียนตามความคิดของตนเอง 3.1.3 ผู้เรียนร้อยละ 95 เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน 3.1.4 ผู้เรียนร้อยละ 92 มีการทำงานอย่างมีความสุข มุ่งมั่นพัฒนางาน และภูมิใจในผลงานของตนเอง 3.1.5 ผู้เรียนร้อยละ 92 ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ 3.1.6 ผู้เรียนร้อยละ 97 มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริตและหาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองสนใจ 3.1.7 นักเรียนอย่างน้อยร้อยละ 90 คน มีโอกาสได้ศึกษาดูงานทางด้านการปลูกไม้ดอกไม้ประดับ ไม้ผล การปลูกพืชผักชนิดต่างๆจากแหล่งเรียนรู้ภายในประเทศ
เชิงคุณภาพ
 3.2.1 ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องในระดับดีเยี่ยม 3.2.2 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล ในระดับ ดีเยี่ยม 3.2.3 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะพื้นฐานที่จำเป็นตามหลักสูตร ในระดับดีเยี่ยม 3.2.4 ผู้เรียนมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริตในระดับดีเยี่ยม 3.2.5 ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ในระดับดีเยี่ยม
วิธีการ
 การสังเกตุ
เครื่องมือ
 การสังเกตุ

เงิน
อุดหนุนฯ
83,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : แปรรูปผลิตผลเกษตร
ขั้นเตรียม
 1.ประชุมวางแผน 2. จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล 3. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ การเรียนการสอน
ขั้นดำเนินการ
 1.กิจกรรมจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ การเรียนการสอน
ขั้นสรุป  1.สรุปประเมินผล
กิจกรรมที่ 2 : การเลี้ยงสัตว์ทั่วไป
ขั้นเตรียม
 1.ประชุมวางแผน 2.จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล 3.จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
ขั้นดำเนินการ
 1.กิจกรรมจัดซื้ออุปกรณ์การเรียนการสอน
1.1 ขี้วัว 2,400 กระสอบ ( 48,000.-)
1.2 ถุงพลาสติก 9*12 ( 2,000.-)
1.3 ถุงปุ๋ยขนาด 50 กิโลกรัม (2,000.-

ขั้นสรุป  10สรุปประเมินผล
กิจกรรมที่ 3 : การขยายพันธุ์พืช
ขั้นเตรียม
 1.ประชุมวางแผน 2.จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล 3.จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
ขั้นดำเนินการ
 1.กิจกรรม จัดซื้ออุปกรณ์การเรียนการสอน
1.1 ขุยมะพร้าว 20 กระสอบ (12,000.-)
1.2 ถุงพลาสติก 3*5 ( 2,000.-)
1.3 หนังยางรัด 2 ถุง ( 80.-)
1.4 ถุง 9*18,12*24, จำนวน 4 แพ็ค (3,120)

ขั้นสรุป  สรุปประเมินผล
กิจกรรมที่ 4 : ไม้ดอกเพื่อการค้า
ขั้นเตรียม
 1.ประชุมวางแผน 2.จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล 3.จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
ขั้นดำเนินการ
 1.กิจกรรม จัดซื้ออุปกรณ์การเรียนการสอน
ขั้นสรุป  สรุปประเมินผล
กิจกรรมที่ 5 : การปลูกไม้ผล
ขั้นเตรียม
 1.ประชุมวางแผน 2.จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล 3.จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
ขั้นดำเนินการ
 1.กิจกรรม จัดซื้ออุปกรณ์การเรียนการสอน
1.1 เปลือกมะพร้าวสับ จำนวน 200 กระสอบ (6,000.-)
1.2 ใบจามจุรี จำนวน 200 กระสอบ ( 12,000.-)
1.3 หน้าดิน จำนวน 5 คันรถ (10,000.-)
1.4 ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ สูตร 8-24-24 จำนวน 2 กระสอบ (4,000.-)
1.5 เชื้อราไตรโคเดอร์มา จำนวน 24 กิโลกรัม (1,440.-) 1.7 ยาฆ่าแมลง จำนวน 10 ขวด (3,000.-) 1.8 ยากำจัดวัชพืช 12 แกลอน (5,700.-) 1.9 ค่าแรงฉีดยา ( ยาฆ่าแมลง 24 ครั้ง 10,200.-,ฆ่าย่า 10 ครั้ง 3,000.-)
ขั้นสรุป  1.สรุปประเมินผล
กิจกรรมที่ 6 : ไม้ดอกไม้ประดับ
ขั้นเตรียม
 1.ประชุมวางแผน 2.จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล 3.จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
ขั้นดำเนินการ
 1.กิจกรรม จัดซื้ออุปกรณ์การเรียนการสอน
1.1 กระถาง 4,6,8,16 นิ้ว (10,000.-)

ขั้นสรุป  1.สรุปประเมินผล
กิจกรรมที่ 7 : การปลูกผัก
ขั้นเตรียม
 1.ประชุมวางแผน 2.จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล 3.จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
ขั้นดำเนินการ
 1.กิจกรรม จัดซื้ออุปกรณ์การเรียนการสอน
1.1 เสาปูน (4,800.-)
1.2 แปบ 4 หุล (4,000.-)
1.3 ตาขายไนล่อน 1 ม้วน
1.4 ไวเมน ( ตาข่าย 10,000.- )
1.5 เมล็ดพันธุ์ (500.-)
ขั้นสรุป  สรุปประเมินผล
กิจกรรมที่ 8 : ทัศนะศึกษา
ขั้นเตรียม
 1.ประชุมวางแผน 2.จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล 3.จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
ขั้นดำเนินการ
 1.ปฎิบัติงานตามแผน
ขั้นสรุป  1.สรุปผลการดำเนินงาน

6/10/2559 ถึง
6/10/2560

 

 

6/10/2559 ถึง
6/10/2560

 

 

6/10/2559 ถึง
6/10/2560

 

 

6/10/2559 ถึง
6/10/2560

 

 

6/10/2559 ถึง
6/10/2560

 

 

6/10/2559 ถึง
6/10/2560

 

 

6/10/2559 ถึง
6/10/2560

 

 

6/10/2559 ถึง
6/10/2560

 

 

นายสุรเชษฎ์ ธนะรัตน์ และ คณะ





นายสุรเชษฎ์ ธนะรัตน์ และ คณะ





นายสุรเชษฎ์ ธนะรัตน์ และ คณะ





นายสุรเชษฎ์ ธนะรัตน์ และ คณะ





นายสุรเชษฎ์ ธนะรัตน์ และ คณะ





นายสุรเชษฎ์ ธนะรัตน์ และ คณะ





นายสุรเชษฎ์ ธนะรัตน์ และ คณะ





นายสุรเชษฎ์ ธนะรัตน์ และ คณะ





จัดการเรียนการสอนอุตสาหกรรม

วัตถุประสงค์
1.ผู้เรียนสามารถวางแผนการทำงานและดำเนินการจนสำเร็จ
2.ผู้เรียนสามารถทำงานอย่างมีความสุขมุ่งมั่นพัฒนางาน และ ภูมิใจในผลงานของตนเอง
3.ผู้เรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
4.ผู้เรียนมีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริต และ หาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองสนใจ
6, เชิงปริมาณ
 1.ผู้เรียนสามารถวางแผนการทำงานและดำเนินการจนสำเร็จได้ร้อยละ91
2.ผู้เรียนสามารถทำงานอย่างมีความสุขมุ่งมั่นพัฒนางาน และ ภูมิใจในผลงานของตนเองร้อยละ 91
3.ผู้เรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ร้อยละ 90
4.ผู้เรียนสามารถมีคามรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริต และ หาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองสนใจร้อยละ 96

เชิงคุณภาพ
 1.ผู้เรียนทำงานอย่างเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ
2.ผู้เรียนมีความรู้สึกพึงพอใจและชื่นชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
3.ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการวางแผนการทำงานกับหมู่คระครบทุกขั้นตอน
4.ผู้เรียนแสดงความรู้สึกที่ดีและสนับสนุนอาชีพสุจริตได้อย่างกวางขวางยึดมั่นในแนวทางการประกอบอาชีพสุจริต
วิธีการ
 1. ทดสอบ
2. สังเกตพฤติกรรม
3. ทำแบบฝึก
4.แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมค่ายพุทธบุตร รายงานผลการดำเนินการ

เครื่องมือ
 1. ทดสอบเจตคติ
2. ทดสอบทักษะ

เงิน
อุดหนุนฯ
20,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมพัฒนาการเรียนการสอนงานช่างอุตสาหกรรม
ขั้นเตรียม
 ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้องการปฏิบัติงาน
ขั้นดำเนินการ
 กิจกรรมปฏิบัติและพัฒนางาน
กิจกรรมการเรียนรู้งานช่างพื้นฐานสู่อาเซียน
ขั้นสรุป  ประเมินกิจกรรม รายงาน

1/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

นายอนุรักษ์ ปลื้มจิตร์





โครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ลูกเสือ-เนตรนารีและยุวกาชาด
2. เพื่อจัดพิธีวันสำคัญต่างๆของลูกเสือ-เนตรนารี
3. เพื่อให้ลูกเสือ-เนตรนารี/ยุวกาชาดมีกิจกรรมต่างๆเช่นการเข้าค่ายพักแรมและบำเพ็ญประโยชน์อื่นๆ ปีละ 1 ครั้ง
3,5, เชิงปริมาณ
 1. นักเรียนระดับชั้น ม.1-ม.3ร้อยละ 100 เข้าร่วมและเรียนลูกเสือ-เนตรนารี/ยุวกาชาด
2. ลูกเสือ-เนตรนารี/ยุวกาชาดทุกระดับเข้าค่ายพักแรมปีละ 1 ครั้ง
เชิงคุณภาพ
 นักเรียนที่เลือกเรียนลูกเสือ-เนตรนารี/ยุวกาชาดสามารถพัฒนาตนเองดีขึ้น
วิธีการ
 แบบประเมินผลการดำเนินการ
เครื่องมือ
 แบบประเมินผลการดำเนินการ

เงิน
อุดหนุนฯ
106,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมวันสำคัญของลูกเสือชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3
ขั้นเตรียม
 ประชุมและวางแผนผู้ที่เกี่ยวข้อง
ขั้นดำเนินการ
 จัดกิจกรรมตามวันสำคัญต่างๆ
ขั้นสรุป  รายงานผลการดำเนินการ
กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนวิชาลูกเสือ-เนตรนารี/ยุวกาชาด
ขั้นเตรียม
 ประชุมและวางแผน
ขั้นดำเนินการ
 จัดการเรียนการสอนกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี/ยุวกาชาด
ขั้นสรุป  รายงานผลการดำเนินการ
กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมการจัดการเข้าค่ายลูกเสือ-เนตรนารี/ยุวกาชาด
ขั้นเตรียม
 ประชุมและวางแผน
จัดเตรียมอุปกรณ์ที่จำเป็น
ขั้นดำเนินการ
 เข้าค่ายลูกเสือ-เนตรนารี/ยุวกาชาด
ขั้นสรุป  รายงานผลการดำเนินการ

11/10/2559 ถึง
11/10/2560

 

 

11/10/2559 ถึง
11/10/2560

 

 

11/10/2559 ถึง
11/10/2560

 

 

ครูอนุรักษ์ ปลื้มจิตต์





ครูอนุรักษ์ ปลื้มจิตต์





ครูอนุรักษ์ ปลื้มจิตต์





ทัศนศึกษาระดับชั้น ม.1 - ม.6

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้นักเรียนได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ
2. เพื่อให้นักเรียนแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้ และสื่อต่าง ๆ รอบตัว
3. เพื่อให้นักเรียนเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่มแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
1,2,3, เชิงปริมาณ
 นักเรียนร้อยละ 94 ได้รับความรู้เพิ่มเต็มตามศักยภาพ ได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลิน สามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้ และสื่อต่าง ๆ รอบตัว เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
เชิงคุณภาพ
 นักเรียนได้รับความรู้เพิ่มเต็มตามศักยภาพ ได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลิน สามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้ และสื่อต่าง ๆ รอบตัว เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
วิธีการ
 สังเกตจากกการประเมิน
เครื่องมือ
 สังเกตจากการประเมิน

เงิน
อุดหนุนฯ
206,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : ทัศนศึกษาระดับชั้น ม.1 - ม.6
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมปรึกษาหารือ
2. สำรวจสถานที่
ขั้นดำเนินการ
 1. ติดต่อสถานที่
2. ขออนุญาตดำเนินการตามโครงการ
3. แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ
4. จัดทำหนังสือขออนุญาตผู้ปกครองนักเรียน
5. เตรียมเอกสารอุปกรณ์
6. จัดกิจกรรมทัศนศึกษา
ขั้นสรุป  1. รายงานผลการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา 2. รายงานสรุปการประเมินการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา

11/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

ครูอนุรักษ์ ปลื้มจิตต์





พัฒนาระบบอินเตอร์เน็ต

วัตถุประสงค์
จัดทำระบบเครือข่ายเน็ตเวิร์คภายในองค์กรเพื่อรองรับการใช้งานอินเตอร์เน็ตได้อย่างพอเพียงและทั่วถึง
7, เชิงปริมาณ
 3.1.1 มีเครื่อง server บริการงานด้านอินเตอณ์เน็ต 3.1.2 มี Switch Hub ไว้เชื่อมต่อสัญญาณอินเตอร์เน็ต 3.1.3 มีเครื่องกระจายสัญญาณอินเตอร์เน็ตอย่างทั่วถึง 3.1.4 มีเครื่องสำรองไฟฟ้าตามอาคารหลัก 6 อาคารและ 1 สำนักงานเน็ตเอร์ค 3.1.5 มีอุปกรณ์สำนักงานไว้บริการงานด้าน ICT อย่างพอเพียง
เชิงคุณภาพ
 มีระบบเครือข่ายเน็ตเวิร์คภายในโรงเรียนเพื่อรองรับการใช้งานอินเตอร์เน็ตได้อย่างพอเพียงและทั่วถึง
วิธีการ
 - แบบประเมินผลการดำเนินงาน
เครื่องมือ
 - แบบประเมินผลการดำเนินงาน

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
300,000.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมพัฒนาระบบอินเทอร์เน็ต
ขั้นเตรียม
 สำรวจวัสดุอุปกรณ์ กำหนดปัญหาและความต้องการของผู้ใช้ จัดทำรายการที่จำเป็นต้องใช้ ประชุมคณะกรรมการ วางแผน การปฏิบัติงาน
ขั้นดำเนินการ
 จัดซื้อ จัดทำ
ขั้นสรุป  นำไปใช้ รายงานผลการดำเนินงาน

1/10/2559 ถึง
31/3/2560

 

 

ครูสุขสันต์ จตุปาริสุทธิศีล





พัฒนางานทะเบียนวัดผล

วัตถุประสงค์
1. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรวม และ 8 กลุ่มสาระเฉลี่ยให้สูงตามเกณฑ์
2. เพื่อให้มีผลทดสอบรวบยอดระดับชาติ ใน 8 กลุ่มสาระเฉลี่ยให้สูงตามเกณฑ์
3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
4. เพื่อให้มีการจัดระบบการบันทึก การรายงานผล และการส่งต่อข้อมูลของผู้เรียน
3,5,7, เชิงปริมาณ
 -นักเรียนร้อยละ 100 รู้ เข้าใจ สามารถหาข้อมูลความรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยีได้ติดต่อสื่อสารโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการทำงาน และสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ได้
-ครูผู้สอนทุกคนสามารถใช้โปรแกรมในการทำงานเพื่อจัดเก็บข้อมูล ประมวลผล และรายงานผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนได้
เชิงคุณภาพ
 -มีข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาที่สมบูรณ์แบบ
-มีการจัดกระทำข้อมูลสารสนเทศที่รวดเร็วและถูกต้อง
วิธีการ
 ประเมิน และสังเกตุ
เครื่องมือ
 ประเมิน และสังเกตุ

เงิน
อุดหนุนฯ
20,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : จัดซื้อวัสดุอุการณ์สำนักงาน
ขั้นเตรียม
 สำรวจวัสดุที่ต้องการ
ขั้นดำเนินการ
 จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
ขั้นสรุป  ประเมินการใช้งาน
กิจกรรมที่ 2 : เผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศ
ขั้นเตรียม
 สำรวจข้อมูลความต้องการ
ขั้นดำเนินการ
 เขียนโปรแกรมนำเสนอข้อมูล ออนไลน์ผ่านเว็บไซต์
ขั้นสรุป  ประเมินการใช้เว็บไซต์

6/10/2559 ถึง
6/10/2560

 

 

6/10/2559 ถึง
6/10/2560

 

 

นายวัฒนา ปลสตะเพียนและนายเชลงศักดิ์ ศักดิ์สิทธิวงศ์





นายวัฒนา ปลาตะเพียนทอง





พัฒนาโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

วัตถุประสงค์
1. เพื่อจัดให้ครูผลิตสื่อและใช้สื่อในกระบวนการจัดการเรียนรู้
2. เพื่อให้นักเรียนนำเสนอผลงานที่เกิดจากการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์
7, เชิงปริมาณ
 1. ครูตัวแทน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้เข้าร่วมกิจกรรมผลิตสื่อและใช้สื่อในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ร้อยละ 93
2. เพื่อจัดซื้อพัสดุครุภัณฑ์ในการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ ร้อยละ 100
3. เพื่อจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการซ่อมบำรุงเครื่องคอมพิวเตอร์ชุดเก่าและอุปกรณ์ต่อพ่วงเดิมที่ชำรุดให้บริการ ร้อยละ 100
4. เพื่อให้นักเรียนนำเสนอผลงานที่เกิดจากการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ ร้อยละ 94

เชิงคุณภาพ
 1. ครูตัวแทน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้เข้าร่วมกิจกรรมผลิตสื่อและใช้สื่อในกระบวนการจัดการเรียนรู้ สามารถคิดสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจอยู่ในระดับดี
2. โรงเรียนจัดซื้อพัสดุครุภัณฑ์ในการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์อย่างเพียงพอ
3. โรงเรียนจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการซ่อมบำรุงเครื่องคอมพิวเตอร์ชุดเก่าและอุปกรณ์ต่อพ่วงเดิมที่ชำรุดอย่างเพียงพอ
4. นักเรียนสามารถนำเสนอผลงานที่เกิดจากการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วิธีการ
 แบบประเมินผลการดำเนินงาน
เครื่องมือ
 แบบประเมินผลการดำเนินงาน

เงิน
อุดหนุนฯ
10,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมครูผลิตสื่อและใช้สื่อในกระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นเตรียม
 ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน เขียนโครงการพร้อมทั้งนำเสนอฝ่ายบริหาร
ขั้นดำเนินการ
 ดำเนินการตามโครงการ -ประชาสัมพันธ์ -ครูตัวแทน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 60 ท่าน -จัดอบรม ประเมินผลและ ติดตามผลโครงการ
ขั้นสรุป  สรุปรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ
กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมนิทรรศการและนำเสนอผลงานที่เกิดจากการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์
ขั้นเตรียม
 ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน เขียนโครงการพร้อมทั้งนำเสนอฝ่ายบริหาร
ขั้นดำเนินการ
 ดำเนินการตามโครงการ -กิจกรรมนำเสนอผลงานนักเรียน ประเมินผลและ ติดตามผลโครงการ
ขั้นสรุป  สรุปรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ

6/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

6/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

นางหงษ์หยก ปลาตะเพียนทองและครูงานคอมพิวเตอร์ทุกคน





นางหงษ์หยก ปลาตะเพียนทองและครูงานคอมพิวเตอร์ทุกท่าน





กิจกรรมการส่งเสริมความเป็นเลิศทางคอมพิวเตอร์

วัตถุประสงค์
1. เพื่อจัดกิจกรรมให้นักเรียนทุกระดับ มีทักษะในการคิดสร้างสรรค์และคิดแก้ปัญหาได้อย่างมีสติ
2. เพื่อให้นักเรียนทุกระดับคิดและสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ
4, เชิงปริมาณ
 1. นักเรียนทุกระดับร้อยละของ 95 มีทักษะในการคิดสร้างสรรค์และคิดแก้ปัญหาได้อย่างมีสติ

เชิงคุณภาพ
 1. นักเรียนทุกระดับมีความสามารถคิดสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจอยู่ในระดับดี
วิธีการ
 แบบประเมินผลการดำเนินงาน
เครื่องมือ
 แบบประเมินผลการดำเนินงาน

เงิน
อุดหนุนฯ
5,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมการส่งเสริมความเป็นเลิศทางคอมพิวเตอร์
ขั้นเตรียม
 ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน เขียนโครงการพร้อมทั้งนำเสนอฝ่ายบริหาร
ขั้นดำเนินการ
 ดำเนินการตามโครงการการส่งเสริมความเป็นเลิศทางคอมพิวเตอร์ ประเมินผลและติดตามผลโครงการ
ขั้นสรุป  สรุปรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ

6/10/2559 ถึง
6/10/2560

 

 

นางหงษ์หยก ปลาตะเพียนทองและครูงานคอมพิวเตอร์





พัฒนาผู้เรียนให้มีความใฝ่รู้และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง

วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ และสื่อต่าง ๆ รอบตัว
2. เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคำถาม เพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม
3. เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
4. เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สามารถใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน
4, เชิงปริมาณ
 1. ผู้เรียนร้อยละ 95 มีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุดแหล่งเรียนรู้และสื่อต่างๆรอบตัว
2. ผู้เรียนร้อยละ 95 มีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม
3. ผู้เรียนร้อยละ 95 เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่มแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
4. ผู้เรียนร้อยละ 95 ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน
5. ผู้แทนชุมชน ผู้ปกครอง ภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมจำนวน 1,000 คน มีส่วนร่วมในการ พัฒนา
6. รายงานผลการประเมินโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน จำนวน 1 เล่ม
เชิงคุณภาพ
 1. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองรักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
2. ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่าย ร้อยละ 80 มีความพึงพอใจ อยู่ใน
วิธีการ
 ประเมินการอ่าน
เครื่องมือ
 ประเมินการอ่าน

เงิน
อุดหนุนฯ
50,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมการพัฒนาผู้เรียนให้มีความใฝ่รู้และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ปีงบประมาณ 2560 (1 ตุลาคม 2559– 31 มีนาคม 2560)
ขั้นเตรียม
 - ประชุมคณะทำงาน
- จัดทำแผนปฏิบัติงาน
ขั้นดำเนินการ
 - จัดซื้อ/จัดจ้าง
- จัดกิจกรรมตามแผนปฏิบัติงานที่กำหนดขั้นนิเทศ/ติดตามผล
- นิเทศติดตามการปฏิบัติงานในทุกกิจกรรมตามแผนปฏิบัติงานที่กำหนด
ขั้นสรุป  - ประเมินผลการปฏิบัติงานโดยใช้แบบสอบถามและแบบประเมิน
- รายงานผลการปฏิบัติงานและนำข้อมูลมาปรับปรุงพัฒนางานต่อไป

6/10/2559 ถึง
6/10/2560

 

 

ครูอภินันท์ สีสันต์และครูพลิมา อุตตโรพร





คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์เดิมที่ใช้งานให้ใช้งานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ
2. เพื่อปรับปรุงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ให้สามารถใช้งานได้ต่อเนื่องแทนการจัดหาใหม่
3. เพื่อจัดหาอุปกรณ์เพิ่มเติมให้เหมาะสมกับการเรียนการสอนและหน่วยงานต่างๆ ภายในโรงเรียน
11, เชิงปริมาณ
 1.คอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้งานได้มากกว่า 90 %

เชิงคุณภาพ
 1. โรงเรียนจะมีวัสดุอุปกรณ์ทางด้านเทคโนโลยีเพื่อใช้ในการเรียนการสอนและการพัฒนาหน่วยงานต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วิธีการ
  บันทึกการซ่อมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
เครื่องมือ
  ประเมินความพึงพอใจ

เงิน
อุดหนุนฯ
150,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : ซ่อมบำรุงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ขั้นเตรียม
 ศึกษาวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน
ขั้นดำเนินการ
 ซ่อมและจัดซื้อใหม่ ประกอบไปด้วย เครื่องสำรองไฟ , ซีพียู , เมนบอร์ด , ฮาดดิสก์ ,adapter notebook , ซีดีรอม , พาวเวอร์ซัพพลาย , เมาส์ , คีย์บอร์ด,baterry, adapter ต่อพ่วง, สาย vga
ขั้นสรุป  สรุปรายงานผลการดำเนินงาน

6/10/2559 ถึง
6/10/2560

 

 

นางนันทนา วิราศรี





บริการระบบอินเทอร์เน็ตโรงเรียน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้บริการในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. เพื่อให้บริการในการปฏิบัติงาน ต่าง ๆ ภายในโรงเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ สะดวก รวดเร็ว
11, เชิงปริมาณ
 1. จ่ายค่าอินเทอร์เน็ตได้ ร้อยละ๑๐๐

เชิงคุณภาพ
 1. อำนวยความสะดวกในการเรียนการสอน และการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วิธีการ
 
เครื่องมือ
 การสังเกต, การสอบถาม

เงิน
อุดหนุนฯ
420,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : บริการอินเทอร์เน็ต
ขั้นเตรียม
 ประชุมวางแผน
ขั้นดำเนินการ
 เสนออนุมัติจ่ายเงิน
ขั้นสรุป  รายงานผล

6/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

นางปันน์ญะพัทธ์ ชินวัฒนกาญจน์





การพัฒนาโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
2. เพื่อให้ครูมีการศึกษา วิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในวิชาชีพที่ตนรับผิดชอบ และใช้ผลในการปรับการสอน
3. เพื่อให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่ม และสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ
4. เพื่อให้ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคารเรียน สะอาดและปลอดภัยมีสิ่งอำนวยความสะดวกพอเพียง อยู่ในสภาพที่ใช้การได้ดี สภาพแวดล้อมร่มรื่น และมีแหล่งการเรียนรู้สำหรับผู้เรียน
3,4,5,6,7,10,11,13,14,15, เชิงปริมาณ
 1. ผู้เรียนโปรแกรม MEP ร้อยละ95 เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
2. ครูกลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ ร้อยละ 98 มีการศึกษา วิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในวิชาชีพที่ตนรับผิดชอบ ใช้ผลในการปรับการสอนและมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคลากรในสถานศึกษาระหว่างสถานศึกษากับครอบครัว ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง
3. ผู้เรียนโปรแกรม MEP ร้อยละ 94 มีความคิดริเริ่ม และสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ
4. ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการใช้ห้องเรียนพิเศษ MEP ของกลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ ในระดับดีเยี่ยม

เชิงคุณภาพ
 1. ผู้เรียนโปรแกรม MEPเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
2. ผู้เรียนโปรแกรม MEP และครูกลุ่มสาระภาษาต่างประเทศมีการศึกษา วิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในวิชาชีพที่ตนรับผิดชอบ ใช้ผลในการปรับการสอนและมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคลากรในสถานศึกษาระหว่างสถานศึกษากับครอบครัว ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง
3. ผู้เรียนโปรแกรม MEP มีความคิดริเริ่ม และสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ
4. ผู้รับบริการห้องเรียนพิเศษ MEP ของกลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ มีความพึงพอใจต่อสภาพแวดล้อมของห้อง เอื้อต่อการพัฒนาการเรียนการสอนเพิ่มขึ้น
วิธีการ
 1. การสังเกต
2. การสอบถาม

เครื่องมือ
 1. การสังเกต
2. การสอบถาม

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
351,000.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมเข้าค่ายพัฒนาทักษะทางภาษาอังกฤษและศึกษาดูงานนอกสถานที่
ขั้นเตรียม
 1. ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการ
2. จัดทำโครงการ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร
3. ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการและมอบหมายภาระงาน

ขั้นดำเนินการ
 1. ดำเนินงานตามโครงการโดยจัดกิจกรรมเข้าค่ายพัฒนาทักษะทางภาษาอังกฤษ และศึกษาดูงานนอกสถานที่ (English Camp)
2. เจ้าของโครงการ นิเทศติดตามการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการกำหนด

ขั้นสรุป  1. สรุปประเมินโครงการ
2. จัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร

กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมทัศนศึกษาและศึกษาดูงานด้านวัฒนธรรมประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่หรือภาษาราชการ
ขั้นเตรียม
 1. ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการ
2. จัดทำโครงการ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร
3. ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการและมอบหมายภาระงาน

ขั้นดำเนินการ
 1. ดำเนินงานตามโครงการโดยจัดกิจกรรมทัศนศึกษาดูงานด้านวัฒนธรรมในประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่หรือภาษาราชการ
2. เจ้าของโครงการ นิเทศติดตามการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการกำหนด

ขั้นสรุป  1. สรุปประเมินโครงการ
2. จัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร

กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมจัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงานนักเรียน (Open House)
ขั้นเตรียม
 1. ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา
2. ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการ
3. จัดทำโครงการ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร
4. ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการและมอบหมายภาระงาน

ขั้นดำเนินการ
 1. ดำเนินงานตามโครงการโดยจัดกิจกรรมนิทรรศการเผยแพร่ผลงานนักเรียน
2. เจ้าของโครงการ นิเทศติดตามการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการกำหนด

ขั้นสรุป  1. สรุปประเมินโครงการ
2. จัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร

กิจกรรมที่ 4 : กิจกรรมปรับปรุงห้องเรียนพิเศษ MEP
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ปรึกษาการจัดกิจกรรม
2. สำรวจตรวจสอบวัสดุ อุปกรณ์ ที่ต้องใช้ในแต่ละกิจกรรม
3. จัดงบประมาณในการดำเนินงานของแต่ละกิจกรรม
4. กำหนดผู้รับผิดชอบกิจกรรม

ขั้นดำเนินการ
 1. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
2. ตรวจรับ
3. ครูนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน ทั้งภาคเรียนที่ 1 และ 2

ขั้นสรุป  1. สรุปประเมินโครงการ
2. จัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร

กิจกรรมที่ 5 : กิจกรรมดูแลครูต่างชาติ
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ปรึกษาการจัดกิจกรรม
2. จัดงบประมาณในการดำเนินงาน
3. กำหนดผู้รับผิดชอบกิจกรรม

ขั้นดำเนินการ
 1. ดำเนินกิจกรรม
2. เจ้าของโครงการ นิเทศติดตามการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการกำหนด

ขั้นสรุป  1. สรุปประเมินโครงการ
2. จัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร

1/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

1/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

1/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

1/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

1/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

ครูภัทฐินี เพ็งสุข 1-14-05





ครูภัทฐินี เพ็งสุข 1-14-04





ครูภัทฐินี เพ็งสุข 1-14-02





ครูภัทฐินี เพ็งสุข 1-14-03





ครูภัทฐินี เพ็งสุข1-14-06





จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

วัตถุประสงค์
1.ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคารเรียน สะอาด สวยงามมีสิ่งอำนวยความสะดวกพอเพียงอยู่ในสภาพที่ใช้การ ได้ดี และมีแหล่งการเรียนรู้ที่เหมาะสมสำหรับผู้เรียน
2.ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศสามารถออกแบบและจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญาได้
3. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศสามารถใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมผนวกกับการนำบริบทและภูมิปัญญาท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ได้
4. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมีบุคลากรชาวต่างชาติสอนภาษาจีน
7, เชิงปริมาณ
 1. ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการใช้ห้องปฏิบัติการทางภาษา/ห้องศูนย์วิชา/ห้อง ICT/ห้อง SEAR ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ร้อยละ 100.

เชิงคุณภาพ
 ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการใช้ห้องปฏิบัติการทางภาษา/ห้องศูนย์วิชา/ห้อง ICT/ห้อง SEAR ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ในระดับดีเยี่ยม
วิธีการ
 ประเมินความพึงพอใจ
เครื่องมือ
 ประเมินความพึงพอใจ

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมพัฒนาปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆในห้องปฏิบัติการทางภาษา/ห้องศูนย์วิชา/ห้อง ICT/ห้อง SEA
ขั้นเตรียม
 ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา
ขั้นดำเนินการ
 ดำเนินงานตามโครงการกิจกรรมพัฒนาปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆในห้องปฏิบัติการทางภาษา/ห้องศูนย์วิชา/ห้อง ICT/ห้อง SEAR
ขั้นสรุป  สรุปประเมินโครงการ จัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร
กิจกรรมที่ 2 : ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนโดยบุคลากรชาวต่างชาติ
ขั้นเตรียม
 ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯในปีที่ผ่านมา ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการกิจกรรม จัดทำโครงการ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการและมอบหมายภาระงาน
ขั้นดำเนินการ
 ดำเนินงานตามโครงการกิจกรรมผลิตสื่อ/ นวัตกรรมการสอนภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย
ขั้นสรุป  เจ้าของโครงการ นิเทศติดตามการดำเนินงาน และอำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการกำหนด สรุปประเมินโครงการ จัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร

6/10/2559 ถึง
6/10/2560

 

 

6/10/2559 ถึง
6/10/2560

 

 

นางสาวยุภา เกิดศิริ





นางสาวยุภา เกิดศิริ





พัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน

วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการฟัง พูด อ่าน เขียนและตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม
2 เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
3,4, เชิงปริมาณ
 1.นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 96 มีทักษะในการฟัง พูด อ่าน เขียนด้านภาษาอังกฤษ จีนและญี่ปุ่นและตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม
2.นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 95 เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่มแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน

เชิงคุณภาพ
 1.นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีทักษะในการฟัง พูด อ่าน เขียนด้านภาษาอังกฤษ จีน ญี่ปุ่นและตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม อยู่ในระดับดีขึ้นไป
2.นักเรียนที่เข้ากิจกรรมได้เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน อยู่ในระดับดีขึ้นไป
วิธีการ
 การสังเกต การสอบถาม การรายงานผลการดำเนินการ
เครื่องมือ
 การสังเกต การสอบถาม

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
80,000.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมพัฒนาทักษะภาษาจีน และภาษาญี่ปุ่น
ขั้นเตรียม
 1.ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน
2.เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการเพื่อขออนุมัติ
3.เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
4.ออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ

ขั้นดำเนินการ
 1.ประชุมคณะกรรมการเพื่อเตรียมดำเนินการ
2.เตรียมเนื้อหาเอกสารในการจัดกิจกรรม
3.ประชาสัมพันธ์รับสมัครนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม
4.ติดต่อประสานงานวิทยากรชาวต่างประเทศและติดต่อประสานงานแหล่งเรียนรู้ต่างๆ
5.ดำเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะภาษาจีน และภาษาญี่ปุ่น

ขั้นสรุป  1.ประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่เข้าค่าย
2.นำผลการปฏิบัติมาปรับปรุงกิจกรรม
3.นำกิจกรรมที่ปรับปรุงแล้ว ใช้เป็นต้นแบบของโครงการต่อไป

กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมวันคริสต์มาสเชิงวิชาการ
ขั้นเตรียม
 1.ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา
2.ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการกิจกรรม
3.จัดทำโครงการ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร
4.ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการและมอบหมายภาระงาน

ขั้นดำเนินการ
 ดำเนินงานตามโครงการกิจกรรมวันคริสต์มาสเชิงวิชาการ
ขั้นสรุป  1.เจ้าของโครงการ นิเทศติดตามการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการกำหนด
2.สรุปประเมินโครงการและจัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร

6/10/2559 ถึง
6/10/2560

 

 

6/10/2559 ถึง
6/10/2560

 

 

ครูผกาภัทร ธรรมบัญชา ครูณัฐชนก บุตรดาวงษ์ และครูสภาพร เกษตรลักษมี





นายเคบอย สินสุพรรณ์ และนางสาวนุจรีย์ รอดประสิมธิ์





จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

วัตถุประสงค์
เพื่อจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ส่งเสริมและตอบสนองความต้องการ ความสามารถความถนัด และความสนใจของผู้เรียน
10, เชิงปริมาณ
 โรงเรียนจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ส่งเสริมและตอบสนองความต้องการ ความสามารถความถนัด และความสนใจของผู้เรียนร้อยละ 100
เชิงคุณภาพ
 โรงเรียนจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ส่งเสริมและตอบสนองความต้องการ ความสามารถความถนัด และความสนใจของผู้เรียนอยู่ในระดับดีเยี่ยม
วิธีการ
 การรายงานผลการดำเนินการ
เครื่องมือ
 การสอบถาม การสังเกต

เงิน
อุดหนุนฯ
0.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมชุมนุม
ขั้นเตรียม
 ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน
ขั้นดำเนินการ
 1.ปฐมนิเทศการเลือกกิจกรรมชุมนุม
2.นักเรียนเลือกกิจกรรมชุมนุม
3.ดำเนินการจัดกิจกรรมชุมนุม

ขั้นสรุป  1.ที่ปรึกษากิจกรรมชุมนุม สรุปรายงานผลการจัดกิจกรรมตลอดภาคเรียน
1.กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนส่งผลการเข้าร่วมกิจกรรมชุมนุมให้งานทะเบียน-วัดผล

6/10/2559 ถึง
6/10/2560

 

 

นางสาวนุจรีย์ รอดประสิทธิ์





งานรับนักเรียน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อรับนักเรียนเข้าเรียนต่อห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4
2. เพื่อรับนักเรียนเข้าเรียนต่อห้องเรียนพิเศษ Mini English Program ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
3. เพื่อรับนักเรียนเข้าเรียนต่อห้องเรียนปกติในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4
10, เชิงปริมาณ
 1. รับนักเรียนเข้าเรียนต่อห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4
2. รับนักเรียนเข้าเรียนต่อห้องเรียนพิเศษ Mini English Program ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 30 คน
3. รับนักเรียนเข้าเรียนต่อห้องเรียนปกติในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 จำนวน ระดับละ 10 ห้องเรียน

เชิงคุณภาพ
 1. โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมได้รับนักเรียนเข้าเรียนต่อตามแผนการเรียนโดยผ่านกระบวนการสอบคัดเลือกและคะแนนจากผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET)
วิธีการ
 รายงานการรับนักเรียน
เครื่องมือ
 รายงานการรับนักเรียน

เงิน
อุดหนุนฯ
20,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมรับสมัครนักเรียน
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมชี้แจงคณะทำงาน เพื่อเตรียมการดำเนินงาน 2. ประชาสัมพันธ์การรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 ปีการศึกษา 2559 ผ่านทางเวปไซด์โรงเรียนและจัดทำป้ายไวนีล 3. จัดเตรียมเอกสาร วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการรับสมัครนักเรียน
ขั้นดำเนินการ
 1. รับสมัครนักเรียนห้องเรียนพิเศษ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ4 2. รับสมัครนักเรียนห้องปกติชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ4 จัดสอบ ประกาศผลสอบและมอบตัว
ขั้นสรุป  1. สรุปผลประเมินโครงการ 2.จัดทำรายงานโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร

1/1/2560 ถึง
30/4/2560

 

 

นางฐาณิชนันท์ ใจจริง





ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2559เป็นไปตามเกณฑ์ร้อยละ 70
2. เพื่อ ห้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2559 เป็นไปตามเกณฑ์ร้อยละ 70
5, เชิงปริมาณ
 เพื่อให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2559 เป็นไปตามเกณฑ์ร้อยละ 70
เชิงคุณภาพ
 3.1.1 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อใช้ในการทดสอบระดับชาติ (O-NET)
3.1.2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อใช้ในการทดสอบระดับชาติ (O-NET)
วิธีการ
 ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
เครื่องมือ
 ประเมินจากแบบสอบถาม

เงิน
อุดหนุนฯ
10,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมค่ายภาษาอังกฤษเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์นักเรียนชั้นม.3 และม.6
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน 2. เขียนโครงการเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนเพื่อขออนุมัติ 3. เสนอหนังสือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อผู้อำนวยการเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย/งาน 4. ประชุมคณะครูผู้มีส่วนรับผิดชอบชี้แจงรายละเอียดของการจัดค่ายภาษาอังกฤษเพื่อยกระดับผสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ6 5. จัดเตรียมกิจกรรมและอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดค่ายภาษาอังกฤษเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนักเรียนชั้นม.3 และ ม.6
ขั้นดำเนินการ
 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 425 คน เข้าค่ายภาษาอังกฤษเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 326 คน เข้าค่ายภาษาอังกฤษเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3. เจ้าของโครงการ นิเทศติดตามการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการกำหนด
ขั้นสรุป  1.สรุปและรายงานผลการดำเนินการตามโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

1/12/2559 ถึง
15/2/2560

 

 

นางฐาณิชนันท์ ใจจริง และครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ





โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ กิจกรรมส่งเสริมระบบแนะแนว

วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้นักเรียนรู้จักเข้าใจตนเอง รู้ถึงความสามารถ ความสนใจ และความถนัด
2.เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต หาความรู้ที่ตนเองสนใจ
3.เพื่อให้นักเรียนสามารถตัดสินใจเลือกได้อย่างเหมาะสมกับตนเองในด้านการศึกษาต่อและอาชีพ
4.เพื่อจัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนที่มีประสิทธิภาพ และครอบคลุมถึงผู้เรียนทุกคน
6,7,10, เชิงปริมาณ
 1. ผู้เรียนร้อยละ 97 มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริตและหาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองสนใจ
2. ผู้เรียนร้อยละ10 ได้รับการช่วยเหลือเรื่องทุนการศึกษา

เชิงคุณภาพ
 1. ผู้เรียนมีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพที่สุจริตและหาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองสนใจในระดับดีเยี่ยม
2. ผู้เรียนได้รับความช่วยเหลือเรื่องทุนการศึกษาและมีกำลังใจในการเรียนในระดับดี
วิธีการ
 แบบสอบถาม
เครื่องมือ
 แบบสอบถาม

เงิน
อุดหนุนฯ
31,000.00


เงิน
ระดมทรัพย์
0.00

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมสายใยรักวิชาการสู่ชุมชน
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมคณะกรรมการการแนะแนว
2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน

ขั้นดำเนินการ
 ดำเนินกิจกรรม
ขั้นสรุป  สรุปและรายงานผล
กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมปัจฉิมนิเทศ
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมคณะกรรมการการแนะแนว
2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน

ขั้นดำเนินการ
 ดำเนินกิจกรรม
ขั้นสรุป  สรุปและรายงานผล
กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมเพื่อนที่ปรึกษา yc
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมคณะกรรมการการแนะแนว
2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน

ขั้นดำเนินการ
 ดำเนินกิจกรรม
ขั้นสรุป  สรุปและรายงานผล
กิจกรรมที่ 4 : กิจกรรมปฐมนิเทศ
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมคณะกรรมการการแนะแนว
2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน

ขั้นดำเนินการ
 ดำเนินกิจกรรม
ขั้นสรุป  สรุปและรายงานผล
กิจกรรมที่ 5 : กิจกรรมทุนการศึกษา
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมคณะกรรมการการแนะแนว
2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน

ขั้นดำเนินการ
 ดำเนินกิจกรรม
ขั้นสรุป  สรุปและรายงานผล
กิจกรรมที่ 6 : กิจกรรมตลาดนัดอาชีพอิสระ
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมคณะกรรมการการแนะแนว
2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
3. ประชุมตัวแทนนักเรียนห้องละ 2 คน

ขั้นดำเนินการ
 ดำเนินกิจกรรม
ขั้นสรุป  สรุปและรายงานผล
กิจกรรมที่ 7 : กิจกรรมสอนเสริม Gat-Pat เพื่อเตรียมความพร้อมสู่มหาวิทยาลัย
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมคณะกรรมการการแนะแนว
2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน

ขั้นดำเนินการ
 ดำเนินกิจกรรม
ขั้นสรุป  สรุปและรายงานผล
กิจกรรมที่ 8 : กิจกรรมแนะแนวสัญจร
ขั้นเตรียม
 1. ประชุมคณะกรรมการการแนะแนว
2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน

ขั้นดำเนินการ
 ดำเนินกิจกรรม
ขั้นสรุป  สรุปและรายงานผล

1/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

1/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

1/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

1/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

1/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

1/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

1/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

1/10/2559 ถึง
30/9/2560

 

 

ครูนวพร พงษ์พัว





ครูนวพร พงษ์พัว





ครูนรางกูร สังข์กระแสร์





ครูนวพร พงษ์พัว





ครูปันน์ญะพัทธ์ ชินวัฒนกาญจน์





ครูนวพร พงษ์พัว





ครูนวพร พงษ์พัว





ครูนวพร พงษ์พัว